ขวด pet...

54
ขวด PET รักษโลก...นวัตกรรมการผลิตเสนใยรีไซเคิล เสนอ รองศาสตราจารย ว#าที่ รอยโท พิชัย สดภิบาล รายงานการศึกษารายบุคคลนี้เป.นส#วนหนึ่งของวิชา 03426034 การศึกษารายบุคคล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2555

Upload: kinyokung

Post on 20-Jun-2015

3.035 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลติเส�นใยรีไซเคิล

เสนอ

รองศาสตราจารย� ว#าท่ี ร�อยโท พิชัย สดภิบาล

รายงานการศึกษารายบุคคลน้ีเป.นส#วนหน่ึงของวิชา 03426034

การศึกษารายบุคคล

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

2555

Page 2: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลติเส�นใยรีไซเคิล

PET BOTTLE RECYCLED FIBER TO PRODUCE INNOVATIVE GREEN UP

เสนอ

รองศาสตราจารย� ว#าท่ี ร�อยโท พิชัย สดภิบาล

รายงานการศึกษารายบุคคลน้ีเป.นส#วนหน่ึงของวิชา 03426034

การศึกษารายบุคคล

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

2555

Page 3: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

รายช่ือสมาชิกในกลุ#ม 106

นางสาวชฎาพร ขาวล้ําเลิศ 55010215

นางสาวนันท�นภัส หลิ่มน�อย 55010652

นางสาวเพ็ญนภา ละอองนวล 55010893

นางสาวฟาริดา ห�อไทยสงค� 55010902

นางสาวภัครัมภา เมืองลอย 55010916

นายราชัญ อนันเอ้ือ 55011047

นางสาววโรชา จําปา 55011111

นายศิรวัฒน� บุญผาย 55011203

นายสกรรณ� ปรีดาวิจิตรกุล 55011258

นายสรวิชญ� เตชะธาดามิตร� 55011274

Page 4: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลติเส�นใยรีไซเคิล

โดย นางสาวชฎาพร ขาวล้ําเลิศ 55010215 นางสาวนันท�นภัส หลิ่มน�อย 55010652 นางสาวเพ็ญนภา ละอองนวล 55010893 นางสาวฟาริดา ห�อไทยสงค� 55010902 นางสาวภัครัมภา เมืองลอย 55010916 นายราชัญ อนันเอ้ือ 55011047 นางสาววโรชา จําปา 55011111 นายศิรวัฒน� บุญผาย 55011203 นายสกรรณ� ปรีดาวิจิตรกุล 55011258 นายสรวิชญ� เตชะธาดามิตร� 55011274

อาจารย�ท่ีปรึกษา

รองศาสตราจารย� ว<าท่ีร�อยโท พิชัย สดภิบาล ป=การศึกษา 2555

บทคัดย#อ

เนื่องจากในป?จจุบันวิถีชีวิตประจําวันของผู�คนได�เปลี่ยนไป ความสะดวกในการอุปโภคบริโภคนับเปBนอีกป?จจัยหนึ่งท่ีส<งผลให�การใช�บรรจุภัณฑ�แบบพลาสติกเปBนท่ีนิยมและแพร<หลายเปBนอย<างมาก ในขณะเดียวกันปริมาณขยะท่ีเกิดจากวัสดุจําพวกพลาสติกนั้น ก็มีปริมาณท่ีเพ่ิมข้ึน ซ่ึงส<งผลกระทบต<อสิ่งแวดล�อมและระบบนิเวศน� แต<พลาสติกก็เปBนวัสดุท่ีสามารถนํากลับมาใช�ได�อีกโดยผ<านกระบวนการต<างๆ แต<ในความเปBนจริงนั้นความรู�ความเข�าใจของประชาชนและสื่อประชาสัมพันธ�ในการรีไซเคิลพลาสติก ยังมีอยู<ไม<มากพอ ดังนั้นจึงเกิดเปBนแนวคิด ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิลข้ึนมา ด�วยหวังว<าจะเปBนอีกส<วนหนึ่งท่ีช<วยประชาสัมพันธ�และให�ประชาชนมีความรู�ความเข�าใจเก่ียวกับการนําพลาสติกกลับมาใช�ใหม< ให�ได�ดีมากยิ่งข้ึน

Page 5: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

PET BOTTLE RECYCLED FIBER TO PRODUCE INNOVATIVE GREEN UP

By

Miss. Chadaporn Khaolumloet Miss. Nannapat Limnoi Miss. Pennapa La-ongnuan Miss. Farida Horthaisong Miss. Pakrumpa Muangloy Mr. Rachan Ananaue Miss. Varacha Champa Mr. Sirawat Boonpai Mr.Sakun Preedavijitkul Mr. Sorawit Techathadamit

Advisor

Advisor Assoc Prof. Act Lt. Pichai Sodbhiban

ABSRTRACT

According to people’s every day life has changed. The expedience consumer of using plastic container is very popular and extensively. At the same time the amount of plastic garbage is also increasing which affect the environment and ecology.

The plastic is the material that can recycle which can reuse through many process. But the truly is that people knowledge, understanding the public relations and advertisement about plastic recycle are not strong enough. Therefore, PET Bottle Recycled Fiber to Produce Innovative green up. Hopefully, this introduction is helpful to advertise to make people understand and know more about plastic recycle in a better way.

Page 6: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

กิตติกรรมประกาศ

การจัดทําโครงงานนี้สามารถผ<านลุล<วงไปได�ด�วยดีเพราะได�รับความช<วยเหลือเปBนอย<างดีจาก รองศาสตราจารย� ว<าท่ีร�อยโท พิชัย สดภิบาล และ ดร.กุลนันทน� เกียรติกิตติพงษ� ท่ีได�กรุณาให�คําปรึกษาและคําแนะนําท่ีดีโดยตลอดและคอยให�ความช<วยเหลือในด�านต<างๆ ของโครงงาน คณะผู�จัดทํารู�สึกซาบซ้ึงและกราบขอบพระคุณเปBนอย<างสูง

สุดท�ายนี้คณะผู�จัดทํา ขอขอบพระคุณทุกท<าน ท่ีให�ความร<วมมือในการทําแบบสอบถาม รวมถึง ทุกท<านท่ีให�ทําการสัมภาษณ� เรื่องราวและความรู�เก่ียวกับขวด PET และให�การสนับสนุนในการผลิตสื่อและ ให�ความรู�ความเข�าใจเก่ียวกับ ขวด PET ทําให�โครงงานนี้สําเร็จลุล<วงไปได�ด�วยดี

หากมีข�อผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ท่ีนี้ด�วย

คณะผู�จัดทํา

นางสาวชฎาพร ขาวล้ําเลิศ นางสาวนันท�นภัส หลิ่มน�อย นางสาวเพ็ญนภา ละอองนวล นางสาวฟาริดา ห�อไทยสงค� นางสาวภัครัมภา เมืองลอย นายราชัญ อนันเอ้ือ นางสาววโรชา จําปา

นายศิรวัฒน� บุญผาย นายสกรรณ� ปรีดาวิจิตรกุล

นายสรวิชญ� เตชะธาดามิตร�

Page 7: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

สารบัญ

หน�า

บทคัดย#อภาษาไทย I บทคัดย#อภาษาอังกฤษ II กิตติกรรมประกาศ III สารบัญ IV สารบัญรูปภาพ VI สารบัญตาราง VII บทท่ี 1 บทนํา 1 1.1 ความเปBนมาและความสําคัญของป?ญหา 1 1.2 คําสําคัญ 1 1.3 ประเภทของการศึกษา 2 1.4 วัตถุประสงค�ของการศึกษา 2 1.5 ขอบเขตของการศึกษา 2 1.6 ประโยชน�ท่ีคาดว<าจะได�รับ 2 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข�อง 3 2.1 พอลิเมอร� 3 2.2 พลสติก 6 2.3 ขวดน้ําพลาสติก 12 2.4 พอลิเอทิลีน เทเรฟทาเลต 14 2.5 ขวด PET 16

2.6 พลาสติกรีไซเคิล 23 2.7 งานวิจัยท่ีเก่ียวข�อง 28

บทท่ี 3 วิธีการดําเนินงาน 31 3.1 วิธีการศึกษา 31 3.2 การกําหนดประชากรและการเลือกผู�ให�ข�อมูล 31 3.3 การเก็บรวบรวมข�อมูล 31 3.4 การจัดกระทําและวิเคราะห�ข�อมูล 32 บทท่ี 4 ผลการสํารวจความคิดเห็นของประชากร 33

ต#อโครงงานขวด PET รักษ�โลก

Page 8: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

สารบัญ(ต#อ)

หน�า

4.1 ประชากรและกลุ<มตัวอย<าง 33 4.2 แบบสํารวจความคิดเห็นของประชากรต<อโครงงาน 34

4.3 ผลการสํารวจ 35 4.4 สรุปผลการสํารวจ 36 บทท่ี 5 ปZญหาและข�อเสนอแนะ 37 5.1 ป?ญหา 37 5.2 ข�อเสนอแนะ 37 บรรณานุกรม 38 ภาคผนวก

ประวัติย#อผู�ศึกษา

Page 9: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

สารบัญรูปภาพ

หน�า

รูปท่ี 1 การเกาะกันของมอนอเมอร� 3 ชนิด 3 รูปท่ี 2 โฮมอลิเมอร� 4 รูปท่ี 3 เฮเทอโรพอลิเมอร� 4 รูปท่ี 4 พอลิเมอร�แบบเส�น 4 รูปท่ี 5 พอลิเมอร�แบบก่ิง 4 รูปท่ี 6 พอลิเมอร�แบบร<างแห 5 รูปท่ี 7 ปฏิกิริยาพอลิเมอร�ไรเซชันแบบเติม 5 รูปท่ี 8 ปฏิกิริยาพอลิเมอร�ไรเซชันแบบควบแน<น 6 รูปท่ี 9 ขวดชนิดต<างๆ 12 รูปท่ี 10 ขวดน้ําชนิดต<างๆ 16 รูปท่ี 11 การเกิดโพลีเอททีลีน เทเรฟทาเลท 17 รูปท่ี 12 เส�นด�าย 18 รูปท่ี 13 ขวดซอสปรุงรสอาหาร และแผ<นฟuล�มถนอมอาหาร 19 รูปท่ี 14 ฟรีฟอร�ม 20 รูปท่ี 15 กระบวนการข้ึนรูปขวด PET 21 รูปท่ี 16 ปฏิกิริยาการเกิดอะซิตาลดีไฮด� 21 รูปท่ี 17 ขวด PET และเม็ดพลาสติก 22 รูปท่ี 18 การรีไซเคิลขวด PET 23 รูปท่ี 19 สัญลักษณ�ขวด PET 23

Page 10: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

สารบัญตาราง

หน�า

ตารางท่ี 1 ตารางแสดงชนิดและคุณสมบัติของพลาสติกชนิดต<างๆ 8

ตารางท่ี 2 ตารางแสดงสัญลักษณ� และองค�ประกอบย<อยของพลาสติกชนิดต<างๆ 10

ตารางท่ี 3 ตารางแสดงค<าความหนืดท่ีเหมาะสมของ PET ในการใช�งานด�านต<างๆ 19

ตารางท่ี 4 สมบัติท่ัวไปของขวด PET 20

Page 11: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

บทท่ี 1

บทนํา

1.1 ความเป.นมาและความสําคัญของปZญหา

พอลิเมอร� (polymer) เปBนสารท่ีมีน้ําหนักโมเลกุลสูง โดยได�จากสารโมเลกุลตํ่าจ�านวนมากซ�าๆกัน (repeating units) โดยพอลิเมอร�มีท้ังท่ีได�จากธรรมชาติและจากการสังเคราะห� โดยพอลิเมอร�ท่ีได�จากธรรมชาติ ดังเช<น โปรตีน แปxง เซลลูโลส เปBนต�น ในขณะท่ีพอลิเมอร�ท่ีได�จากการสังเคราะห�มีการผลิตและการใช�งานเปBนจํานวนมาก โดยสมบัติของพอลิเมอร�มีอย<างหลากหลาย ตอบสนองความต�องการของผู�บริโภค โดยพอลิเมอร�ท่ีสําคัญโดยเฉพาะอย<างยิ่ง คือ พอลิเอสเทอร� มีการใช�งานกันอย<างมากมาย หลากหลายผลิตภัณฑ� ด�วยสมบัติท่ีโดดเด<นของพอลิเอสเทอร�ท้ังความทนทานต<อสภาวะการใช�งานท้ังความร�อนและการผ<านของอากาศท่ีดี พอลิเอสเทอร�ก็ยังเปBนพอลิเมอร�ท่ีสําคัญท่ีได�ถูกนํามาใช�งานในอุตสาหกรรมสิ่งทอ โดยเส�นใยพอลิเอสเทอร� ถือได�ว<าเปBนเส�นใยหลักในอุตสาหกรรมสิ่งทอ นอกจากนี้การใช�งานของพอลิเอสเทอร�ในสายงานอ่ืนก็มีการใช�งานกันอย<างมากข้ึนตามความต�องการของผู�บริโภค เช<น การผลิตเปBนขวดน�าด่ืม น�าอัดลมและฟuล�ม เปBนต�น

พอลิเอสเทอร�เปBนพอลิเมอร�ท่ีไม<สามารถสลายตัวได�ด�วยสิ่งมีชีวิตหรือสามารถเสื่อมสลายด�วยสภาวะต<างๆได�โดยง<าย (non-biodegradable polymer) การใช�งานของผลิตภัณฑ� เช<น ภาชนะ ขวดพอลิเอสเทอร�หรือท่ีเรียกว<า ขวดเพ็ต (PET; poly(ethylene terephthalate)) นั้น เปBนป?ญหาสําคัญในการกําจัดและการย<อยสลาย อันจะก<อให�เกิดป?ญหาต<อสภาวะแวดล�อม และทําให�เกิดภาวะโลกร�อนได� ทําให�โครงการนี้มีแนวคิดท่ีจะนําขวดเพ็ตกลับมาใช�ใหม< (recycle) โดยผ<านกระบวนการทางเคมีและข้ึนรูปผลิตเปBนเส�นใย อันจะเปBนอีกแนวทางหนึ่งในการนําขยะพลาสติกกลับมาใช�ประโยชน�ได�อีกครั้งหนึ่ง ท้ังยังเปBนการเพ่ิมมูลค<าของขวดน้ําพอลิเอสเทอร� ช<วยลดปริมาณของขยะพลาสติกและเปBนการลดการใช�สารเคมีท่ีนํามาเปBนวัตถุดิบในการผลิตเส�นใยอีกด�วย

1.2 คําสําคัญ

1.2.1 พอลิเมอร� หมายถึง สารประกอบท่ีมีโมเลกุลขนาดใหญ< และมีมวลโมเลกุลมาก ประกอบด�วยหน<วยเล็ก ๆ ของสารท่ีอาจจะเหมือนกันหรือต<างกันมาเชื่อมต<อกัน ด�วย พันธะโควาเลนต�

1.2.2 พอลิเอสเทอร� หมายถึง ประเภทของพอลิเมอร� 1.2.3 ขวดเพ็ต หมายถึง ขวดโพลเอทธิลีนเทเรฟทาเลต หรือ ขวดน้ําพลาสติก 1.3 ประเภทของการศึกษา เปBนการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 1

Page 12: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

1.4 วัตถุประสงค�ของการศึกษา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค� ดังนี้ คือ

1.4.1 เพ่ือลดการเกิดป?ญหาสภาวะแวดล�อมท่ีเกิดจากการใช�ขวดเพ็ท 1.4.2 เพ่ือช<วยลดป?ญหาภาวะโลกร�อน 1.4.3 เพ่ือเปBนแรงจูงใจให�ผู�คนหันมาเห็นความสําคัญของขวดเพ็ท 1.4.4 เพ่ือสร�างแนวคิดในการนําขวดเพ็ทกลับมาใช�ใหม< 1.5 ขอบเขตของการศึกษา ขอบเขตด�านประชากร ศึกษาจากอาจารย�และนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง จํานวน 50 คน ขอบเขตด�านสถานท่ี ศึกษาภายใน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง 1.6 ประโยชน�ที่คาดว#าจะได�รับ

1.6.1 คาดว<ามีคนได�รู�จักขวด PET มากข้ึน และเห็นความสําคัญของขวดเพ็ท 1.6.2 มีแนวทางในการนําขวด PET กลับมาใช�ใหม<เพ่ือลดป?ญหาสภาวะแวดล�อมได� 1.6.3 ลดปริมาณของขยะพลาสติกและเปBนการลดการใช�สารเคมีท่ีนํามาเปBนวัตถุดิบใน การผลิตเส�นใย

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 2

Page 13: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข�อง

2.1 พอลิเมอร�

พอลิเมอร� (Polymer) คือ สารประกอบท่ีมีโมเลกุลขนาดใหญ< และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด�วยหน<วยเล็ก ๆ ของสารท่ีอาจจะเหมือนกันหรือต<างกันมาเชื่อมต<อกันด�วยพันธะโควาเลนต�

มอนอเมอร� (Monomer) คือ หน<วยเล็ก ๆ ของสารในพอลิเมอร� ดังภาพ

2.1.1 ประเภทของพอลิเมอร� แบ<งตามเกณฑ�ต<าง ๆ ดังนี้

1. แบ<งตามการเกิดเปBนเกณฑ� เปBน 2 ชนิด คือ

ก . พอลิเมอร�ธรรมชาติ เปBนพอลิเมอร�ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ เช<น โปรตีน แปxง เซลลูโลส ไกโคเจน กรดนิวคลีอิก และยางธรรมชาติ (พอลีไอโซปรีน) ข . พอลิเมอร�สังเคราะห� เปBนพอลิเมอร�ท่ีเกิดจากการสังเคราะห�เพ่ือใช�ประโยชน�ต<าง ๆ เช<น พลาสติก ไนลอน ดาครอน และลูไซต� เปBนต�น

2. แบ<งตามชนิดของมอนอเมอร�ท่ีเปBนองค�ประกอบ เปBน 2 ชนิด คือ

ก . โฮมอลิเมอร� (Homopolymer) เปBนพอลิเมอร�ท่ีประกอบด�วยมอนอเมอร�ชนิดเดียวกัน เช<น แปxง(ประกอบด�วยมอนอเมอร�ท่ีเปBนกลูโคสท้ังหมด) พอลิเอทิลีน PVC (ประกอบด�วยมอนอเมอร�ท่ีเปBนเอทิลีนท้ังหมด)

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 3

รูปท่ี 1 การเกาะกันของมอนอเมอร� 3 ตัว

Page 14: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ข . เฮเทอโรพอลิเมอร� (Heteropolymer) เปBนพอลิเมอร�ท่ีประกอบด�วยมอนอเมอร�ต<างชนิดกัน เช<น โปรตีน (ประกอบด�วยมอนอเมอร�ท่ีเปBนกรดอะมิโนต<างชนิดกัน) พอลิเอสเทอร� พอลิเอไมด� เปBนต�น

3. แบ<งตามโครงสร�างของพอลิเมอร� แบ<งออกเปBน 3 แบบ คือ

พอลิเมอร�แบบเส�น (Chain length polymer) เปBนพอลิเมอร�ท่ีเกิดจากมอนอเมอร�สร�างพันธะต<อกันเปBนสายยาว โซ<พอลิเมอร�เรียงชิดกันมากว<าโครงสร�างแบบอ่ืน ๆ จึงมีความหนาแน<น และจุดหลอมเหลวสูง มีลักษณะแข็ง ขุ<นเหนียวกว<าโครงสร�างอ่ืนๆ ตัวอย<าง PVC พอลิสไตรีน พอลิเอทิลีน ดังภาพ

ข. พอลิเมอร�แบบก่ิง (Branched polymer) เปBนพอลิเมอร�ท่ีเกิดจากมอนอเมอร�ยึดกันแตกก่ิงก�านสาขา มีท้ังโซ<สั้นและโซ<ยาว ก่ิงท่ีแตกจาก พอลิเมอร�ของโซ<หลัก ทําให�ไม<สามารถจัดเรียงโซ<พอลิเมอร�ให�ชิดกันได�มาก จึงมีความหนาแน<นและจุดหลอมเหลวตํ่ายืดหยุ<นได� ความเหนียวตํ่า โครงสร�างเปลี่ยนรูปได�ง<ายเม่ืออุณหภูมิเพ่ิมข้ึน ตัวอย<าง พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน<นตํ่า ดังภาพ

ค. พอลิเมอร�แบบร#างแห (Croos -linking polymer) เปBน พอลิเมอร�ท่ีเกิดจากมอนอเมอร�ต<อเชื่อมกันเปBนร<างแห พอลิเมอร�ชนิดนี้มีความแข็งแกร<ง และเปราะหักง<าย ตัวอย<างเบกาไลต� เมลามีนใช�ทําถ�วยชาม ดังภาพ

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 4

รูปท่ี 2 โฮมอลิเมอร�

รูปท่ี 3 เฮเทอโรพอลิเมอร�

รูปท่ี 4 พอลิเมอร�แบบเส�น

รูปท่ี 5 พอลิเมอร�แบบก่ิง

Page 15: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

หมายเหตุ พอลิเมอร�บางชนิดเปBนพอลิเมอร�ท่ีเกิดจากสารอนินทรีย� เช<น ฟอสฟาซีน ซิลิโคน

2.1.2 การเกิดพอลิเมอร�

พอลิเมอร�เกิดข้ึนจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร�ไรเซชันของมอนอเมอร� พอลิเมอร�ไรเซชัน (Polymerization) คือ กระบวนการเกิดสารท่ีมีโมเลกุลขนาดใหญ< ( พอลิเมอร�) จากสารท่ีมีโมเลกุลเล็ก ( มอนอเมอร�)

ปฏิกิริยาพอลิเมอร�ไรเซชัน

1. ปฏิกิริยาพอลิเมอร�ไรเซชันแบบเติม (Addition polymerization reaction) คือปฏิกิริยาพอลิเมอร�ไรเซชันท่ีเกิดจากมอนอเมอร�ของสารอินทรีย�ชนิดเดียวกันท่ีมี C กับ C จับกันด�วยพันธะคู<มารวมตัวกันเกิดสารพอลิเมอร�เพียงชนิดเดียวเท<านั้น ดังภาพ

รูปท่ี 7 ปฏิกิริยาพอลิเมอร�ไรเซชันแบบเติม

2. ปฏิกิริยาพอลิเมอร�ไรเซชันแบบควบแน#น (Condensation polymerization reaction) คือปฏิกิริยาพอลิเมอร�ไรเซชันท่ีเกิดจากมอนอเมอร�ท่ีมีหมู<ฟ?งก�ชันมากกว<า 1 หมุ< ทําปฏิกิริยากันเปBนพอลิเมอร�และสารโมเลกุลเล็ก เช<น น้ํา ก}าซแอมโมเนีย ก}าซไฮโดรเจนคลอไรด� เมทานอล เกิดข้ึนด�วย ดังภาพ

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 5

รูปท่ี 6 พอลิเมอร�แบบร<างแห

Page 16: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

2.2 พลาสติก

พลาสติก เปBนสารประกอบอินทรีย�ท่ีสังเคราะห�ข้ึนใช�แทนวัสดุธรรมชาติ บางชนิดเม่ือเย็นก็แข็งตัว เม่ือถูกความร�อนก็อ<อนตัว บางชนิดแข็งตัวถาวร มีหลายชนิด เช<น ไนลอน ยางเทียม ใช�ทําสิ่งต<าง ๆ เช<น เสื้อผ�า ฟuล�ม ภาชนะ ส<วนประกอบเรือหรือรถยนต�

2.2.1 เทอร�โมพลาสติก

เทอร�โมพลาสติก (Thermoplastic) หรือเรซิน เปBนพลาสติกท่ีใช�กันแพร<หลายท่ีสุดในโลก ได�รับความร�อนจะอ<อนตัว และเม่ือเย็นลงจะแข็งตัว สามารถเปลี่ยนรูปได� พลาสติกประเภทนี้โครงสร�างโมเลกุลเปBนโซ<ตรงยาว มีการเชื่อมต<อระหว<างโซ<พอลิเมอร�น�อย มาก จึงสามารถหลอมเหลว หรือเม่ือผ<านการอัดแรงมากจะไม<ทําลายโครงสร�างเดิม ตัวอย<าง พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอลิสไตรีน มีสมบัติพิเศษคือ เม่ือหลอมแล�วสามารถนํามาข้ึนรูปกลับมาใช�ใหม<ได� ชนิดของพลาสติกใน ตระกูลเทอร�โมพลาสติก ได�แก<

• พอลิเอทิลีน (Polyethylene: PE) เปBนพลาสติกท่ีไอน้ําซึมผ<านได�เล็กน�อย แต<อากาศผ<านเข�าออกได� มีลักษณะขุ<นและทนความร�อนได�พอควร เปBนพลาสติกท่ีนํามาใช�มากท่ีสุดในอุตสาหกรรม เช<น ท<อน้ํา ถัง ถุง ขวด แท<นรองรับสินค�า

• พอลิโพรพิลีน (Polypropylene: PP) เปBนพลาสติกท่ีไอน้ําซึมผ<านได�เล็กน�อย แข็งกว<าพอลิเอทิลีนทนต<อสารไขมันและความร�อนสูงใช�ทําแผ<นพลาสติถุงพลาสติก บรรจุอาหารท่ีทนร�อน หลอดดูดพลาสติก เปBนต�น

• พอลิสไตรีน (Polystyrene: PS) มีลักษณะโปร<งใส เปราะ ทนต<อกรดและด<าง ไอน้ําและอากาศซึมผ<านได�พอควร ใช�ทําชิ้นส<วนอุปกรณ�ไฟฟxาและอิเล็กทรอนิกส� เครื่องใช�สํานักงาน เปBนต�น

• SAN (styrene-acrylonitrile) เปBนพลาสติกโปร<งใส ใช�ผลิตชิ้นส<วน เครื่องใช�ไฟฟxา ชิ้นส<วนยานยนต� เปBนต�น

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 6

รูปท่ี 8 ปฏิกิริยาพอลิเมอร�ไรเซชันแบบควบแน<น

Page 17: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

• ABS (acrylonitrile-butadiene-styrene) สมบัติคล�ายพอลิสไตรีน แต<ทนสารเคมีดีกว<า เหนียวกว<า โปร<งแสง ใช�ผลิตถ�วย ถาด เปBนต�น

• พอลิไวนิลคลอไรด� (Polyvinylchloride: PVC) ไอน้ําและอากาศซึมผ<านได�พอควร แต<ปxองกันไขมันได�ดีมีลักษณะใส ใช�ทําขวดบรรจุน้ํามันและไขมันปรุงอาหาร ขวดบรรจุเครื่องด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล� เช<น ไวน� เบียร� ใช�ทําแผ<นพลาสติก ห<อเนยแข็ง ทําแผ<นแลมิเนตชั้นในของถุงพลาสติก

• ไนลอน (Nylon) เปBนพลาสติกท่ีมีความเหนียวมาก คงทนต<อการเพ่ิมอุณหภูมิ ทําแผ<นแลมิเนตสําหรับทําถุงพลาสติกบรรจุอาหารแบบสุญญากาศ

• พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene terephthalate: PET) เหนียวมากโปร<งใส ราคาแพง ใช�ทําแผ<นฟuล�มบาง ๆ บรรจุอาหาร

• พอลิคาร�บอเนต (Polycarbonate: PC) มีลักษณะโปร<งใส แข็ง ทนแรงยึดและแรงกระแทกได�ดี ทนความร�อนสูง ทนกรด แต<ไม<ทนด<าง เปBนรอยหรือคราบอาหาร จับยาก ใช�ทําถ�วย จาน ชาม ขวดนมเด็ก และขวดบรรจุอาหารเด็ก

• ตาราง แสดงสมบัติบางประการของพลาสติกบางชนิด

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 7

Page 18: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ชนิดของพลาสติก

ประเภทของพลาสติก

สมบัติบางประการ ตัวอย#างการนําไปใช�ประโยชน� สภาพการไหม�ไฟ ข�อสังเกตอ่ืน

พอลิเอทิลีน เทอร�มอพลาสติก

เปลวไฟสีน้ําเงินขอบเหลือง กลิ่นเหมือนพาราฟuน เปลวไฟไม<ดับเอง

เล็บขีดเปBนรอย ไม<ละลายในสารละลายท่ัวไป ลอยน้ํา

ถุง ภาชนะ ฟuล�มถ<ายภาพ ของเล<นเด็ก ดอกไม�พลาสติก

พอลิโพรพิลีน เทอร�มอพลาสติก

เปลวไฟสีน้ําเงินขอบเหลือง ควันขาว กลิ่นเหมือนพาราฟuน

ขีดด�วยเล็บไม<เปBนรอย ไม<แตก

โต}ะ เก�าอ้ี เชือก พรม บรรจุภัณฑ�อาหาร ชิ้นส<วนรถยนต�

พอลิสไตรีน เทอร�มอพลาสติก

เปลวไฟสีเหลือง เขม<ามาก กลิ่นเหมือนก}าซจุดตะเกียง

เปาะ ละลายได�ในคาร�บอนเตตระคลอไรด� และโทลูอีน ลอยน้ํา

โฟม อุปกรณ�ไฟฟxา เลนส� ของเล<นเด็ก อุปกรณ�กีฬา เครื่องมือสื่อสาร

พอลิวินิลคลอไรด�

เทอร�มอพลาสติก

ติดไฟยาก เปลวสีเหลืองขอบเขียว ควันขาว กลิ่นกรดเกลือ

อ<อนตัวได�คล�ายยาง ลอยน้ํา

กระดาษติดผนัง ภาชนะบรรจุสารเคมี รองเท�า กระเบ้ืองปูพ้ืน ฉนวนหุ�มสายไฟ ท<อพีวีซี

ไนลอน เทอร�มอพลาสติก

เปลวไฟสีน้ําเงินขอบเหลือง กลิ่นคล�ายเขาสัตว�ติดไฟ

เหนียว ยืดหยุ<น ไม<แตก จมน้ํา

เครื่องนุ<งห<ม ถุงน<องสตรี พรม อวน แห

พอลิยูเรียฟอร�มาลดีไฮด�

พลาสติกเทอร�มอเซต

ติดไฟยาก เปลวสีเหลืองอ<อน ขอบฟxาแกมเขียว กลิ่นแอมโมเนีย

แตกร�าว จมน้ํา เต�าเสียบไฟฟxา วัสดุเชิงวิศวกรรม

อีพอกซี พลาสติกเทอร�มอเซต

ติดไฟง<าย เปลวสีเหลือง ควันดํา กล<นคล�ายข�าวค่ัว

ไม<ละลายในสารไฮโดรคาร�บอนและน้ํา

กาว สี สารเคลือบผิวหน�าวัตถุ

พอลิเอสเทอร�

เทอร�มอพลาสติก

ติดไฟยาก เปลวสีเหลือง ควันกลิ่นฉุน

อ<อนตัว ยืดหยุ<น เส�นใยผ�า

พลาสติกเทอร�มอเซต

ติดไฟยาก เปลวสีเหลือง ควันดํา กลิ่นฉุน

เปราะ หรือแข็งเหนียว ตัวถังรถยนต� ตัวถังเรือ ใช�บุภายในเครื่องบิน

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 8

ตารางท่ี 1 ตารางแสดงชนิดและคุณสมบัติของพลาสติกชนิดต<างๆ

Page 19: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ป?จจุบันเราใช�พลาสติกฟุ�มเฟ�อยมาก แต<ละป=ประเทศไทยมีขยะพลาสติกจํานวนมาก ซ่ึงเปBนด�านสิ่งแวดล�อมของโลก จึงมีความพยายามคิดค�นทําพลาสติกท่ีย<อยสลายทางชีวภาพ (Biodedradable) มาใช�แทน แต<พลาสติกบางชนิดก�ยังไม<สามารถย<อยสลายทางชีวภาพได� ในทางปฏิบัติยังคงกําจัดขยะพลาสติกด�วยวิธีฝ?งกลบใต�ดิน และเผา ซ่ึงก<อให�เกิดป?ญหาด�านสิ่งแวดล�อมตามมา วิธีท่ีดีท่ีสุดในการดูแลสิ่งแวดล�อมเก่ียวกับขยะพลาสติก คือ ลดปริมาณการใช�ให�เหลือเท<าท่ีจําเปBน และมีการนําพลาสติกบางชนิดกลับไปผ<านบางข้ันตอนในการผลิต แล�วนํากลับมาใช�งานใหม<ได�ตามเดิม

2.2.2 ชนิดของพลาสติกรีไซเคิล, Type of Plastic Recycle

กระบวนการรีไซเคิลพลาสติกเริ่มต�นด�วยการแยกพลาสติกชนิดต<างๆ ออกจากกันเนื่องจากพลาสติกต<างชนิดกันมีสมบัติแตกต<างกัน เช<น จุดหลอมเหลวความหนาแน<น ความแข็ง ความนิ่ม ความใสเม่ือพลาสติกแต<ละชนิดถูกแยกออกจากกันแล�วจะถูกบีบให�แบนแล�วมัดรวม กันเปBนก�อนเพ่ือแยกส<งไปยังโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิลท่ีโรงงานพลาสติก แต<ละชนิดจะถูกนํามาบดให�เปBนชิ้นเล็กและล�างทําความสะอาดในบ<อน้ําขนาดใหญ<ใน ข้ันตอนนี้ฝุ�นและสิ่งสกปรกจะถูกกําจัดออกไปหลังจากนั้นชิ้นพลาสติกจะถูกทํา ให�แห�งโดยการตากแดดหรือใช�อากาศร�อนปxายกระดาษหรือฟuล�มท่ีติดมากับชิ้น พลาสติกจะถูกเป�าแยกออกมาจากนั้นจะเข�าสู<ข้ันตอนการหลอมชิ้นพลาสติกผ<าน เครื่องอัดรีด (extruder)ออกมาเปBนเส�น ก<อนตัดให�เปBนเม็ดเล็กๆ บรรจุลงกล<องเพ่ือส<งไปยังโรงงานข้ึนรูปพลาสติกให�เปBนผลิตภัณฑ�ใหม<หากการ ข้ึนรูปเปBนผลิตภัณฑ�ใหม<นี้ใช�เม็ดพลาสติกรีไซเคิลท้ังหมดผลิตภัณฑ�พลาสติก ท่ีได�จะมีสมบัติทางกายภาพลดลงบางครั้งโรงงานจะนําเม็ดพลาสติกใหม<มาผสมเพ่ือ ให�ได�ผลิตภัณฑ�ท่ีมีสมบัติดีข้ึน ตัวอย<างพลาสติกรีไซเคิลเรียงตามตัวเลขระบุท่ีใต�ขวด หรือภาชนะ

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 9

Page 20: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

พลาสติก ช่ือย#อ สัญลักษณ� มอนอเมอร� การนําไปใช�งาน

Polyethylene Terephthalate

PETE

High Density Polyethylene

HDPE

Polyvinyl Chloride (PVC)

V

Low Lensity Polyethylene

LDPE

Polypropylene PP

Polystyrene PS

Polycarbonate PC

Polymethyl-Methacrylate

PMMA

Nylon-66 N-66

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 10

ตารางท่ี 2 ตารางแสดงสัญลักษณ�และองค�ประกอบย<อยของพลาสติกชนิดต<างๆ

Page 21: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

2.2.2.1 โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene Terephthalate, PET, PETE)

ใช�ทําขวดน้ําด่ืม ขวดบรรจุของดอง ขวดแยม ขวดน้ํามันพืชถาดอาหารสําหรับเตาอบ และเครื่องสําอาง สามารถนํามารีไซเคิลเปBนเส�นใยสําหรับทําเสื้อกันหนาว พรม ใยสังเคราะห�สําหรับยัดหมอน ถุงหูหิ้ว กระเป�า ขวด

2.2.2.2 โพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน<นสูง (High Density polyethylene, HDPE)

ใช�ทําขวดนม น้ํา ผลไม� โยเกิร�ต บรรจุภัณฑ�สําหรับน้ํายาทําความสะอาดแชมพูสระผม แปxงเด็ก และถุงหูหิ้วสามารถนํามารีไซเคิลเปBนขวดใส<น้ํายาซักผ�า ขวดน้ํามันเครื่อง ท<อ ลังพลาสติกไม�เทียมเพ่ือใช�ทํารั้วหรือม�านั่งในสวน

2.2.2.3 โพลิไวนิลคลอไรด�(Polyvinyl Chloride, PVC)

ใช�ทําท<อน้ําประปา สายยางใสแผ<นฟuล�มสําหรับห<ออาหาร ม<านในห�องอาบน้ํา แผ<นกระเบ้ืองยางแผ<นพลาสติกปูโต}ะ ขวดใส<แชมพูสระผม ประตู หน�าต<าง วงกล และหนังเทียมสามารถนํามารีไซเคิลเปBนท<อน้ําประปาหรือรางน้ําสําหรับการเกษตร กรวยจราจรเฟอร�นิเจอร� ม�านั่งพลาสติก ตลับเทป เคเบิล แผ<นไม�เทียม

2.2.2.4 โพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน<นตํ่า (Low Density polyethylene, LDPE)

ใช�ทําฟuล�มห<ออาหารและห<อของ ถุงใส<ขนมป?ง ถุงเย็นสําหรับบรรจุอาหารสามารถนํามารีไซเคิลเปBนถุงดําสําหรับใส<ขยะ ถุงหูหิ้ว ถังขยะกระเบ้ืองปูพ้ืน เฟอร�นิเจอร� แท<งไม�เทียม

2.2.2.5 โพลิโพรพิลีน(Polypropylene, PP)

ใช�ทําภาชนะบรรจุอาหาร เช<น กล<อง ชาม จาน ถัง ตะกร�ากระบอกใส<น้ําแช<เย็น ขวดซอส แก�วโยเกิร�ต ขวดบรรจุยาสามารถนํามารีไซเคิลเปBนกล<องแบตเตอรี่ในรถยนต� ชิ้นส<วนรถยนต� เช<นกันชนและกรวยสําหรับน้ํามัน ไฟท�าย ไม�กวาดพลาสติก แปรง

2.2.2.6 โพลิสไตรีน (Polystyrene, PS)

ใช�ทําภาชนะบรรจุของใช�เช<น เทปเพลง สําลีหรือของแห�ง เช<น หมูแผ<น หมูหยอง และคุ}กก้ีนอกจากนั้นยังนํามาทําโฟมใส<อาหาร ซ่ึงจะเบามากสามารถนํามารีไซเคิลเปBนไม�แขวนเสื้อ กล<องวิดีโอ ไม�บรรทัดกระเปาะเทอร�โมมิเตอร� แผงสวิตช�ไฟ ฉนวนความร�อน ถาดใส<ไข<เครื่องมือเครื่องใช�ต<างๆ

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 11

Page 22: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

2.2.2.7 พลาสติกชนิดอ่ืนท่ีไม<ใช<พลาสติกท้ัง 6 กลุ<มข�างต�น

หรือเปBนผลิตภัณฑ�ท่ีทําจากพลาสติกหลายชนิดใน ข้ันตอนของการบดพลาสติกเพ่ือให�มีขนาดเล็กลงไม<ไปอุดตันในกระบวนการรีไซเคิล นั้นจะทําให�พลาสติกรีไซเคิลมีสมบัติความแข็งแรงทางกายภาพลดลงเนื่องจากแรง เฉือนเชิงกล (Mechanical Shear) ในเครื่องบดไปทําลายโซ<ของโพลิเมอร�ให�แตกออกทําให�ความยาวของโมเลกุลและ น้ําหนักโมเลกุลลดลงซ่ึงส<งผลให�สมบัติเชิงกลของพลาสติกลดลง นอกจากนั้นเรื่องของความบริสุทธิ์ก็มีความสําคัญต<อสมบัติของพลาสติกแต<ละ ชนิดในการเลือกเพ่ือนําไปผลิตเปBนผลิตภัณฑ�ต<างๆหากใช�กระบวนการแยกพลาสติก ท่ีไม<ดีพอ อาจทําให�ไม<ได�พลาสติกรีไซเคิลท่ีบริสุทธิ์

2.3 ขวดนํ้าพลาสติก

ขวดน้ําพลาสติกในป?จจุบันพลาสติกเข�ามามีบทบาทต<อชีวิตประจําวันของมนุษย�เรามาก ท้ังของเล<น อุปกรณ�เครื่องใช�ไฟฟxา เครื่องประดับ รวมถึงภาชนะบรรจุสินค�า ต<างๆมากมาย พลาสติกท่ีนํามาใช�เหล<านี้มีหลายชนิด ซ่ึงมีคุณสมบัติแตกต<างกันไป ในบรรดาของท่ีทําด�วยพลาสติกดังกล<าว พลาสติกเพ่ือการ บรรจุหีบห<อ นับว<าได�รับความสนใจเปBนพิเศษ ท้ังในเชิงการค�า การตลาด และอุตสาหกรรม มีอัตราการเจริญเติบโตเพ่ิมข้ึนสูงมาก แบ<งได�เปBน 2 ประเภทดังนี้

1. ภาชนะบรรจุชนิดแข็ง (rigid container) เช<น ขวดน้ํามันพืช ขวดนม กล<องโฟมและถาดพลาสติก 2. ภาชนะบรรจุชนิดอ<อนตัวได� (flexible container) เช<น ถุงใส<น้ําแข็ง ถุงขนม ถุงหิ้วท้ังหลาย

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 12

รูปท่ี 9 ขวดชนิตต<างๆ

Page 23: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

รวมท้ังฟuล�มห<ออาหาร สกีนแพค (skin pack) และบริสเตอร�แพค(blister pack)เปBนภาชนะพลาสติกท่ีทําจากแผ<นพลาสติก ท่ีข้ึนรูปด�วยความร�อนแล�วนํามาประกบหรือประกอบกระดาษแข็ง ซ่ึงแผ<นพลาสติกดังกล<าวทํามาจากพอลลิไวนิลคลอไรด� (PVC) ตัวอย<างเช<นเครื่องเขียน แปรงสีฟ?นเปBนต�น

2.3.1 ชนิดของขวดพลาสติก แบ<งได�ดังนี้

2.3.1.1 ขวดทําจากพอลิไวนิลคลอไรด�

คุณสมบัติท่ัวไปจะใส สามารถปxองกันก}าซซึมและไขมันซึมผ<านได�ดี ทนความเปBนกรดได�ดี ไม<ทนความร�อนและความเย็น จึงเหมาะสําหรับใช�ท่ีอุณหภูมิ ตามปกติ มักจะใช�ในการบรรจุเครื่องสําอาง น้ําผลไม� น้ํามันพืช น้ําส�มสายชู และผลิตภัณฑ�ทางเคมี ขวดน้ําพลาสติกนั้นเวลานํามาใช�ซํ้าๆ จะมีสารเคมีท่ีสามารถละลายออกมาได� โดยเฉพาะเม่ือขวดมีการยุบตัว รวมถึงขวดเพท และขวดขาวขุ<นด�วย(ขวดขาวขุ<นจะละลายออกมามากกว<าโดยเฉพาะเม่ือเก็บไม<ถูก วิธี)

2.3.1.2 ขวดทําจากพอลลิสไตรีน

ปxองกันก}าซและไอน้ําได�ไม<ดีนัก ทนความเปBนกรดได�ปานกลาง ไม<ทนความร�อนและความเย็น เหมาะสําหรับใช�ท่ีอุณหภูมิปกติ โดยท่ัวไปนิยมใช�บรรจุ ยาเม็ด วิตามิน เครื่องเทศ และทําให�มีขนาดใหญ<สําหรับใช�บรรจุนมเพ่ือการขนส<ง แต<ไม<นิยมใช�ในบ�านเรา

2.3.1.3 ขวดทําจากพอลลิเอทีลีน

มีการใช�ในสองลักษณะคือ พอลลิเอทีลีนชนิดความหนาแน<นตํ่า และพอลลิเอทีลีนชนิดความหนาแน<นสูง โดยท่ัวไปขวด ชนิดนี้จะยอมให�ไอน้ําซึมผ<านได�น�อย แต<จะยอมให�ก}าซซึมผ<านได� ทนความเปBนกรดได�ปานกลาง ทนความร�อนได�ไม<ดี มากนัก แต<จะทนความเย็นได�ดีมาก สําหรับขวดท่ีมีชนิดความหนาแน<นสูง มักจะใช�บรรจุนม ผงซักฟอก น้ําด่ืม สารเคมีและเครื่องสําอาง

2.3.1.4 ขวดทําจากพอลลิโพรพีลีน

คุณสมบัติโดยท่ัวไปแล�วจะยอมให�ไอน้ําซึมผ<านได�น�อยแต<จะยอมให�ก}าซซึมผ<าน ได�ดี ทนความเปBนกรดได�ปานกลาง ทนความร�อนได�ดี แต<จะไม<ทนความเย็น จึงไม<เหมาะแก<การแช<เย็น โดยท่ัวไปใช�ในการบรรจุยา น้ําผลไม� น้ําเชื่อม เครื่องสําอาง แชมพู

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 13

Page 24: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

2.3.1.5 ขวดทําจากพอลลิเอทีลีนเทอร�ฟะทาเลตหรือพอลลิเอสเธอร� ขวดเพท คุณสมบัติโดยท่ัวไปจะแข็งใส ปxองกันการซึมผ<านของไอน้ําได�ปาน

กลาง แต<ปxองกันการซึมผ<านก}าซได�ดีมาก ทนความเปBนกรดได�และความเย็นได�ดี มักนิยมใช�บรรจุเครื่องด่ืมประเภทน้ําอัดลม เบียร� นอกจากนี้ยังบรรจุของเหลวมีแอลกอฮอล�ได� เช<น แชมพูน้ํา โคโลญจ� โลชั่น เปBนต�น

2.4 พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene terephthalate: PET)

เทอร�โมพลาสติกประเภทโพลิโอเลฟuนผลิตจากสไตรีน มีลักษณะแข็ง(หลอมท่ีอุณหภูมิสูงและแข็งตัวเม่ือเย็น) ท่ีผลิตข้ึนได�จากปฏิกิริยาเคมีระหว<างเอทิลีนไกลคอลกับไดเมทิลเทเรฟทาเลต หรือระหว<างเอทิลีนไกลคอลกับกรดเทเรฟทาลิก แต<ในป?จจุบันนิยมใช�ไดเมทิลเทเรฟทาเลต เปราะ ดูดความชื้นตํ่า ไม<นําไฟฟxา เฉ่ือยกับสารเคมี ทนกรดและเบส ทนแรงดึงสูง แต<ทนความร�อนตํ่า ละลายในตัวทําละลายประเภทแอโรแมทิก ข้ึนรูปง<าย นิยมใช�การข้ึนรูปแบบฉีด มักผสมแอดดิทีพ หรือสารเติมแต<งเพ่ือปรับสมบัติของโพลิสไตรีนให�ดีข้ึน ใช�ทําถังพลาสติก ขวดพลาสติก ภาชนะใส<อาหารชนิดใส ของเล<น ไม�บรรทัดพลาสติก โครงด�านนอกของโทรทัศน� ชิ้นส<วนตู�เย็น ชิ้นส<วนภายในรถยนต� นอกจากนี้ยังใช�ผลิตโฟมกันกระแทกอีกด�วย ในการทดลองกับสัตว�พบว<าเปBนสารก<อมะเร็ง ก<อการกลายพันธุ� และเปBนพิษต<อระบบสืบพันธุ� นอกจากนี้ ยังมีการใช� สารเร<งปฏิกิริยาเคมีเช<น แอนติโมนีไตรออกไซด� หรือแอนติโมนีไตรแอซีเตต พลาสติก PET นี้แบ<งเปBน 2 กลุ<ม คือกลุ<มท่ีมีเนื้อใส (A-PET) และกลุ<มท่ีเปBนผลึกสีขาว (C-PET) เพทมีคุณสมบัติท่ีสามารถทําเปBนพลาสติกท่ีมีลักษณะก่ึงแข็งไปจนถึงเปBนของ แข็งได�โดยการปรับความหนา และมีน้ําหนักเบา กันก}าซและแอลกอฮอล�ได�ดี

PET จัดเปBนโพลิเอสเตอร�ท่ีมีความสําคัญมากท่ีสุดและผลิตมากท่ีสุดในเชิงการค�า

สถิติในป= 1974 พบว<าท่ัวโลกได�ผลิตโพลิเมอร�นี้ 3x109ปอนด�ซ่ึงโดยส<วนใหญ<ถูกนําไปใช�งานเส�นใยสังเคราะห� โพลิเอทีลีนเทเรฟทาเลต จัดเปBนโพลิเอสเตอร�เชิงเส�นตรงท่ีอ่ิมตัวท่ีสําคัญท่ีสุด โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลตเปBนโพลิเมอร�แข็ง ไม<มีสีเนื่องจากเปBนโพลิเมอร�เชิงเส�นตรงท่ีมีการจัดของหมู<ต<างๆค<อนข�างเปBนระเบียบ และมีแรงดึงดูดระหว<างโมเลกุลสูงโพลิเมอร�นี้จึงมี

ความเปBนผลึกสูงมีจุดหลอมตัว 265°C นอกจากนี้ยังมีสมบัติเปBนฉนวนไฟฟxาท่ีดี ณ อุณหภูมิห�อง

เนื่องจากโพลิเมอร�นี้มีความเปBนผลึกสูงและมีหมู<ท่ีมีสภาพข้ัว(-C-)ภายในโมเลกุล โพลิเมอร�นี้จึงละลายได�เฉพาะในตัวทําละลายท่ีสามารถให�โปรตอนได� เช<นการละลายได� ณ อุณหภูมิห�องในคลอริเนเตตและฟลูออริเนเตตอะซิติกอะซิด (เช<น Cl3COOH, F3COOH) ฟ=นอลและกรดไฮโดรฟูออริก (HF) ณ อุณหภูมิสูงจะละลายได�ในตัวทําละลายอินทรีย�อ่ืนๆ บาง

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 14

Page 25: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ชนิดเช<น เอนนิโซล(anisole) อะโรเมติกคีโตน(aromatic ketones) ไดบิวทิลฟาทาเลต (dibutyl phthalate) และไดเมทิลซัลโฟน(dimethyl sulfone)

โพลิเมอร�นี้ทนทานต<อน้ําและกรดอนินทรีย�ท่ีเจือจางได�เปBนอย<างดีและจะสลายตัวลงโดยกรดไนตริกและกรดซัลฟูริกเข�มข�นเบสแก<เช<นสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด�ก็สามารถทําให�โพลิเมอร�นี้เสื่อมคุณภาพได�เช<นกัน โพลิเอทีลีนเทเรฟทาเลตสามารถทนต<อการสลายโมเลกุลแบบโฟโตเคมิคัลได�ดีมาก แต<ถ�าให�ความร�อนสูงกว<าจุดหลอมตัวของมัน อาจเกิดการสลายโมเลกุลบางส<วนได� ท้ังนี้ผลิตผลหลักของการสลายโมเลกุลโดยความร�อนได�แก< คาร�บอนไดออกไซด�(CO2) อะชีอัลดีไฮด� (CH3CHO)และกรดเทเรฟทาลิก

2.4.1 การเตรียมพอลิเมอร�

เตรียมจากเอทีลีนไกลคอลโดยเริ่มจากปฏิกิริยาเพ่ิมน้ําให�เอทีลีนออกไซด�ท่ีอุณหภูมิ 200 0C และความดัน20 บรรยากาศส<วนเอทีลีนออกไซด�เตรียมจากปฏิกิริยาออกซิเดชันโดย O2 หรือปฏิกิริยาเพ่ิม Cl และ น้ํา การเตรียมโดยวิธีนี้เคยนิยมใช�มาก<อนแต<ป?จจุบันนี้ล�าสมัยแล�วเพราะถึงแม�จะได�ผลผลิต(% yield)มากกว<าวิธีแรก แต<วิธีนี้ต�องใช�แก}สคลอรีนซ่ึงมีราคาแพงค<าใช�จ<ายท้ังหมดในการผลิตจึงแพงกว<าปฏิกิริยาโพลิเมอไรเซชันระหว<างเอทิลีนไกลคอลและไดเมทิลเทเรฟทาเลตเปBนแบบแลกเปลี่ยนเอสเตอร�ซ่ึงเกิดเปBนสองข้ันตอนดังนี้

ข้ันตอนท่ี 1 เริ่มด�วยดารผสมไดเมทิลเทเรฟทาเลตกับเอทิลีนไกลคอลในอัตราส<วน 1:2.1-2.2 ตังเร<งท่ีใช�อาจเปBน Pboแต<ป?จจุบันนี้นิยมใช�คาร�บอเนต, ออกไซด�อันคาโนเอก (alkanoates)หรือ อัลกอกไซด� (alkoxide)ของโลหะเช<นพลวง(Sb) แบเรียม(Ba) แคดเมียม(Cd) โคบอลต�(Co) ตะก่ัว(Pb) แมกนีเซียม (Mg) แมงกานีส(Mn) ไทเทเนียม (Ti) และสังกะสี(Zn) อุณหภูมิท่ี

ใช�ในข้ันแรกนี้ 150-210°C ปฏิกิริยาการแลกเปลี่ยนเอสเตอร�ท่ีเกิดข้ึนในข้ันแรกนี้คือ เพ่ือให�ได� bis(2-hydroxyethyl) terapthalate เปBนผลิตผลหลักส<วนผลิตผลอ่ืนเปBนโอลิโกเมอร� (oligomer) ท่ีมีสูตนท่ัวไปดังแสดงข�างล<างนี้เล็กน�อยปะปนอยู<ด�วย

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 15

Page 26: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ผลิตผลพลอยได�คือ CH3OH จะถูกกลั่นออกไปจากปฏิกิริยาอย<างต<อเนื่องเปBนการช<วยให�สมดุลของปฏิกิริยาการแลกเปลี่ยนเอสเตอร�นี้เลื่อนไปทางขวามือ

ข้ันตอนท่ี 2 ให�ความร�อนกับผลิตผลจากข้ันตอนท่ี 1 เพ่ิมข้ึนโดยเพ่ิม

อุณหภูมิสูงถึง 270-285°C ขณะเดียวกับลดความดันให�ต่ําลง(<1mmHg)โดยป?�มดูดสาร bis(2-hydroxyethyl) terapthalateจะทําปฏิกิริยาควบแน<นได�โพลิเมอร�ดังรูปด�านล<างนี้ และในการตรวจสอบจะใช�ค<า Intrinsis viscosity (IV) เปBนตัวตรวจสอบเนื่องจากค<า IV คือค<าเฉลี่ยของน้ําหนักโมเลกุล ค<ายิ่งมากยิ่งดีเนื่องจากจะทําให�ความหนาแน<นมากมีรูพรุนเกิดข้ึนน�องจึงทําให� gas หนีออกจากผนังขวดได�ยากค<า IV ของ PET มีค<าประมาณ 0.8

2.5 ขวด PET (PET Bottle)

รูปท่ี 10 ขวดน้ําชนิดต<างๆ

เปBนขวดพลาสติกท่ี ผลิตจากเม็ดพลาสติก Polyethylene Terephthalate (PET

Resin) ซ่ึงมีคุณสมบัติดีกว<าเม็ดพลาสติกแบบอ่ืน กล<าวคือ พลาสติกมีสีใส คุณสมบัติคงทน สามารถรักษาคุณภาพและปxองกันความเสียหายให�กับผลิตภัณฑ�ได�อย<างมี ประสิทธิภาพ เหมาะสําหรับใช�บรรจุผลิตภัณฑ�อุปโภคและบริโภค ซ่ึงรูปแบบของขวดมีท้ังขวดกลม และขวดเหลี่ยม และสามารถเลือกสีของขวดได�ท้ัง สีใส หรือสีฟxา เปBนต�น พลาสติกท่ีใช�ทําขวดน้ําด่ืมชนิดใส หรือท่ีเราเรียกกันโดยท่ัวไปว<าขวดเพท (PET หรือ Poly(ethylene terephthalate)) เปBนโพลิเอสเทอร�ซ่ึงมีประวัติการพัฒนาท่ียาวนานกว<า 70 ป= ในช<วงแรก PET ถูกนํามาผลิตและใช�งานในรูปของเส�นใยก<อน โดยในป=คศ.1941 บริษัทเล็กๆในประเทศอังกฤษได�ผลิตเส�นใยโพลิเอสเทอร�ข้ึน ใช�ชื่อทางการค�าว<าเทรีลีน (Terylene) และถูกพัฒนาต<อโดยบริษัทดูปองค� ประเทศสหรัฐอเมริกาในชื่อเส�นใยแดครอน (Dacron) เสื้อผ�าท่ีผลิตจากเส�นใย PET มีสมบัติท่ีดีคือไม<ยับง<ายทําให�ไม<ต�องรีดมากนัก ไม<หดและแห�งเร็ว ต<อมาบริษัทดูปองค�จึงได�พัฒนาเทคนิคการผลิตฟuล�มพลาสติกท่ีมีความแข็งแรง สูงจาก PET ข้ึนโดย

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 16

Page 27: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ใช�ชื่อว<าไมลาร� (Mylar®) ในป= ค.ศ.1952 เพ่ือนํามาใช�แทนฟuล�มเซลโลเฟนสําหรับห<ออาหาร ทําลูกโป�ง แผ<นฟuล�ม X-ray และเทปสําหรับบันทึกเสียงเพลง ในป= ค.ศ.1967 PET จึงถูกนํามาผลิตเปBนขวดพลาสติกท่ีทนแรงกระแทก ไม<เปราะแตกง<าย ใสสามารถมองเห็นสิ่งท่ีบรรจุอยู<ภายในจึงนิยมใช�บรรจุน้ําด่ืม น้ํามันพืช และเครื่องสําอาง และเนื่องจาก PET มีสมบัติปxองกันการแพร<ผ<านของก}าซได�ดีกว<าพลาสติกท่ัวไป จึงได�รับความนิยมนํามาผลิตเปBนขวดสําหรับบรรจุน้ําอัดลมด�วย

PET เปBนโพลิเมอร�ท่ีได�จากกระบวนการสังเคราะห�โพลิเมอร�แบบควบแน<น 2 ข้ันตอน ในข้ันตอนแรกเกิดจากปฏิกิริยาการเตรียมเอสเทอร� (esterification) โดยใช� กรดเทเรฟทาลิก (terepthalic acid) และ เอทธิลีนไกคอล (ethylene glycol) เปBนสารต้ังต�น หรือใช�ปฏิกิริยาการแลกเปลี่ยนหมู<เอสเทอร� (transesterification) โดยใช�ไดเมทิล เทเรฟทาเลท (dimethyl terepthalate) ร<วมกับเอทธิลีนไกคอล ท่ีอุณหภูมิ 275-285oC ได�ผลิตภัณฑ�เปBนสารไดเอสเทอร� (di-ester) เม่ือผ<านเข�าสู<กระบวนการสังเคราะห�โพลิเมอร� จะได�โพลิเมอร�ท่ีมีน้ําหนักโมเลกุลไม<สูงมาก โครงสร�างเปBนอสัญฐาน และมีค<าความหนืด IV (intrinsic viscosity) ประมาณ 0.58-0.67 dl/g ซ่ึงเหมาะสําหรับนํามาใช�ผลิตเปBนเส�นใยสําหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 17

รูปท่ี 11 การเกิดโพลีเอททีลีนเทเรฟทาเลท

Page 28: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

อย<างไรก็ตามในกระบวนการผลิตขวดหรือเส�นใย คุณภาพสูงมีความจําเปBนต�องใช� PET ท่ีมีน้ําหนักโมเลกุลสูง และมีค<าความหนืด IV > 0.7 dl/g จึงต�องเพ่ิมกระบวนการสังเคราะห�โพลิเมอร�ในสถานะของแข็ง (solid stating polymerisation, SSP) โดยเริ่มจากการทําให�เม็ดโพลิเมอร�ท่ีผลิตได�จากข้ันตอนแรกซ่ึงไม<มีโครง สร�างเปBนผลึก ให�มีปริมาณผลึกเพ่ิมข้ึนก<อน (recrystallization) ซ่ึงประกอบด�วย 2 ข้ันตอน ข้ันตอนแรกใช�เครื่อง pre-crystallizer ซ่ึงในข้ันตอนนี้ PET จะถูกทําให�มีปริมาณผลึกเพ่ิมข้ึนท่ีอุณหภูมิ ประมาณ 170oC เปBนเวลา 30 นาที การกวนอย<างต<อเนื่อง และรุนแรงจะปxองกันไม<ให�เม็ด PET ติดกัน ภายหลังเสร็จสิ้นกระบวนการนี้เม็ด PET จะมีปริมาณผลึกประมาณ 25% ข้ันตอนท่ี 2 ของการเพ่ิมปริมาณผลึกในเม็ด PET ทําได�โดยการกวนด�วยเครื่องกวนท่ีอุณหภูมิ 190oC เปBนเวลา 30 นาที เม็ด PET ท่ีผ<านข้ันตอนนี้จะมีปริมาณผลึกประมาณ 30% จากนั้นจึงผ<านเข�าสู<ข้ันตอน SSP โดยเก็บโพลิเมอร�ไว�ในบรรยากาศท่ีไม<มีออกซิเจนและความชื้น แล�วให�ความร�อนแก<โพลิเมอร�ท่ีอุณหภูมิ 200-220 oC ซ่ึงตํ่ากว<าจุดหลอมเหลวเล็กน�อย กระบวนการ SSP นี้กระบวนการท่ีต�องใช�เวลานานพอท่ีจะเกิดปฏิกิริยาการสังเคราะห�โพลิเมอร� ควบแน<นเพ่ิมข้ึน เม็ด PET จะมีปริมาณผลึกเปBน 40% และค<าความหนืด IV สูงข้ึนเปBน 0.75-0.85 ในข้ันตอนนี้ผลิตภัณฑ�ท่ีเปBนแก}ส และสารท่ีกลายเปBนไอได�ง<ายเช<น อะซิตาลดีไฮด� (acetaldehyde) จะถูกกําจัดออกไป PET ท่ีมีปริมาณผลึกสูงจะมีสมบัติทางกายภาพท่ีดี แข็งแรง และไม<เปราะ แตกง<าย

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 18

รูปท่ี 12 เส�นด�าย

Page 29: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ตารางแสดงค#าความหนืดที่เหมาะสม ของ PET ในการใช�งานด�านต#างๆ

การใช�งาน IV

เทปบันทึกเสียง 0.60

เส�นใย 0.65

ขวดน้ําอัดลม 0.73-0.80

เส�นใยเชิงวิศวกรรม 0.85

รูปท่ี 13 ขวดซอสปรงรสอาหาร และแผ<นฟuล�มถนอมอาหาร

PET นิยมนํามาผลิตเปBนขวดสําหรับเครื่องด่ืม แต<แนวโน�มในการใช�เปBนบรรจุภัณฑ�สําหรับเครื่องอุปโภคต<างๆมีเพ่ิมข้ึน ฟuล�มPET ท่ีเปBน biaxial orientation มีสมบัติในการปxองกันการแพร<ผ<านของกลิ่นได�ดี และสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพได�โดยการเคลือบผิวฟuล�มวัสดุอ่ืนเช<น polyvinylidiene chloride อะลูมิเนียม หรือ ซิลิกอนไดออกไซด� นอกจากนี้ PET ยังมีสมบัติปxองกันการแพร<ผ<านของแก}สออกซิเจน และคาร�บอนไดออกไซด�ได�ดี เนื่องจากกระบวนการผลิตเปBน biaxial orientation

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 19

ตารางท่ี 3 ตารางแสดงค<าความหนืดท่ีเหมาะสมของ PET ในการใช�งานต�านต<างๆ

Page 30: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

2.5.1 สมบัติท่ัวไปของ PET

Tg 73-80 oC (163-176 oF)

Tm 245-265 oC (473-509oF)

ความหนาแน<น 1,29-1.40 g/cm3

Typical yield, 25 µm film 30 m2/kg ( 21,000 in2/lb)

Tensile strength 48.2-72.3 mPa (7.0-10.5 x 103 psi)

Tensile modulus 2,756-4,135 mPa (4-6 x 105 psi)

Elongation at brake 30-3,000 %

Tear strength, film 30 g/ 25 µm ( 0.066 lb/mil)

WVTR 390-510 g µm/m2 day at 37.8oC, 90% RH

O2 Permeability, 25oC 1.2-2.4 x 103 cm3 µm/m2 day atm

CO2 Permeability, 25oC 5.9-9.8 x 103 cm3 µm/m2 day atm

Water absorption, 0.32 cm thick, 24 hour 0.1-0.2%

2.5.2 การผลิตขวด PET

รูปท่ี 14 พรีฟอร�ม

โดยท่ัวไปการผลิตขวดพลาสติก PET มักใช�กระบวนการเป�าแบบดึงยืด (stretch blow moulding) ซ่ึงเปBนการผลิต 2 ข้ันตอน โดยเริ่มจากกระบวนการฉีดเม็ดพลาสติกให�เปBนพรีฟอร� และเป�าพรีฟอร�มให�เปBนขวดน้ําตามลําดับ ข้ันตอนสําคัญของกระบวนการผลิตเริ่มจากการอบไล<ความชื้น เนื่องจาก PET มักดูดความชื้นจากอากาศได�สูง (hygroscopic plastics) โดยปกติเม็ดพลาสติก PET มักมีความชื้นประมาณ 0.05% จึงต�องอบไล<ความชื้นในเม็ดพลาสติกให�เหลืออยู<ไม<สูงเกิน 0.005% ก<อนถูกทําให�หลอมเพ่ือฉีดเปBนพรีฟอร�ม ใน

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 20

ตารางท่ี 4 สมบัติท่ัวไปของ PET

Page 31: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ข้ันตอนการเปลี่ยนรูปร<างของพรีฟอร�มให�เปBนขวดเริ่มจากการทําให�พรีฟอร� มร�อนท่ีอุณหภูมิประมาณ 70 oC จนพรีฟอร�มเริ่มนิ่ม ก<อนนําเข�าสู<กระบวนการเป�าแบบดึงยืดใน 2 ทิศทาง เพ่ือให�ผนังฟรีฟอร�มขยายตัวไปกระทบผนังแม<พิมพ�รูปขวด เม่ือพลาสติกเย็นตัวลงจะได�ผลิตภัณฑ�เปBนขวดพลาสติกใส การควบคุมปริมาณผลึกในพรีฟอร�ม และขวดเปBนสิ่งสําคัญเพ่ือให�ได�ขวดท่ีมีสมบัติตามต�องการ บริเวณคอ และตัวของพรีฟอร�มควรใสและเปBนอสัณฐาน แต<ส<วนท่ีเปBนจุดท่ีฉีดพลาสติกเข�าแม<พิมพ�จะเปBนส<วนท่ีขุ<น และมีผลึกแบบ spherulitic ภายหลังการเป�าแบบดึงยืดต�องทําให�พลาสติกมีปริมาณผลึกสูงสุด เพ่ือให�ขวดมีความแข็งแรง การปxองกันการแพร<ผ<านของกาซ และทนสารเคมีได�ดี

รูปท่ี 15 กระบวนการข้ึนรูปขวด PET

2.5.3 ระดับปริมาณสารอะซิตาลดีไฮด� (acetaldehyde; CH3CHO )

สารอะซิตาลดีไฮด� หรือ AA เปBนสารท่ีพบโดยท่ัวไปในผลไม�รสเปรี้ยว และอาหารหลายชนิด รวมท้ังสามารถเกิดข้ึนระหว<างกระบวนการผลิตขวด PET ด�วย ซ่ึงส<งผลกระทบต<ออุตสาหกรรมการผลิตน้ําด่ืมท่ีบรรจุขวด PET เนื่องจาก สารAA ทําให�กลิ่นและรสชาดของน้ําเปลี่ยนแปลงไป จนผู�บริโภคสามารถรับรู�ได�ซ่ึงบางท<านอาจเคยประสบด�วยตัวเองเม่ือด่ืมน้ํา จากขวดท่ีผลิตจากบางบริษัทและพบว<าน้ําด่ืมมีกลิ่นพลาสติกอยู<ด�วย ซ่ึงอาจส<งผลต<อการเลือกซ้ือของผู�บริโภคในครั้งต<อไปได� ในขณะท่ีเครื่องด่ืมประเภทอัดกาซเช<น โคลามักมีรสหวาน และซ<าจึงมักไม<เกิดป?ญหาดังกล<าวข�างต�น

รูปท่ี 16 ปฏิกิริยาการเกิดสารอะซิตาลดีไฮด�

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 21

Page 32: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

สมการแสดงการเกิดสาร acetaldehyde

สาร AA เกิดข้ึนระหว<างกระบวนการผลิตขวดขณะเม็ดพลาสติกท่ีผ<านการอบแห�งผ<านเข�าสู< กระบวนการหลอมท่ีอุณหภูมิสูง 260oC เพ่ือฉีดข้ึนรูปเปBนพรีฟอร�ม ดังนั้นการควบคุมอุณหภูมิและช<วงเวลาท่ีเม็ดพลาสติกเกิดการหลอมให�ต่ําท่ีสุด จะช<วยลดปริมาณการเกิดสาร AA ได� อย<างไรก็ตาม ยังไม<สามารถปxองกันการเกิดสาร AA ได�อย<างสิ้นเชิง สาร AA ท่ีเกิดข้ึนระหว<างกระบวนการผลิตนี้จะติดอยู<ในเนื้อพลาสติกท่ีใช�ทําขวด หรือบรรจุภัณฑ� และสามารถเคลื่อนท่ีออกจากเนื้อพลาสติกมีผลทําให�เกิดการปนเป��อนในอาหารและ เครื่องด่ืม ก<อให�เกิดรสชาติท่ีเปลี่ยนแปลง ปริมาณการเคลื่อนท่ีของสารออกจากเนื้อพลาสติกข้ึนอยู<กับระยะเวลา และอุณหภูมิในการเก็บ อย<างไรก็ตามยังมีวิธีการลดปริมาณสาร AA บางประการเช<น การเลือกเกรดของเม็ดพลาสติกท่ีเหมาะสม โดยเลือกใช�เม็ดพลาสติกท่ีมีผลิตข้ึนมาเพ่ือใช�ผลิตเปBนบรรจุภัณฑ�สําหรับน้ําด่ืมโดยเฉพาะ และป?จจุบันมีการเติมสารดูดซับ หรือทําปฏิกิริยากับสาร AA (AA scavenger) ลงในเนื้อพลาสติกก<อนการฉีดข้ึนรูป เพ่ือท่ีปxองกันไม<ให�สาร AA เคลื่อนท่ีออกมาจากเนื้อพลาสติกเข�าสู<อาหาร การเติมสารดังกล<าวข�างต�นสามารถลดปริมาณสาร AAในพรีฟอร�มได�ถึง 70-80%

PET ท่ีใช�เปBนวัตถุดิบท่ัวไปในอุตสาหกรรมการผลิตขวดพลาสติกมีหลายเกรด เช<นเกรดโฮโมโพลิเมอร� สังเคราะห�จากการใช�สารเอทธิลีน ไกลคอล และเทเรฟธาลิก แอซิดเปBนสารต้ังต�นเท<านั้น เปBนเกรดท่ีมีปริมาณผลึก และจุดหลอมเหลวสูง และเกรดโคโพลิเมอร� ซ่ึงในการสังเคราะห�มีการใช�โมโนเมอร�ตัวอ่ืนร<วมด�วยเช<น ไอโซแพทธาลิก แอซิด 1.5% ทําให�โพลิเมอร�มีปริมาณผลึก และจุดหลอมเหลวตํ่าลง แต<มีความใสเพ่ิมข้ึน ในการผลิตขวด PET ส<วนใหญ<จะใช�ชนิดท่ีเปBนเกรดโคโพลิเมอร� เนื่องจากสามารถฉีดข้ึนรูปเปBนพรีฟอร�มได�ง<าย เม่ือผ<านเข�าสู<ข้ันตอนการเป�าและดึงยืด จะได�ขวด PET ท่ีมีความเหนียว ใส และทนแรงกระแทกได�ดี อย<างไรก็ตามผู�ผลิตควรเลือกเกรดท่ีเหมาะสมกับชนิดของเครื่องด่ืมหรือ ผลิตภัณฑ�ท่ีต�องการบรรจุด�วย

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 22

รูปท่ี 17 ขวด PET และเม็ดพลาสติก

Page 33: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

2.6 พลาสติกรีไซเคิล

ในป?จจุบันพลาสติกได�กลายเปBนผลิตภัณฑ�สําคัญอย<างหนึ่ง ท่ีเข�ามามีบทบาทในชีวิตประจําวัน และมีแนวโน�มท่ีจะเพ่ิมมากข้ึน และนํามาแทนทรัพยากรธรรมชาติได�หลายอย<าง เช<น ไม� เหล็ก เนื่องจากพลาสติกมีราคาถูก มีน้ําหนักเบาและมีขอบข<ายการใช�งานได�กว�าง เนื่องจากเราสามารถผลิตพลาสติกให�มีคุณสมบัติต<างๆ ตามท่ีต�องการได� โดยข้ึนกับการเลือกใช�วัตถุดิบ ปฎิกริยาเคมี กระบวนการผลิต และกระบวนการข้ึนรูปทรงต<างๆ ได�อย<างมากมาย และนอกจากนี้ ยังสามารถปรุงแต<งคุณสมบัติได�ง<าย โดยการเติมสารเติมแต<ง (Additives) เช<น สารเสริมสภาพพลาสติก (Plasticizer) สารปรับปรุงคุณภาพ (Modifier) สารเสริม (Filler) สารคงสภาพ (Stabilizer) สารยับยั้งปฎิกริยา (Inhibitor) สารหล<อลื่น (Lubricant) และผงสี (Pigment) เปBนต�น

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 23

รูปท่ี 18 การรีไซเคิลขวด PET

รูปท่ี 19 สัญลักษณ�ขวด PET

Page 34: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

พลาสติกโดยท่ัวไปแบ<งออกเปBน 2 กลุ<มใหญ<ๆ คือ

1. เทอร�โมพลาสติก (Thermoplastics) เปBนพลาสติกท่ีอ<อนตัวเม่ือถูกความร�อน และแข็งตัวเม่ือเย็นลง พลาสติกประเภทนี้สามารถนํามาหลอมและข้ึนรูปใหม<ได� ตัวอย<างของพลาสติกประเภทนี้ ได�แก< โพลีเอทธิลีน (PE) โพลีโพรพิลีน (PP) โพลีสไตรลีน (PS) โพลีไวนิลคลอไรด� (PVC) โพลีเอสเตอร� (PET)

2. เทอร�โมเซตต้ิง (Thermosetting) เปBนพลาสติกท่ีเกิดปฎิกริยาเคมีเม่ือนําไปข้ึนรูป พลาสติกประเภทน้ําไม<สามารถนําไปหลอมเพ่ือนํามาใช�ใหม< ตัวอย<างของพลาสติกประเภทนี้ ได�แก< โพลียูเรเธน (PUR) อีพอกซ่ี (Epoxy) ฟ=โนลิค (Phenolic) เมลามีน (Melamine)

การจํากัดขยะพลาสติกสามารถทําได�หลายวิธี เช<น การนําไปฝ?ง (Burial) หรือนําไปถมดิน (Landfill) การนําไปเผาเปBนเชื้อเพลิง (Incineration) และการนํากลับมาใช�ใหม< (Recycle) อย<างไรก็ตาม การนําพลาสติกกลับมาใช�ใหม< โดยท่ัวไปแล�วถูกพิจารณาว<า เปBนทางเลือกท่ีให�ประโยชน�ต<อสิ่งแวดล�อมมากท่ีสุดทางหนึ่ง ในการแก�ไขป?ญหาขยะพลาสติก อย<างไรก็ตาม การนําพลาสติกกลับมาหมุนเวียนใช�ใหม<นั้น ประเด็นสําคัญอยู<ท่ีการแยกประเภทของพลาสติกก<อนท่ีจะนําไปรีไซเคิล และการกําจัดสิ่งท่ีไม<ต�องการออกไป โดยปกติแล�วพลาสติกผสมเกือบทุกประเภทจะมีหลายเฟส เนื่องจากโพลีเมอร�ท่ีถึงแม�จะมีโครงสร�างทางเคมีท่ีเหมือนกัน แต<ไม<สามารถเข�ากันได�เสมอไป (Incompatible) ตัวอย<างเช<น โพลีเอสเตอร� ท่ีใช�ทําขวดพลาสติก จะเปBนโพลีเอสเตอร�ท่ีมีมวลโมเลกุลสูงกว<า เม่ือเทียบกับโพลีเอสเตอร�ท่ีใช�ในการผลิตเส�นใย (Fiber) อย<างไรก็ตาม ยังมีสารเติมแต<งอีกประเภท ได�แก< พวก Compatibilizer ซ่ึงมีผลโดยตรงต<อการรีไซเคิลของพลาสติก สารเติมแต<งนี้จะช<วยให�เกิดพันธะทางเคมีระหว<างโพลีเมอร� 2 ประเภทท่ีเข�ากันไม<ได� ดังนั้น Compatibilizer จะช<วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการรีไซเคิล ตัวอย<างเช<น การใช� Chlorinated PE สําหรับพลาสติกผสม PE/PVC

ตัวอย<างการรีไซเคิลขวดพลาสติกท่ีบรรจุน้ําอัดลม ----บนขวดพลาสติกท่ีบรรจุน้ําอัดลมจะระบุรหัสว<าเปBนโพลีเอสเตอร� (PET-เบอร� 1) แต<ความจริงแล�ว ส<วนฐานของขวดพลาสติกนั้นจะทําด�วยโพลีเอทธิลีนความหนาแน<นสูง (HDPE - เบอร� 2) นอกจากนี้ขวดพลาสติกยังมีส<วนประกอบอ่ืนอีก ได�แก< ปxายกระดาษและกาว ซ่ึงทํามาจากโพลีไวนิลอะซีเตทจํานวนเล็กน�อย รวมถึงฝาปuดขวดท่ีอาจเปBนอะลูมิเนียมหรือพลาสติก และมีโพลีโพรพิลีนเปBนชั้นใน

การลดขนาดของวัสดุ (Size Reduction)---- หลังจากทําการแยกชิ้นส<วนในข้ันต�น ขวดพลาสติกจะถูกนํามาบดโดยเครื่อง Shredder และ Granulator ให�ได�ขนาดประมาณ 1/4 นิ้ว ชิ้นพลาสติกท่ีมีขนาดใหญ<กว<านี้ จะก<อให�เกิดป?ญหาอุดตันในกระบวนการ ข้ันตอนนี้เองเปBนสาเหตุหนึ่ง ท่ีทําให�พลาสติกรีไซเคิลมีคุณสมบัติความแข็งแรงทางกายภาพลดลง

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 24

Page 35: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

เนื่องจากแรงเฉือนเชิงกล (Mechanical Shear) ในเครื่องบดไปทําลายโซ<ของโพลีเมอร�ให�แตกออก ทําให�ความยาวของโมเลกุลและน้ําหนักมวลโมเลกุลลดลง ซ่ึงส<งผลให�คุณสมบัติเชิงกลของพลาสติกลดลง

การแยกกระดาษ (Paper Separation)---- การแยกวัสดุสามารถทําได�โดยวิธี Gravimetric ซ่ึงอาศัยความแตกต<างของมวลหรือน้ําหนัก และวิธี Densiometric ซ่ึงอาศัยความแตกต<างของความหนาแน<น ซ่ึงวิธีหลังนี้จะให�ประสิทธิภาพในการแยกท่ีดีกว<า เนื่องจากความหนาแน<นเปBนค<าเฉพาะของสาร ดังนั้นขนาดของวัสดุจะไม<มีผลต<อการแยกวิธีนี้ อย<างไรก็ตาม ไม<ควรบดพลาสติกให�มีขนาดเล็กจนเกินไป เพราะอาจจะเกิดการสูญเสียพลาสติกได� เนื่องจากมวลของพลาสติกใกล�เคียงกับกระดาษโพลีไวนิลอะซีเตท กระดาษและโพลีเอทธิลีนความหนาแน<นสูงใกล�เคียงกัน แต<เนื่องจากกระดาษเปBนส<วนประกอบท่ีมีรูปร<างบางท่ีสุด จึงมีน้ําหนักเบาท่ีสุด ทําให�แยกออกไปได�ง<าย โดยท่ัวไปแล�วกระดาษจะถูกแยกออกมาก<อน วิธีท่ีนิยมใช� คือ Fluidized Bed หรือใช� Cyclone ซ่ึงเปBนวิธี Gravimetric ในกระบวนการ Fluidized Bed อากาศจะถูกปxอนเข�าทางส<วนล<างของ Bed ส<วนท่ีมีน้ําหนักเบาจะถูกอากาศพัดออกทางส<วนบน และส<วนท่ีหนักจะตกลงสู<ด�านล<างและถูกแยกออกไป การทํางานของ Cyclone ก็ใกล�เคียงกัน เพียงแต<วัสดุจะถูกปxอนเข�าทางส<วนบนในแนวสัมผัส (Tangentially) กับผนังของกรวย

การแยกส<วนท่ีเปBนโลหะ (Metal Removal)---- สามารถใช�วิธ ี Gravimetric หรือ Densiometric ก็ได� อย<างไรก็ตาม วิธี Gravimetric ไม<เปBนท่ีนิยม เพราะความสามารถในการแยกจะข้ึนกับขนาดของวัสดุ ดังนั้นชิ้นโลหะท่ีถึงแม�จะมีความหนาแน<นมากกว<าพลาสติก ก็อาจจะเบากว<าถ�ามีขนาดเล็กกว<ามาก ถ�าโลหะท่ีปนอยู<ส<วนใหญ<เปBนเหล็ก ใช�วิธีแยกโดยใช�แม<เหล็ก (Magnetic) แต<ถ�าเปBนโลหะประเภทอ่ืน นิยมใช�วิธีไฟฟxาสถิตย� (Electrostatic) ซ่ึงจะทําการแยกโดยอาศัยความแตกต<างในการนําไฟฟxาของวัสดุ โดยอาศัยหลักท่ีว<า วัสดุท่ีเปBนตัวนําไฟฟxา จะสูญเสียประจุได�รวดเร็วกว<าวัสดุท่ีเปBนฉนวน ดังนั้นเม่ือผ<านวัสดุท่ีถูกชาร�จ ด�วยประจุไฟฟxาไปบนวัตถุท่ีเปBนกลาง แล�วผ<านไปบนวัตถุท่ีมีประจุตรงข�าม วัสดุท่ีเปBนฉนวนจะถูกดึงดูดได�ง<ายกว<า เนื่องจากมีประจุตกค�างอยู<มากกว<า

การลอยตัวในของเหลว (Direct Flotation)---- เนื่องจากโพลีเอททิลีนมีความหนาแน<นตํ่ากว<าน้ํา การแยกจึงสามารถทําได�ง<าย โดยอาศัยวิธีการลอยตัว วิธีนี้ทําการแยกวัสดุโดยอาศัยความแตกต<างของความหนาแน<น โดยวัสดุผสมจะถูกส<งผ<านเข�าไปในแท็งค� หรือกระบอกซ่ึงบรรจุของเหลว ท่ีมีความหนาแน<นมากกว<าส<วนประกอบท่ีมีความหนาแน<นตํ่าท่ีสุด เพ่ือให�ส<วนประกอบนั้นลอยข้ึนมาส<วนบน และสามารถแยกออกไปได�ง<าย

การแยกวัสดุโดยใช�ตัวทําละลาย (Solvent - Based Separation) การแยกวัสดุโดยวิธีนี้จะทําให�ได�โพลีเมอร�ท่ีมีความบริสุทธิ์สูง และเหมาะสําหรับจะนํากลับมาใช�ใหม< วิธีนี้กระทําโดยการเลือกใช�ตัวทําละลายท่ีเหมาะสม เพ่ือกําจัดส<วนประกอบท่ีไม<ต�องการให�

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 25

Page 36: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ละลายอยู<ในสารละลาย ตัวอย<างเช<น การใช�ตัวทําละลายผสมของ Xylene กับ Cyclohexanone ในการแยกพลาสติกผสม PS-PVC-HDPE-PP ออกเปBน 3 เฟส หรือการใช� N-Methy 1-2-Pyrolidinone (NMP) ในการแยกพลาสติกผสม PET-HDPE ข�อเสียของวิธีนี้ก็คือ การเพ่ิมค<าใช�จ<าย เนื่องจากต�องใช�อุปกรณ�ท่ีซับซ�อน และใช�พลังงานมากกว<าวิธีแห�ง

หลังจากท่ีทําการแยกประเภทพลาสติกและทําความสะอาดแล�ว ก็สามารถนําพลาสติกนั้นกลับมาหลอมและข้ึนรูปใหม<ได� ในกรณีท่ีพลาสติกนั้นเปBนประเภทเทอร�โมพลาสติก สําหรับพลาสติกบางประเภทสามารถทําให�เกิดปฎิกริยา Depolymerization ได� เช<น โพลีเอสเตอร� สามารถทําปฎิกริยากับเมธานอลกลับไปเปBนสารต้ังต�น คือ Dimethylterephthalate และ Ethylene Glycol ซ่ึงสารเคมีท้ังสองตัวนี้สามารถนํามาทําให�บริสุทธิ์ได�โดยการกลั่น และนํามาใช�ใหม<ในการผลิตโพลีเอสเตอร� หรือไม<ก็สามารถเปลี่ยนโพลีเอสเตอร� ให�เปBนไปอยู<ในรูปสารเคมีอ่ืนท่ีนํามาใช�ประโยชน�ได� โดยใช�ปฎิกริยา Esterification หรือ Hydrolysis โพลีสไตรลีนสามารถเปลี่ยนกลับไปเปBนโมโนเมอร� (Monomer) ได�โดยกระบวนการ Pyrolysis โดยท่ัวไปการใช�โพลีเมอร�ประเภทเดียวกันมีความจําเปBนต<อการเกิดปฎิกริยา Depolymerization อย<างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นวิธีนี้จึงนิยมใช�กับเศษพลาสติกจากกระบวนการผลิต และข้ึนรูปจากโรงงานอุตสาหกรรมมากกว<าขยะพลาสติกจากผู�ใช�ผู�บริโภค

นอกจากนี้ยังมีการสังเคราะห�โพลีเมอร�ท่ีสามารถย<อยสลายได�โดยธรรมชาติ เช<น จากแสงอาทิตย�และจุลินทรีย� โพลีเมอร�สามารถทําให�ย<อยสลายโดยแสงอาทิตย� (Photodegradable) ได�โดยการใส<กลุ<มคาร�บอนิว (Carbony) ซ่ึงจะดูดซึมรังสีอุลตร�าไวโอเล็ต เพ่ือไปแตกพันธะของโพลีเมอร�เพ่ือให�เกิดการย<อยสลาย โพลีเมอร�ท่ีย<อยสลายได�ทางชีวภาพ (Biodegradable) จะมีกลุ<ม Hydrolyzable ท่ีสามารถเกิดปฎิกริยา Hydrolysis และปฎิกริยา Oxidation ได�ง<าย

การพัฒนากระบวนการและเทคโนโลยีในการแยกวัสดุ มีความจําเปBนสําหรับพลาสติกผสม ถ�าจะให�มีการรีไซเคิลมาใช�อย<างกว�างขวาง นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาเครื่องมือท่ีใช�ในการข้ึนรูปพลาสติกรีไซเคิล ตัวอย<างเช<น กรรมวิธีข้ึนรูปแบบขับดันร<วม (Coextrusion) ซ่ึงเครื่องมือนี้ได�ออกแบบมาในครั้งแรกเพ่ือใช�กับ HDPE โดยการประกบ HDPE ท่ีได�มาจากการรีไซเคิลให�อยู<ระหว<าง HDPE ท่ียังไม<ได�ผ<านการข้ึนรูปมาก<อน นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนากรรมวิธีการข้ึนรูปแบบเป�ากลวงร<วม (Coinjection Blow Molding) สําหรับโพลีเอสเตอร�อีกด�วย

ทางเลือกอีกทางหนึ่งท่ีเปBนไปได�คือใช�พลาสติกผสม แต<ถึงแม�ว<าทางเลือกนี้ จะประหยัดค<าใช�จ<ายในด�านการแยกสารและการทํา>ให�บริสุทธิ์ รวมถึงกระบวนการผลิตท่ีใช�ก็ซับซ�อนน�อยกว<าก็ตาม การใช�งานพลาสติกรีไซเคิลประเภท 2 นี้ มักจะจํากัดอยู<กับการใช�งานบางประเภท ท่ีไม<ต�องการคุณลักษณะเฉพาะทางกายภาพ และทางเคมีของโพลีเมอร�ตั้งต�น

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 26

Page 37: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

พลาสติกผสมรีไซเคิลนี้มักจะถูกทําให�อยู<ในรูปท<อนพลาสติก (Plastic Lumber) ซ่ึงจะนํามาใช�ในการทําท่ีนั่งสาธารณะ เสารั้ว ท<าเรือ และเครื่องเล<นเด็ก เปBนต�น

2.6.1 อันตรายจากการใช�ขวดพลาสติกรีไซเคิล 1. การใช�ขวดน้ําพลาสติกใส (ขวด PET) มาใช�บรรจุน้ําหรืออาหารอ่ืน ๆ ซํ้ามีอันตรายจริงหรือไม<

2. สารเคมีท่ีอาจละลายออกมาจากขวดคือสารอะไร มีพิษภัยอย<างไร

ตอบ โดยท่ัวไปแล�วสารเคมีท่ีใช�ในการผลิตพลาสติกเพ่ือห<อหุ�มหรือสัมผัสอาหารมีการควบคุมทางกฎหมาย โดยประเทศต<าง ๆ จะมีข�อกําหนดท่ีแตกต<างกันไป แต<จะมีจุดมุ<งหมายท่ีใกล�เคียงกัน คือ ควบคุมการใช�ในขบวนการผลิต และทดสอบการละลายออกมาของสารเคมีให�อยู<ในระดับท่ีปลอดภัยต<อการนําไปใช�งาน ดังนั้น ถ�าผู�ใช�ใช�ขวดพลาสติกโดยถูกต�องเปBนไปตามวัตถุประสงค�ของการผลิต ก็แน<ใจได�ว<ามีความปลอดภัย

ขวด PET ท่ีใช�บรรจุน้ําหรือเครื่องด่ืม ท้ังชนิดใช�ครั้งเดียวหรือใช�ซํ้าจะทําจาก PET Resin เกรดเดียวกัน แตกต<างกันท่ีขวดท่ีใช�ซํ้าจะมีความหนาขอบผนังขวดมากกว<าชนิดใช�ครั้งเดียว ท้ังนี้เพ่ือความแข็งแรงและทนทานและต�องออกแบบให�สะดวกต<อการทําความสะอาด ส<วนขวดใช�ครั้งเดียวผนังขวดจะบางกว<าเพ่ือการประหยัดวัตถุดิบ ป?จจัยท่ีมีผลต<อการละลายออกมาของสารเคมีจากภาชนะพลาสติกคือ

1. อุณหภูมิ, ระยะเวลาและชนิดของอาหารท่ีสัมผัสอยู<กับภาชนะ หากอุณหภูมิสุงข้ึนและระยะเวลาการเก็บนานข้ึน หรืออาหารท่ีมีความเปBนกรดจะมีผลให�การละลายของสารเคมีออกมาจากภาชนะมากข้ึน

2. คุณภาพของขวดหรือภาชนะ ซ่ึงผู�ผลิตจะต�องควบคุมขบวนการผลิตให�ได�มาตรฐานตามข�อกําหนดในกฎหมายของแต<ละประเทศ จาก การตรวจวิเคราะห� ขวด PET ท่ีผลิตใหม<ซ่ึงผู�ผลิตมากกว<า 10 บริษัท นําส<งตรวจวิเคราะห� ณ กรมวิทยาศาสตร�การแพทย� เพ่ือรับรองคุณภาพความปลอดภัยตามมาตรฐานของ

ตอบ อันตรายจากสารเคมี ซ่ึงอ�างว<าเปBนสารก<อมะเร็งนั้นไม<มีการยืนยันท่ีแน<ชัด มีการศึกษา สารเคมีต<าง ๆ ท่ีละลายออกมาจากขวด PET ท้ังในประเทศและต<างประเทศ พบว<าไม<เกินค<าท่ีกําหนดไว�ตามมาตรฐานสากล และค<อนข�างเปBนท่ียอมรับว<าสามารถนํามาใช�บรรจุซํ้าได�อย<างปลอดภัยจากสาร เคมี การใช�ขวดน้ําพลาสติกมาบรรจุน้ําซํ้า ๆ อาจจะมีความเสี่ยงต<อการได�รับเชื้อโรค และสิ่งสกปรกท่ีตกค�างอยู<มากกว<า ถ�าล�างทําความสะอาดขวดไม<ดีพอ ก<อนท่ีจะบรรจุซํ้าใหม<

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 28

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 27

Page 38: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

กระทรวงสาธารณสุข โดยทําการทดสอบท่ีอุณหภูมิ 60 และ 95 องศาเซลเซียส ตามอุณหภูมิท่ีใช�งานของภาชนะท่ีต�องการทดสอบพบว<าได�มาตรฐานทุกตัวอย<าง

3. หากใช�ไปนานๆ เราจะมีวิธีสังเกตลักษณะขวดท่ีไม<ควรใช�อย<างไร

ตอบ ขวดพลาสติกเหล<านี้มีวัตถุประสงค�ในการ ใช�งานเพียงครั้งเดียว แต<ก็สามารถนํามาใช�ซํ้าได� โดยต�องล�างให�สะอาด และท้ิงไว�ให�แห�งก<อนนํามาใช�ใหม< อย<างไรก็ตาม หากใช�ไปนาน ๆ แล�วต�องสังเกตการเปลี่ยนแปลงของขวด เช<น สีเปลี่ยนไป มีความขุ<นมากข้ึน มีรอยขีดข<วนมาก หรือ เปราะ ปริ แตก ไม<ควรนํามาใช�ซํ้าอีกเพราะพลาสติกท่ีใช�ทําขวดเริ่มเสียสภาพแล�ว

4. ประชาชนสามารถใช�อะไรทดแทน หรือมีวิธีการใดทดแทนการใช�ขวดพลาสติก

ตอบ ประชาชนสามารถใช�ขวดแก�วแทนได� แต<จะต�องล�างทําความสะอาดให�สะอาดก<อนนําไปใช�ทุกครั้ง 2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวข�อง

2.7.1 เส�นใยพอลิเอสเทอร�

(polyester fiber)ในป?จจุบัน 46% ของปริมาณการใช�เส�นใยท่ัวโลกเปBนเส�นใยประดิษฐ�โดยท้ังหมดนี้เปBนพอลิเอสเทอร�ถึง 48% และนับเปBนเส�นใยประดิษฐ�ท่ีมีการผลิตมากท่ีสุดท้ังชนิดfilamentyarn(P/FY),pre-oriented yarn (P/POY) และ staple fiber (P/SF) โดยมีกําลังการผลิตแบ<งออกเปBนชนิด P/FY 102,000 ตันต<อป= ชนิด P/POY 182,140 ตันต<อป= ชนิด P/SF 410,200 ตันต<อป= รวมท้ังสิ้น 694,340 ตันต<อป= พอลิเอสเทอร�ท่ีผลิตในป?จจุบันมีเพียงสองชนิดใหญ<ๆ เท<านั้น คือ PET [poly(ethylene terephthalate)] และ PCDT [(poly(1,4 cyclohexylene-dimethylene terephthalate)] แต<ส<วนมากท่ีผลิตมักเปBนชนิด PET ในกระบวนการสังเคราะห� PET วัตถุดิบท่ีใช�เปBนผลพลอยได�จากอุตสาหกรรม เส�นใยพอลิเอสเทอร�เปBนเส�นใยพอลิเมอร�ท่ีได�จากกระบวนการแบบควบแน<น 2ข้ันตอน คือข้ันตอนแรกเกิดปฏิกิริยาการเตรียมเอสเตอร� (esterification) โดยใช�กรดเทเรฟทาลิก (terephalic acid) และ เอทธิลีนไกลคอล (ethylene glycol) เปBนสารต้ังต�น หรือการใช�ปฏิกิริยาการแลกเปลี่ยนหมู<เอสเตอร� (transesterification) โดยใช�ไดเมทิล เทเรฟทาเลท (dimethyl terephthalate) ร<วมกับเอทธิลีนไกลคอล ท่ีอุณหภูมิ 275-285 0C โดยผลิตภัณฑ�เปBนสารไดเอสเตอร� (di-ester) เม่ือผ<านเข�าสู<กระบวนการสังเคราะห�พอลิเมอร� จะได�พอลิเมอร�ท่ีมีลักษณะเปBนของเหลวท่ีหลอม

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 28

Page 39: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ตัวอยู< ไม<มีสีและใส จากนั้นทําให�แข็งตัวเปBนเส�น ตัดเปBนเม็ดและอบให�แห�งเพ่ือรอนําไปผลิตเส�นใยต<อไป กระบวนการพัฒนาเส�นใยพอลิเอสเทอร�จากขวดพลาสติกเพ็ตการผลิตเส�นใยจากขวดเพ็ตเปBนการนําของเหลือใช�จากการใช�งานแล�วมาใช�ให�เกิดประโยชน�สูงสุด เปBนอีกแนวทางหนึ่งในการลดการใช�พอลิเมอร�ใหม< (virgin PET) ในการผลิตเส�นใย แต<ท้ังนี้การใช�งานพอลิเอสเทอร�จากขวดเพ็ตจําเปBนต�องมีการคัดแยกขวดเพ็ตท่ีเหมาะสม ให�มีสิ่งสกปรกน�อยท่ีสุดด�วยเหตุท่ีการผลิตเส�นใยเปBนการผลิตท่ีมีความละเอียดสูง ความบริสุทธิ์ของพอลิเมอร�จึงเปBนสิ่งสําคัญอย<างยิ่ง เพ่ือให�ได�เส�นใยพอลิเอสเทอร�จากขวดเพ็ตท่ีมีคุณภาพเหมาะสมกับการใช�งานในอุตสาหกรรมสิ่งทอภาพวงจรชีวิตของขวดเพ็ต

การผลิตเม็ดพอลิเมอร�จากขวดเพ็ต เม่ือขวดเพ็ตผ<านการใช�งานของ

ผู�บริโภค ขวดเพ็ตจะนําไปผ<านการตัดย<อยให�เปBนเศษชิ้นเล็กๆ แล�วนามาหลอมเปBนเม็ดพอลิเอสเทอร�อีกครั้งหนึ่ง ในกระบวนการนี้เม็ดพอลิเมอร�ท่ีได�จะมีความสมํ่าเสมอมากข้ึนและสิ่งสกปรกท่ีปนเป��อนมาก็จะถูกกําจัดออกไปด�วยแล�วจึงนําเม็ดพอลิเมอร�มาหลอมข้ึนรูปเส�นใยต<อไป แต<สิ่งท่ีสําคัญคือความสมํ่าเสมอของพอลิเมอร�และการอบเพ่ือขับไล<ความชื้น โดยความชื้นท่ีมีอยู<ในเม็ดพอลิเอสเทอร�ไม<ควรเกินกว<า 100 ppm ซ่ึงจะมีผลอย<างมากต<อคุณภาพของเส�นใย Quenching Dried ChipExtruderSpin BlockGodetWindingการนําเม็ดพอลิเมอร�มาข้ึนรูปเส�นใย การข้ึนรูปเปBนเส�นใยนับเปBนส<วนท่ีสําคัญอย<างมากของกระบวนการผลิต เปBนการข้ึนรูปในลักษณะการอัดรีดของเหลวให�ผ<านรูในหัวรีด (spinneret) ข้ันตอนนี้เรียกกันว<าเปBนการทํา extrusion แต<ละรูทําให�เกิดเส�นใยแต<ละเส�นออกมาในการผลิตเส�นใยสังเคราะห�นี้ยังมีอีกข้ันตอนท่ีมีความสําคัญอย<างมาก คือ การดึงยืดเส�นใย(drawing) ซ่ึงมีผลทําให�โครงสร�างภายในของเส�นใยเกิดการเรียงตัวข้ึน(orientation) ซ่ึงจะมีผลโดยตรงต<อสมบัติเชิงกลและสมบัติทางกายภาพของเส�นใย ท�าให�เส�นใยมีความแข็งแรงและความยาวเพ่ิมข้ึน ขนาดของเส�นผ<านศูนย�กลางลดลงเส�นใยท่ีได�มีความละเอียดมากข้ึน และกระบวนการท่ีต�องผ<านความร�อนเพ่ือให�เส�นใยมีสมบัติท่ีคงสภาพในสภาวะการใช�งานต<างๆได�เปBนอย<างดี เรียกว<า การทํา heat treatment โดยท้ังข้ันตอนการดึงยืดและการผ<านความร�อน ป?จจุบันได�พัฒนาจนสามารถผลิตได�ในข้ันตอนเดียว โดยเส�นใยท่ีได�จะเปBนเส�นใยท่ีพร�อมใช�งาน โดยเรียกเส�นใยประเภทนี้ว<าเปBน FDY (fully draw yarn)ด�านการนําไปใช�งานนั้น นับได�ว<าไม<มีเส�นใยสังเคราะห�ชนิดใดท่ีสามารถแข<งขันกับพอลิเอสเทอร�ได�ด�วยสมบัติท่ีโดดเด<นท้ังในขณะแห�งและเป=ยก ขณะเป=ยกจะมีความสามารถในการคืนตัวได�สูง ไม<ยับ ไม<หดและดูแลรักษาง<าย อีกท้ังสามารถใช�ผสมกับเส�นใยชนิดอ่ืนได�เปBนอย<างดี พอลิเอสเทอร�สามารถใช�ท�าผ�าถักและผ�าทอได�เปBนเสื้อผ�าสวมใส<เพ่ือความสวยงาม เสื้อสูท กระโปรง ผ�าม<าน ผ�าตกแต<งเฟอร�นิเจอร� และป?จจุบันมีการนําพอลิเอสเทอร�มาท�าเปBนผ�าไม<ทอ (nonwoven) สําหรับทําพรมและใช�ในงานก<อสร�างอีกด�วยสมบัติเส�น

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 29

Page 40: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ใยท่ีได�จากขวดเพ็ตและการนําไปใช�งานจากเม็ดพอลิเอสเทอร�ท่ีนํามาจากขวดเพ็ตและนํามาผลิตเปBนเส�นใยด�วยเครื่องข้ึนรูปเส�นใยขนาดประลอง (Fourne’ modular melt spin tester) พบว<าเส�นใยมีสมบัติท่ีใกล�เคียงกับเส�นใยท่ีผลิตจากพอลิเมอร�ใหม< (virgin polyester) โดยมีการผลิตเปBนเส�นใยยาวต<อเนื่อง (Multifilament) 24 เส�น ขนาด 80 denier เส�นใยจากเม็ดขวดเพ็ตมีความแข็งแรงเท<ากับ 2.52 ถึง 3.37 gf/den ซ่ึงเปBนค<าความแข็งแรงท่ีสามารถนําไปใช�ประโยชน�ด�านเส�นใยสังเคราะห�ได�แต<อย<างไรก็ตามด�วยข�อจํากัดของประสิทธิภาพเครื่องข้ึนรูปเส�นใยขนาดประลอง สมบัติของเส�นใยท่ีได�ก็ยังคงไม<สูงมากนัก แต<ก็พบว<าพอลิเอสเทอร�จากขวดเพ็ตมีสมบัติท่ีเหมาะสมในการผลิตเส�นใยเพ่ืองานสิ่งทอได� งานวิจัยนี้เปBนการนําพอลิเอสเทอร�ท่ีได�จากการรีไซเคิลขวดน้ําด่ืมชนิดใสหรือขวดเพ็ตมาเปBนวัตถุดิบสําหรับใช�ผลิตเปBนเส�นใยและสิ่งทอ โดยมุ<งเน�นการปรับสภาวะท่ีเหมาะสําหรับการรีไซเคิลให�ได�เม็ดพลาสติกท่ีมีคุณภาพสูง เนื่องจาก PET เปBนพลาสติกท่ีสลายตัวได�ง<ายในกระบวนการรีไซเคิลท่ีมีท้ังความชื้นและความร�อนเปBนป?จจัยสําคัญ โดยมีเปxาหมายเพ่ือให�สามารถใช�เม็ดรีไซเคิลในการผลิตเส�นใยได�สูงสุด ถึง 100% เพ่ือลดการเติมเม็ดพลาสติกใหม<ในกระบวนการผลิต

โครงการ การพัฒนากระบวนการผลิตเส�นใยและสิ่งทอจากขวดรีไซเคิล คณะผู�วิจัย :นายนที ศรีสวัสด์ิมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ดร.ธนาวดี ลี้จากภัย ศูนย�เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห<งชาติ และคณะ

ท่ีมา ฝ�ายส<งเสริมเทคโนโลยี สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 30

Page 41: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

บทท่ี 3

วิธีการดําเนินงาน

การดําเนินงานโครงงานขวด PET รักษ�โลก ให�ตรงตามวัตถุประสงค� และความต�องการท่ีจะสํารวจ มีข้ันตอนดังนี้

3.1 วิธกีารศึกษา

การศึกษาโครงงานขวด PET รักษ�โลก ผู�ศึกษาได�ดําเนินการแบ<งเปBน 2 ส<วนดังนี้ 3.1.1 สํารวจข�อมูลเก่ียวกับความคิดเห็นของประชากรท่ีมีต<อขวด PET 3.1.2 จัดทําสื่อชนิด วีดิทัศน� จากการเก็บข�อมูลโดยบันทึกภาพการสัมภาษณ�แบบตัวต<อตัว

กับผู�ให�สัมภาษณ� เพ่ือเผยแพร<ผลสํารวจ และให�ข�อมูลองค�ความรู�เก่ียวกับขวด PET เพ่ือ รณรงค�ให�ประชาชนเห็นถึงประโยชน�ของขวด PET

3.2 การกําหนดประชากรและการเลือกผู�ให�ข�อมูล

3.2.1 ประชากร และกลุ<มตัวอย<าง

ประชากรท่ีใช�ในการสํารวจ คือ นักศึกษาและบุคลท่ัวไปภายในสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง จํานวน 50 คน

3.3.2 กลุ<มตัวอย<าง

กลุ<มตัวอย<างท่ีใช�ในการ ให�สัมภาษณ�ถึงเจตคติและความรู�ความเข�าใจเก่ียวกับขวด PET คือ นักศึกษา และบุคคลท่ัวไปภายในสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบังจํานวน 10 คน

3.3 การเก็บรวบรวมข�อมลู

ผู�ศึกษาเก็บรวมรวมข�อมูล โดยการแจกแบบสอบถามและการสัมภาษณ�ดังนี้ดังนี้

3.3.1 ถ�าประชาชนไม<สะดวกในการกรอกแบบสอบถามด�วยตัวเอง จะใช�การสัมภาษณ�ตาม แนวแบบสอบถามท่ีผู�ศึกษาสร�างข้ึน

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 31

Page 42: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

3.3.2 ถ�าประชาชนสะดวกท่ีจะตอบแบบสอบถามด�วยตนเอง จะให�ผู�นั้นกรอกแบบสอบถามเอง และผู�ศึกษาจะเปBนผู�ตรวจมานว<าตอบได�ครบถ�วนหรือไม< ถ�าไม<ครบถ�วนผู�ศึกษาจะซักถามเพ่ิมเติมเพ่ือความสมบูรณ�ของข�อมูล

3.3.3 ในการสัมภาษณ�ผู�ศึกษาได�เลือกบุคคลท่ีมีความหลากหลายในอาชีพและได�มีการ ขออนุญาตสัมภาษณ�ก<อนการสําภาษณ�จริง

3.4 การจัดกระทําและวิเคราะห�ข�อมูล

ผู�ศึกษาได�ทําการวิเคราะห�ข�อมูล ให�ได�มาซ่ึงข�อสรุปถึงความรู�ความเข�าใจและเจตคติของประชาชนท่ีมีต<อขวด PET โดยทําการวิเคราะห�ข�อมูลดังนี้

แบบสอบถามข�อมูลจากกลุ<มตัวอย<างเพ่ือทําการวิเคราะห�ข�อมูลท่ีมีค<ามากท่ีสุด (Rating Scale) โดยกําหนดน้ําหนักแบบสอบถามประมาณค<า 5 ระดับคือ

5 หมายถึง ระดับความคิดเห็นมากท่ีสุด

4 หมายถึง ระดับความคิดเห็นมาก

3 หมายถึง ระดับความคิดเห็นปานกลาง

2 หมายถึง ระดับความคิดเห็นน�อย

1 หมายถึง ระดับความคิดเห็นน�อยท่ีสุด

นําข�อมูลท่ีได�ทําการหาค<าเฉลี่ย และ วิเคราะห�เปBนรายข�อเฉพาะด�านโดยนําเสนอในรูปแบบของร�อยละของจํานวนประชากรท่ีทําการสํารวจ

ในภาคของสื่อวีดีทัศน� ได�ทําการวิเคราะห�เนื้อหาและสรุปข�อมูลและนําข�อมูลจากการสัมภาษณ�แบบตัวต<อตัวมานําเสนอในรูปแบบสื่อวีดีทัศน� เพ่ือทําการเผยแพร<ต<อไป

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 32

Page 43: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

บทท่ี 4

ผลการสํารวจความคิดเห็นของประชากรต#อโครงงานขวด PET รักษ�โลก

4.1 ประชากรและกลุ#มตัวอย#าง

4.1.1 บุคลากรและนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

4.1.2 พนักงานบริษัท

4.1.3 ข�าราชการ

4.1.4 อ่ืนๆ

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 33

Page 44: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

4.2 แบบสํารวจความคิดเห็นของประชากรต#อโครงงาน

แบบสํารวจความคิดเห็นของประชากรต#อโครงงานขวด

เพศ ชาย

อาชีพ ข�าราชการ

นักเรียนนักศึกษา

ขวดชนิดใดท่ีท#านรู�จักหรือเคยใช�ในชีวิตประจําวัน

ขวดพลาสติกใส(PET)

คําช้ีแจงให�ผู�ทําแบบสํารวจกาเครื่องหมาย

ข�อเสนอแนะ.............................................................................................................................................................................................................................

ความคิดเห็น

ท<านรู�จักและมีความรู�เก่ียวกับ ขวด

ท<านทราบถึงประโยชน�ของขวด ท<านรู�จักวิธีการ รีไซเคิล ขวด ท<าได�รับข<าวสาร ประชาสัมพันธ� โฆษณา หรือ การรณรงค�ในเรื่องราวของขวด

แบบสํารวจความคิดเห็นของประชากรต#อโครงงาน

แบบสํารวจความคิดเห็นของประชากรต#อโครงงานขวด PET รักษ�โลก

หญิง

ข�าราชการ พนักงานบริษัท

นักเรียนนักศึกษา อ่ืนๆ ระบุ............................................

ขวดชนิดใดท่ีท#านรู�จักหรือเคยใช�ในชีวิตประจําวัน

ขวดพลาสติกขุ<น(PE) ขวดแก�ว อ่ืนๆ ระบุ

คําช้ีแจงให�ผู�ทําแบบสํารวจกาเครื่องหมาย √ ลงในช#องท่ีตรงกับความเป.นจริงมากท่ีสุด

.............................................................................................................................

................................................................................................................................................................

ความคิดเห็น

มากท่ีสุด

มาก

ปานกลาง

ท<านรู�จักและมีความรู�เก่ียวกับ ขวด PET

ท<านทราบถึงประโยชน�ของขวด PET

ท<านรู�จักวิธีการ รีไซเคิล ขวด PET

ท<าได�รับข<าวสาร ประชาสัมพันธ� โฆษณา หรือ การรณรงค�ในเรื่องราวของขวด PET

ขวด PET รักษ�โลก

รักษ�โลก

............................................

ขวดแก�ว อ่ืนๆ ระบุ..............................

ลงในช#องท่ีตรงกับความเป.นจริงมากท่ีสุด

................................................................................................................................................................................................................................

ปานกลาง

น�อย

น�อยท่ีสุด

รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 34

Page 45: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

4.3 ผลการสํารวจ

4.3.1 ผู�ทําแบบสํารวจเปBน บุคลากรและนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณ ทหารลาดกระบัง 4.3.1.1 เปBนนักศึกษาและบุคลากรชาย 42% 4.3.1.2 เปBนนักศึกษาและบุคลากรหญิง 58%

4.3.2 ผู�ทําแบบสํารวจรู�จักและใช�ขวด PET (ขวดพลาสติกใส) ในชีวิตประจําวัน 94%

4.3.3 ผู�ทําแบบสํารวจรู�จักและใช�ขวด PE (ขวดพลาสติกขุ<น) ในชีวิตประจําวัน 44%

4.3.4 ผู�ทําแบบสํารวจรู�จักและใช�ขวดแก�ว ในชีวิตประจําวัน 50%

4.3.5 ผู�ทําแบบสํารวจรู�จักและมีความรู�เก่ียวกับขวด PET มากท่ีสุด 12%

4.3.6 ผู�ทําแบบสํารวจรู�จักและมีความรู�เก่ียวกับขวด PET มาก 34%

4.3.7 ผู�ทําแบบสํารวจรู�จักและมีความรู�เก่ียวกับขวด PET ปานกลาง 44%

4.3.8 ผู�ทําแบบสํารวจรู�จักและมีความรู�เก่ียวกับขวด PET น�อย 8%

4.3.9 ผู�ทําแบบสํารวจรู�จักและมีความรู�เก่ียวกับขวด PET น�อยท่ีสุด 2%

4.3.10 ผู�ทําแบบสํารวจทราบถึงประโยชน�ขวด PET มากท่ีสุด 10%

4.3.11 ผู�ทําแบบสํารวจทราบถึงประโยชน�ขวด PET มาก 26%

4.3.12 ผู�ทําแบบสํารวจทราบถึงประโยชน�ขวด PET ปานกลาง 48%

4.3.13 ผู�ทําแบบสํารวจทราบถึงประโยชน�ขวด PET น�อย 12%

4.3.14 ผู�ทําแบบสํารวจทราบถึงประโยชน�ขวด PET น�อยท่ีสุด 4%

4.3.15 ผู�ทําแบบสํารวจรู�จักวิธีการรีไซเคิลขวด PET มากท่ีสุด 2%

4.3.16 ผู�ทําแบบสํารวจรู�จักวิธีการรีไซเคิลขวด PET มาก 32%

4.3.17 ผู�ทําแบบสํารวจรู�จักวิธีการรีไซเคิลขวด PET ปานกลาง 42%

4.3.18 ผู�ทําแบบสํารวจรู�จักวิธีการรีไซเคิลขวด PET น�อย 22%

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 35

Page 46: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

4.3.19 ผู�ทําแบบสํารวจรู�จักวิธีการรีไซเคิลขวด PET น�อยท่ีสุด 2%

4.3.20 ผู�ทําแบบสํารวจได�รับข<าวสาร ประชาสัมพันธ� โฆษณา หรือการรณรงค�ในเรื่องราวของขวด PET มากท่ีสุด 10%

4.3.21 ผู�ทําแบบสํารวจได�รับข<าวสาร ประชาสัมพันธ� โฆษณา หรือการรณรงค�ในเรื่องราวของขวด PET มาก 16%

4.3.22 ผู�ทําแบบสํารวจได�รับข<าวสาร ประชาสัมพันธ� โฆษณา หรือการรณรงค�ในเรื่องราวของขวด PET ปานกลาง 36%

4.3.23 ผู�ทําแบบสํารวจได�รับข<าวสาร ประชาสัมพันธ� โฆษณา หรือการรณรงค�ในเรื่องราวของขวด PET น�อย 26%

4.3.24 ผู�ทําแบบสํารวจได�รับข<าวสาร ประชาสัมพันธ� โฆษณา หรือการรณรงค�ในเรื่องราวของขวด PET น�อยท่ีสุด 12%

4.4 สรุปผลการสํารวจ

จากการสํารวจความคิดเห็นของประชากรต<อโครงงานขวด PET รักษ�โลก จากประชากรในเขตพ้ืนท่ี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง 50 คน พบว<า ประชากรส<วนใหญ<จํานวนร�อยละ 94 ใช�ขวด PET (พลาสติกใส) ในชีวิตประจําวันมากกว<าขวด PE (พลาสติกขุ<น) และขวดแก�วซ่ึงผู�ทําแบบสํารวจรู�จักและใช�ในชีวิตประจําวันร�อยละ 44 และร�อยละ 50 ตามลําดับ และเม่ือได�ทําการสํารวจข�อมูลเก่ียวกับขวด PET (พลาสติกใส) พบว<า ประชากรส<วนใหญ<

- รู�จักและมีความรู�เรื่องขวด PET เพียงร�อยละ 44 - ทราบถึงประโยชน�ของขวด PET เพียงร�อยละ 48 - รู�จักวิธีการรีไซเคิลขวด PET เพียงร�อยละ 42 - ได�รับข<าวสาร ประชาสัมพันธ� โฆษณา หรือการรณรงค�

ในเรื่องราวของขวด PET เพียงร�อยละ 36 จากข�อมูลเบ้ืองต�น ทําให�ทราบว<า ในขณะท่ีประชากรส<วนใหญ<ใช�ขวด PET ในชีวิตประจําวัน

แต<รู�ข�อมูล ประโยชน� การรีไซเคิล หรือการรณรงค� ไม<ถึงร�อยละ 50 ของจํานวนประชากรท่ีสํารวจท้ังหมด

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 36

Page 47: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

บทท่ี 5

ปZญหาและข�อเสนอแนะ

5.1 ปZญหา

5.1.1 ในขณะท่ีทําการสัมภาษณ� หลายๆ ท<านเก่ียวกับ ขวด PET ในบางครั้งก็ได�รับความร<วมมือ แต<ในบางครั้งก็ไม<ได�รับความร<วมมือจากผู�ถูกสัมภาษณ�

5.1.2 ในการแจกแบบสอบถาม ในบางครั้งอาจถูกปฏิเสธจากผู�ทําแบบสอบถามบ�าง 5.1.3 คนส<วนใหญ< จะไม<รู�จักขวด PET แต<ถ�าเราบอกว<าขวดน้ําพลาสติกใส เขาจะรู�จัก

ทันที และเขายังไม<รู�จักการรีไซเคิลท่ีถูกวิธีเท<าท่ีควร 5.1.4 ป?จจุบันสื่อท่ีให�ความรู�เก่ียวกับความเปBนมาของขวด PET และการรีไซเคิล ยังมีไม<

มากเท<าท่ีควร จึงทําให�คนหลายๆคนยังไม<รู�จักขวดน้ําพลาสติกใสอย<างแท�จริงเลย

5.2 ข�อเสนอแนะ

5.2.1 ควรมีการให�ความรู�โดยทําเปBนสื่อมากข้ึน เพ่ือให�ผู�คนได�เข�าถึงอย<างง<ายดาย เพ่ือให�ผู�คนได�รับรู�รับทราบถึงการรีไซเคิล และประโยชน�อย<างคุ�มค<า

5.2.2 ควรปลูกฝ?งจิตสํานึกเรื่องการรักษ�โลกให�มากข้ึน เพ่ือสิ่งแวดล�อมท่ีดีมีคุณภาพต<อไป 5.2.3 โครงงานนี้ควรได�รับการต<อยอดเพ่ือเปBนประโยชน�แก<สังคมต<อไป

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 37

Page 48: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

บรรณานุกรม

https://th.wikipedia.org/wiki/พลาสติก

https://th.wikipedia.org/wiki/พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต

http://www.pantown.com/board.php?id=13179&area=1&name=board1&topic=680&action=view

http://vcharkarn.com/varticle/38232

http://www.nakhamwit.ac.th/pingpong_web/Polymer.htm

http://kanchanapisek.or.th/kp11/articles/article-2.th.html

http://www.dmsc.moph.go.th/webroot/BQSF/File/VARITY/recycle_plastic.htm

ขวด PET รักษ�โลก...นวัตกรรมการผลิตเส�นใยรีไซเคิล หน�า 38

Page 49: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ภาคผนวก

Page 50: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ประวัติย#อผู�ศึกษา

ชื่อ-สกุล นางสาว ชฎาพร ขาวล้ําเลิศ รหัสนักศึกษา 55010215

วัน เดือน ป= เกิด 19 ธันวาคม พ.สถานท่ีเกิด โรงพยาบาลเวชการุณรัศม์ิ จท่ีอยู<ป?จจุบัน 7/1 ม.9 แขวงคลองสิบสอง เขตหนองจอก จการศึกษา นักศึกษาชั้นป=ท่ี 1 คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

ชื่อ-สกุล นางสาว นันท�นภัส หลิ่มน�อยรหัสนักศึกษา 55010652 วัน เดือน ป= เกิด 22 พฤศจิกายน พสถานท่ีเกิด โรงพยาบาลลพบุรี จ.ท่ีอยู<ป?จจุบัน 399/78 หมู<บ�านราชพฤกษ� ถ.ฉลองกรุง เขตลาดกระบัง จ.กรุงเทพฯ การศึกษา นักศึกษาชั้นป=ท่ี 1 คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหา

สกุล นางสาว ชฎาพร ขาวล้ําเลิศ

.ศ. 2536 ณรัศม์ิ จ.กรุงเทพฯ

แขวงคลองสิบสอง เขตหนองจอก จ.กรุงเทพฯ

คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

สกุล นางสาว นันท�นภัส หลิ่มน�อย

พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 .ลพบุรี

หมู<บ�านราชพฤกษ� กรุงเทพฯ 10520

คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี บันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

Page 51: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ชื่อ-สกุล นางสาว เพ็ญนภา ละอองนวล รหัสนักศึกษา 55010893

วัน เดือน ป= เกิด 20 พฤษภาคม พสถานท่ีเกิด โรงพยาบาลอู<ทอง จ.ท่ีอยู<ป?จจุบัน 78 ม.14 ต.หนองปลาไหล อ.หนองปรือ จ.กาญจนบุรี 71220การศึกษา นักศึกษาชั้นป=ท่ี 1 คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

ชื่อ-สกุล นางสาว ฟาริดา ห�อไทยสงค�รหัสนักศึกษา 55010902 วัน เดือน ป= เกิด 6 พฤศจิกายน พสถานท่ีเกิด โรงพยาบาลเพชรบูรณ� จท่ีอยู<ป?จจุบัน 64 หมู< 11 ต.วัฒนานคร อ.วัฒนานคร จ.สระแก�ว 27160 การศึกษา นักศึกษาชั้นป=ท่ี 1 คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

สกุล นางสาว เพ็ญนภา ละอองนวล

พฤษภาคม พ.ศ. 2537 .สุพรรณบุรี

หนองปลาไหล 71220

คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

สกุล นางสาว ฟาริดา ห�อไทยสงค�

พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 สถานท่ีเกิด โรงพยาบาลเพชรบูรณ� จ.เพชรบูรณ�

วัฒนานคร

คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

Page 52: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ชื่อ-สกุล นางสาว ภัครัมภา เมืองลอยรหัสนักศึกษา 55010916 วัน เดือน ป= เกิด 7 ธันวาคม พ.ศ.สถานท่ีเกิด โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ� จ.ประจวบคีรีขันธ� ท่ีอยู<ป?จจุบัน 246/1 ต.ประจวบ อ.เมือง จ.ประจวบคีรีขันธ� 77000การศึกษา นักศึกษาชั้นป=ท่ี 1 คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

ชื่อ-สกุล นาย ราชัญ อนันเอ้ือ รหัสนักศึกษา 55011047 วัน เดือน ป= เกิด 19 มกราคม พ.ศสถานท่ีเกิด โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ� จท่ีอยู<ป?จจุบัน 182 ม.8 ต.นาม<วง อ.ประจักษ�ศิลปาคม จ.อุดรธานี 41110การศึกษา นักศึกษาชั้นป=ท่ี 1 คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

สกุล นางสาว ภัครัมภา เมืองลอย

. 2536 สถานท่ีเกิด โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ�

77000

คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

ศ. 2537 สถานท่ีเกิด โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ� จ.กรุงเทพฯ

นาม<วง 41110

คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี กล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

Page 53: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ชื่อ-สกุล นางสาว วโรชา จาํปา รหัสนักศึกษา 5501111 วัน เดือน ป= เกิด 6 ตุลาคม พ.ศ.สถานท่ีเกิด โรงพยาบาลชลประทานปากเกร็ด จ.นนทบุรี ท่ีอยู<ป?จจุบัน 123/4 ซ.มณีรัตน�4 อ.เมือง จ.ปทุมธานี การศึกษา นักศึกษาชั้นป=ท่ี 1 คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

ชื่อ-สกุล นาย ศิรวัฒน� บุญผาย รหัสนักศึกษา 55011203 วัน เดือน ป= เกิด 23 กรกฎาคม พสถานท่ีเกิด โรงพยาบาลสระบุรี จ.ท่ีอยู<ป?จจุบัน 713/1 ม.11 ต.สูงเนิน อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา 30170 การศึกษา นักศึกษาชั้นป=ท่ี 1 คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

. 2535 สถานท่ีเกิด โรงพยาบาลชลประทานปากเกร็ด

ต.บางขะแยง

คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

พ.ศ. 2536 .สระบุรี

สูงเนิน

คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

Page 54: ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106

ชื่อ-สกุล นาย สกรรณ� ปรดีาวิจิตรกุลรหัสนักศึกษา 55011258 วัน เดือน ป= เกิด 25 เมษายน พ.ศสถานท่ีเกิด โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช จท่ีอยู<ป?จจุบัน 4 ถ.พัฒนาชนบท2 เขตลาดกระบัง จ.กรุงเทพฯ 10520การศึกษา นักศึกษาชั้นป=ท่ี 1 คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

ชื่อ-สกุล นาย สรวชิญ� เตชะธาดามิตร� รหัสนักศึกษา 55011274

วัน เดือน ป= เกิด 13 มกราคม พ.ศสถานท่ีเกิด โรงพยาบาลสินแพทย� จท่ีอยู<ป?จจุบัน 99/43 หมู<บ�านปาริชาต ซ.คุ�มเกล�า11 เขตลาดกระบัง จ.กรุงเทพฯการศึกษา นักศึกษาชั้นป=ท่ี 1 คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณ

สกุล นาย สกรรณ� ปรดีาวิจิตรกุล

ศ. 2537 สถานท่ีเกิด โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช จ.กรุงเทพฯ

แขวงคลองสองตันนุ<น 10520

คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง

สกุล นาย สรวชิญ� เตชะธาดามิตร�

ศ. 2537 สถานท่ีเกิด โรงพยาบาลสินแพทย� จ.กรุงเทพฯ

หมู<บ�านปาริชาต กรุงเทพฯ 10520

คณะวิศวกรรมศาสตร� สาขาวิศวกรรมเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล�าเจ�าคุณทหารลาดกระบัง