( infilltration of soils on various landuses in thadi

25
การซึมนําผานผิวดินในพื้นที่ที่มีการใชประโยชนที่ดิน แบบตางๆ ในพื้นที่ลุมนําทาดี จังหวัดนครศรีธรรมราช ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi watershed, Nakhon Si Thammarat ) โดย พงศธร บรรณโศภิษฐ อาจิน หนูประสิทธิกลุมลุมนํสวนวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมปาไม สํ านักวิชาการปาไม กรมปาไม .. 2544

Upload: others

Post on 26-Dec-2021

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

การซึมนํ้ าผานผิวดินในพื้นที่ที่มีการใชประโยชนที่ดินแบบตางๆ ในพื้นที่ลุมนํ้ าทาดี จังหวัดนครศรีธรรมราช

( Infilltration of soils on various landuses in Thadi watershed,Nakhon Si Thammarat )

โดย

พงศธร บรรณโศภิษฐอาจิน หนูประสิทธิ์

กลุมลุมนํ้ า สวนวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมปาไมสํ านักวิชาการปาไม กรมปาไม

พ.ศ. 2544

Page 2: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

2บทคัดยอ

การศึกษาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินในพ้ืนที่ใชประโยชนแบบตางๆ 6 ประเภท อันไดแก พ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด พ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียนเปนไมเดน พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดน พ้ืนที่สวนยางพารา และ พ้ืนที่ปาธรรมชาติ ในพ้ืนที่ลุมนํ้ าทาดี จังหวัดนครศรีธรรมราช ระหวางเดือนเมษายน 2539 – กันยายน 2540 พบวา

อัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินระยะเริ่มแรก หรือ ณ จุดเริ่มตนของการใหนํ้ า ( Initial infiltration, fo )ในรอบปของพ้ืนที่มีคาโดยเฉลี่ย 118.14 ซม./ชม. ในขณะที่แตละพ้ืนที่การใชประโยชนจะมีคาอยู ระหวาง6 - 44 ซม./ชม.ในพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด 30 - 92 ซม./ชม. ในพ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด 37 - 403 ซม./ชม. ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียนเปนไมเดน13 - 75 ซม./ชม. ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดน 89 - 537 ซม./ชม. ในพ้ืนที่สวนยางพาราและ 10 - 509 ซม./ชม. ในพ้ืนที่ปาธรรมชาติ โดยมีคาเฉล่ียแตละพ้ืนที่ใชประโยชนเปน 23.76, 68.06, 149.07,37.16, 276.02 และ 154.79 ซม./ชม. ตามลํ าดับ

คาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินคงที่ (Infiltration at constant rate, fc) ในรอบปของพ้ืนที่มี่คาเฉล่ียเทากับ39.33 ซม./ชม. ในขณะที่แตละพ้ืนที่การใชประโยชนจะมีคาเปน 9.27 ซม./ชม. ในพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด 52.19 ซม./ชม.ในพ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด 29.66 ซม./ชม.ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียนเปนไมเดน 14.83 ซม./ชม.ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดน49.17 ซม./ชม. ในพ้ืนที่สวนยางพารา และ 80.84 ซม./ชม. ในพ้ืนที่ปาธรรมชาติ จะเห็นไดวาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินคงที่นั้นพ้ืนที่ปาธรรมชาติจะใหคามากที่สุด รองลงมาไดแก พ้ืนที่ตัดไมเดิมออกแลวปลูกไมผลหลายชนิด พ้ืนที่สวนยางพารา พ้ืนที่สวนผลไมมีทุเรียนเปนไมเดน พ้ืนที่สวนผลไมมีหมากเปนไมเดน และนอยที่สุดในพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด

ลักษณะการลดลงของอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดิน (k) สํ าหรับพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด พ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียนเปนไมเดนพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดน พ้ืนที่สวนยางพารา และพ้ืนที่ปาธรรมชาติ มีคา เทากับ –0.12 ,-0.33 , -0.52 , -0.28 , -1.08 และ -0.55 ตามลํ าดับ

สํ าหรับ สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินของแตละพ้ืนที่การใชประโยชน จะเปนดังนี้

พ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด ft = 9.27 + 14.49 e-0.12t

พ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด ft = 52.19 + 15.87 e-0.33t

พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิด ที่มีทุเรียนเปนไมเดน ft = 29.66 + 119.41 e-0.52t

พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิด ที่มีหมากเปนไมเดน ft = 14.83 + 22.33 e-0.28t

พ้ืนที่สวนยางพารา ft = 49.17 + 226.85 e-1.08t

พ้ืนที่ปาธรรมชาติ ft = 80.84 + 73.95 e-0.55t

Page 3: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

3Abstract

The study on “Capability of Soil Infiltration on Different Types of Landuse” was carried out inThadi watershed, Nakhon Sri Thammarat during April 1996 to September 1997. The results found that:

The initial infiltration rate of the area was averaged 161.98 cm/hr and the constant rate of 39.53cm/hr. For each landuse, namely pomology planting under big tree, cut-fruit garden and pomologyplanting, multiple cropping with dominated durian planting, multiple cropping with dominated palm nutplanting, rubber plantation and natural forest, the initial rates were 23.76, 331.09, 149.07, 37.16, 276.02and 154.79 cm/hr respectively while the constant rates were 9.27, 53.41, 29.66, 14.83, 49.17 and 80.84cm/hr respectively;

The declination of infiltration rate or k value in the cut-fruit garden and pomology planting areagave the better value, -1.31 ,than others which were –1.08 rubber plantation, -0.55 for natural forest ,-0.52 for multiple cropping with dominated durian planting, -0.28 for multiple cropping with dominatedpalm nut planting and -0.12 for pomology planting under big tree.

The experiments had also found the proper equations for each landuse in order to apply moreaccurate determination of infiltration capability over Thadi watershed Area. The infiltration equations wereas following:

Pomology planting under big tree ft = 9.27 + 14.49 e-0.12tCut-fruit garden and pomology planting ft = 53.41 + 277.68 e-1.31tMultiple cropping with dominated durian planting ft = 29.66 + 119.41 e-0.52tMultiple cropping with dominated palm nut planting ft = 14.83 + 22.33 e-0.28t

Rubber plantation ft = 49.17 + 226.85 e-1.08t

Natural forest ft = 80.84 + 73.95 e-0.55t

Page 4: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

4คํ านํ า

ลุมนํ้ าทาดี ทองที่บานคีรีวง อํ าเภอลานสกา เปนพ้ืนที่ตนนํ้ าที่สํ าคัญย่ิงของจังหวัดนครศรีธรรมราชซึ่งเปนแหลงใหนํ้ ามาหลอเล้ียงประชากรในตัวเมืองนครศรีธรรมราช และพ้ืนที่รอบนอก ในชวงหลายปที่ผานมาพ้ืนที่ไดถูกบุกรุกทํ าลาย และเขาไปยึดถือครอบครองใชประโยชนอยางกวางขวาง กระจายทั่วไปในพื้นที่ลุมนํ้ าทั้งนี้เปนเพราะ การเพิ่มขึ้นของประชากรอยางรวดเร็ว ความตองการที่ทํ ากินมีมากขึ้น จึงเปนเรื่องหลีกเล่ียงไมไดที่ราษฎรจะเขาไปบุกรุกพ้ืนที่ปา จนกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศน สรางความเสียหายแกพ้ืนที่ปาตนนํ้ าลํ าธารเปนจํ านวนมาก หลายครั้งที่เหตุของความหายนะ ซึ่งเกิดจากการทํ าลายพื้นที่ปาของมนุษยยอนกลับมาทํ าลายชีวิต และทรัพยสินของมนุษยเอง ในรูปของภัยธรรมชาติ โดยเฉพาะการเกิดอุทกภัย และแผนดินถลม

แมวา การใชประโยชนพ้ืนที่ในบริเวณลุมนํ้ าทาดีสวนใหญ จะเปนการปลูกไมยืนตน ซึ่งเปนไมผลในลักษณะของสวนผสมปะปนกันไป หลายชนิด หลายขนาด ซึ่งโดยภาพรวมแลวเปนที่ยอมรับกันวา ใหผลในเชิงอนุรักษดินและนํ้ า ตลอดจนรักษาระบบนิเวศนของสิ่งมีชีวิต ดีกวาการปลูกพืชแบบชนิดเดียว แตก็มิอาจเปรียบเทียบไดกับระบบของปาธรรมชาติดั้งเดิม ซึ่งไดถูกทํ าลายไปมากแลว ดังนั้นส่ิงที่ทํ าไดก็คือ การพยายามศึกษาถึงประสิทธิภาพในเชิงอนุรักษ ของระบบพืชผสมแบบที่เปนอยู เพ่ือหารูปแบบที่มีประสิทธิภาพสูงสุด และนํ าไปสงเสริมใหเกษตรกรปฏิบัติกันมากขึ้น รวมท้ังหาแนวทางในการพัฒนาระบบใหคงประสิทธิภาพใกลเคียงกับปาธรรมชาติมากที่สุด สํ าหรับในการศึกษาครั้งนี้ จึงมีวัตถุประสงค (1) เพ่ือเปรียบเทียบความแตกตางของอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดิน ภายใตการใชประโยชนที่ดินแบบตางๆ (2) เพ่ือนํ าผลที่ไดใชเปนแนวทางในการวางแผน การใชประโยชนที่ดิน ที่เหมาะสมตอไป

Page 5: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

5การตรวจเอกสาร

การเคลื่อนที่ของนํ้ าจากภายนอกผิวดินเขาไปในผิวดิน เรียกวา การแทรกซึม (infiltration) และการเคล่ือนที่ของนํ้ าตามแนวดิ่ง ลึกลงไปในหนาดิน หลังจากที่ไดผานผิวดินแลว เรียกวาการซาบซึม (percolation)และปริมาณนํ้ าที่แทรกซึมเขาไปในผิวดิน ตอหนึ่งหนวยเวลา ตอหนึ่งหนวยพ้ืนที่ของผิวดิน เรียกวา อัตราการแทรกซึม (infiltration rate) อัตราการแทรกซึมนี้จะผันแปรกับระยะเวลา ภายในชวงที่ผิวดินไดรับนํ้ า ซึ่งโดยปกติจะสูงที่สุดเมื่อผิวดินไดรับนํ้ าตอนแรก และจะลดลงในอัตราที่นอยลงโดยลํ าดับเมื่อเวลาผานไป จนนอยที่สุดและคงที่ในที่สุด (คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา,2536)

การศึกษาการแทรกซึม หรือการซึมนํ้ าของดิน มีความสํ าคัญอยางมากในเรื่องของการจัดการลุมนํ้ าเพราะเปนวิธีหนึ่งที่ทํ าใหทราบถึงปรากฏการของผิวดินที่จะทํ าใหนํ้ าซึมผาน โดยปกติลักษณะของฝนที่ตกในทองที่ใดทองที่หนึ่ง มักมีลักษณะคลายคลึงกันทุกป ลักษณะของพื้นที่ก็เชนเดียวกัน จะไมมีการเปล่ียนแปลงมากนัก ดังนั้นการทํ าใหพ้ืนที่มีโอกาสใหนํ้ าซึมผานไดมากขึ้นจะเปนการลดความเสียหายจากการเกิดนํ้ าไหลบาผิวดิน หรืออุทกภัย และการพังทลายของดินไปดวย (ปรีชา,2517)

ปจจัยที่มีผลตอการซึมนํ้ าผานผิวดิน ไดแก สมบัติของดินบริเวณผิวดิน ซึ่งรวมถึงอินทรียวัตถุที่ผิวดินลักษณะชั้นหนาตัดของดิน และลักษณะภูมิประเทศ อันไดแก ระดับความสูงจากนํ้ าทะเล (เกษมและนิพนธ, 2517)ลักษณะความพรุนหรือชองวางภายในดิน (Miller and Gardner,1962) ปริมาณความชื้นในดิน พืชคลุมดินส่ิงมีชีวิตและจุลินทรียในดิน ซึ่งจะมีผลตอความแนนทึบของผิวดินและการเปล่ียนโครงสรางขนาดของดิน อุณหภูมิของอากาศในดินซึ่งจะเกี่ยวของกับฤดูกาลในรอบป (วิชา , 2526) ปริมาณอากาศที่ถูกกักขังในดิน รวมท้ังขนาดและความหนาแนนของหยดนํ้ าฝน ตลอดจนปจจัยทั้งหลายที่มีอิทธิพลตอทั้งดินและนํ้ า (เกษม, 2539)

เกษมและจรินทร (2519) ทดลองหาสมรรถนะการซึมนํ้ าผานผิวดินของปาดิบเขาธรรมชาติ ลุมนํ้ าหวยคอกมา จังหวัดเชียงใหม พบวาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินระยะเริ่มแรกในฤดูรอน (เมษายน-พฤษภาคม) มีคาโดยเฉล่ียประมาณ 1,112 มม./ชม. และถาความชื้นของดินเพ่ิมขึ้น 30 เปอรเซ็นต คาอัตราการซึมนํ้ าเริ่มแรกของการซึมนํ้ าจะลดลงประมาณครึ่งหนึ่ง คาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินคงที่โดยเฉลี่ยประมาณ 280 มม./ชม. และลักษณะการลดลงของอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดิน (k) จะมีความ ผันแปรตามสภาพความชื้นในดิน กลาวคือ ถาดินแหงจะมีคาเปน -1.08 ดินชื้นจะมีคาเทากับ -2.29 และดินเปยกจะมีคาเปน -5.00

พงษศักดิ์ และสมาน (2525) ศึกษาอัตราการซึมนํ้ าของดินภายใตการใชประโยชนที่ดิน ชนิดตางๆอันไดแก สวนเงาะ สวนทุเรียน สวนยางพารา และไรมันสํ าปะหลังในจังหวัดระยองตอนใต พบวาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินคงที่ (Infiltration at constant rate) ซึ่งเปนการซึมนํ้ าของดินในขณะที่ดินอิ่มตัวไปดวยนํ้ าของแตละพ้ืนที่การใชประโยชนมีคาอยูในระหวาง 200-600 มม./ชม. โดยมีคาเฉล่ียประมาณ 390 มม./ชม. และอัตราการซึมนํ้ าสูงสุดของดิน (Initial infiltration rate) เปน 888.93, 813.46, 859.36 และ 478.99 มม./ชม. ตามลํ าดับสวนคาของการลดลงของอัตราการซึมนํ้ า (k) เทากับ -0.44, -0.38, -0.35 และ -0.15 ตามลํ าดับ

ชลาธรและคณะ (2525) ศึกษา อัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินในปาดิบแลงที่สถานีวิจัยเพ่ือรักษาตนนํ้ าลํ าตะคอง จังหวัดนครราชสีมา ที่ระดับความสูงจากระดับนํ้ าทะเล 500, 600 และ 700 เมตร (ความลาดชันของพ้ืนที่ 30, 50 และ 60 เปอรเซ็นต ตามลํ าดับ) สองฝงลํ าหวยฟาผา พบวา อัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินขณะเริ่มตนฝงซายของลํ าหวยเทากับ 743, 778 และ 465 ซม./ชม. และฝงขวาของลํ าหวยเทากับ 1,120, 825, และ 770ซม./ชม. ตามลํ าดับ สวนอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินคงที่ฝงซายของลํ าหวยมีคาเทากับ 300, 230 และ 200ซม./ชม. และฝงขวาของลํ าหวยเทากับ 550, 390, และ 250 ซม./ชม. ตามลํ าดับ

Page 6: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

6จารุชาติและวารินทร ( 2540 ) ศึกษาในพื้นที่ ลุมนํ้ าหวยทรายขาว จังหวัดนครศรีธรรมราช

พบวา สวนยางพารา สวนไมผล พ้ืนที่สวนผสม และพ้ืนที่ปาทดแทนรุนที่สอง มีอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดิน เริ่มแรก 492.74 , 336.2 , 528.64 และ 306.85 เซนติเมตร / ชั่วโมง สวนอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินคงที่มีประมาณ 112.83 , 75.38 ,123.72 และ 72.28 เซนติเมตร / ชั่วโมง

การหาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินเปนงานที่สํ าคัญ จํ าเปนตองมีการศึกษาเพราะการทราบอัตราในการซึมนํ้ าผานผิวดินของดินแตละชนิด เปนทางที่จะนํ ามาซึ่งวิธีการที่เหมาะสมในการจัดการหรือควบคุมแกไขพ้ืนที่ซึ่งเกษมและนิพนธ (2517) กลาวไววา ขอมูลอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดิน สามารถนํ าไปใชเปนเครื่องชี้ถึงประสิทธิภาพในการจัดการลุมนํ้ าได โดยที่ลุมนํ้ าใดที่มีสภาพดีนั้นมักมีการดูดซับนํ้ าไดสูง สํ าหรับวิธีการที่หาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินมีหลายวิธี อาทิเชน การใชเครื่องอินฟลโตรมิเตอร การหาจากนํ้ าฝนสวนเกิน และการวิเคราะหกราฟนํ้ าไหล (เกษม, 2539) แตในการศึกษาครั้งนี้ ใชอินฟลโตรมิเตอร (infiltrometer) แบบหลอดกลวง ซึ่งเปนการประมาณอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินอยางหยาบ เพ่ือใชเปนขอมูลพ้ืนฐานสํ าหรับการสํ ารวจและจัดการลุมนํ้ าเทานั้น

Page 7: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

7ลักษณะพื้นที่ที่ทํ าการศึกษา

1. ลักษณะทั่วไป

สถานีวิจัยลุมนํ้ าปากพนัง ต้ังอยูในทองที่บานคีรีวง ตํ าบลกํ าโลน อํ าเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช อยูระหวางเสนรุงที่ 8 องศา 24 ลิปดา ถึง 8 องศา 29 ลิบดาเหนือ และเสนแวงที่ 99 องศา 42ลิปดา ถึง 99 องศา 48 ลิบดาตะวันออก ลักษณะทั่วไปเปนเทือกเขาสูงความลาดชันมาก เปนที่ราบเชิงเขาเล็กนอย มีพ้ืนที่ลุมนํ้ า 72.9 ตารางกิโลเมตร โดยเปนลุมนํ้ าชั้น1A ถึง 58.53 ตารางกิโลเมตร (คิดเปน 80.29เปอรเซ็นต ของพ้ืนที่ลุมนํ้ า) รูปรางลุมนํ้ าเปนแบบสี่เหล่ียมผืนผา ( rectangular-shaped basin ) มีคาฟอรมเเฟคเตอร 0.438 คาสัมประสิทธิ์ความหนาแนน 1.141 ความสูงเฉล่ียจากระดับนํ้ าทะเลปานกลาง 664.44เมตร โดยมีจุดสูงสุด 1,835 เมตร จุดตํ่ าสุด 60 เมตร ความลาดชันเฉล่ีย 45.048 เปอรเซ็นต หันดานลาดชันไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต ลักษณะของลํ าธารเปนแบบเสนใบไม(dendritic pattern) มีอันดับของลํ าหวย(stream order) 4 อันดับ ความหนาแนนของการระบายนํ้ าเทากับ 1.0007 และความหนาแนนของลํ าธาร0.3293 ลํ าธารตอตารางกิโลเมตร โดยมีลุมนํ้ าทดลองคลองทาชาย ซึ่งเปนลุมนํ้ ายอยของลุมนํ้ าคลองทาดีเปนพ้ืนที่ต้ังแปลงทดลอง ที่มีพ้ืนที่ลุมนํ้ า 7.07 ตารางกิโลเมตร

2. สภาพภูมิอากาศ

ลักษณะทั่วไปของอากาศ จัดอยูในประเภทปาฝนเมืองรอน ( tropical wet climate ) ตามแบบการจํ าแนกประเภทอากาศของคอปเปน (Koppen’s classification) ไดรับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตกเฉียงใต โดยมีเทือกเขาหลวงเปนสันกั้นลม มีฤดูกาล 2 ฤดู คือ ฤดูแลงในชวงเดือนกุมภาพันธถึงเมษายน ซึ่งฝนจะไมคอยมาก อากาศคอนขางรอน และฤดูฝนในชวงเดือนพฤษภาคมถึงมกราคมจะมีฝนตกชุกตลอด โดยเฉพาะชวงเดือนพฤศจิกายนถึงมกราคม จะมีฝนตกหนักมาก ลักษณะของฝนแบงได 2ประเภท คือ ฝนประจํ าถ่ิน และฝนจากพายุหมุน ซึ่งฝนประจํ าถ่ินจะตกตามฤดูกาลกระจายทั่วพ้ืนที่ สวนฝนจากพายุหมุนมักเกิดเปนชวง ๆ ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของ พายุโซนรอน ไตฝุน หรือดีเปรสชั่น มักเกิดในชวงเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายนฝนจะตกรุนแรงมาก บางครั้งก็เกิดลมพายุรุนแรงพรอมกับฝนตกหนักดวย

สํ าหรับสถิติขอมูลอากาศ ของสถานีวิจัยลุมนํ้ าปากพนัง ในคาบ 8 ป ( 2535 – 2542 ) มีอุณหภูมิเฉล่ียรายป 26.6 C ํ ความชื้นสัมพัทธรายปเฉล่ีย 92.8 เปอรเซ็นต ปริมาณการระเหยเฉลี่ย 1,040.60มิลลิเมตร ความเร็วลมเฉล่ีย 1.90 กิโลเมตร/วัน และมีปริมาณนํ้ าฝนรายปเฉล่ีย 2,683.90 มิลลิเมตร

Page 8: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

8

ตารางที่ 1 สถิติขอมูลอุตุนิยมวิทยาของสถานีวิจัยลุมนํ้ าปากพนัง ในคาบป 2535 - 2540ตัวแปรภูมิอากาศ คาเฉลี่ยรายเดือน รายปเฉลี่ย

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.1. อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) เฉลี่ย 24.7 25.5 26.7 27.7 28.0 27.8 27.3 26.9 26.7 26.2 25.0 24.6 26.4 สูงสุดเฉลี่ย 29.2 30.9 32.8 34.0 33.9 33.4 32.2 31.9 31.6 30.9 28.6 28.5 31.5 ตํ่ าสุดเฉลี่ย 20.1 20.0 20.5 21.6 22.0 22.1 22.0 22.0 21.7 21.5 21.5 20.6 21.3 สูงที่สุด 31.4 34.0 36.0 36.2 36.0 35.8 35.0 35.2 34.2 33.9 31.5 31.5 34.2 ตํ่ าที่สุด 17.2 16.8 17.8 19.3 21.0 20.4 20.7 19.8 20.2 20.5 19.8 17.9 19.3 2.ความชื้นสัมพัทธ (เปอรเซ็นต) เฉลี่ย 94.0 92.3 91.7 91.0 90.4 91.0 89.3 91.1 91.2 94.9 97.5 96.6 92.6 สูงสุดเฉลี่ย ตํ่ าสุดเฉลี่ย สูงที่สุด 99.2 99.2 97.3 100.0 96.7 96.7 98.2 98.2 98.2 100.0 100.0 100.0 98.6 ตํ่ าที่สุด 86.8 87.0 86.5 87.2 77.2 79.2 74.8 77.2 81.2 82.8 87.0 87.0 82.83.ปริมาณการระเหยจากถาด (ม.ม.) เฉลี่ย 73.39 83.94 112.38 119.21 115.59 96.82 97.41 95.54 85.32 73.18 54.52 57.43 1,065.284. กระแสลม (กิโลเมตร/วัน) ความเร็วเฉลี่ย 1.23 1.55 2.06 2.00 2.16 2.42 2.63 2.56 2.07 1.30 1.28 1.48 1.90 ความเร็วสูงสุด 37 44 64 59 67 72 82 79 62 41 38 46 58 ทิศทางลมประจํ าถิ่น5. ปริมาณฝน (ม.ม.) เฉลี่ย 164.90 102.31 170.39 158.47 129.25 91.66 107.60 183.48 121.68 332.05 710.58 501.17 2,773.55 จํ านวนวันฝนตก 13.8 8.8 9.3 10.8 15.7 14.8 16.5 22.5 19.7 23.5 23.3 20.2 199.0 ฝนรายวันสูงสุด 42.7 36.8 44.2 42.3 28.2 24.0 27.9 48.2 22.5 69.5 146.4 140.1 53.4

Page 9: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

9

3. ลักษณะดินและหิน

ในพ้ืนที่ลุมนํ้ า พบ หินอัคนีเปนสวนใหญในกลุมหินแกรนิตใหม ซึ่งเกิดในยุคครีเตเซียสอายุประมาณ 11 ลานป ประกอบดวยหินไบไมคาแกรนิต (bi-mica granite) วางตัวเปนแนวยาวขนานไปตามทิศเหนือ-ใตของพ้ืนที่ลุมนํ้ า หินไบโอไทต-มัสโคไวทแกรนิต (biotite-muscovite granite) หินแกรนิตเนื้อดอก (porphyritic granite) นอกจากนี้ พบพวกหินชั้น หรือหินตะกอนบางเปนสวนนอย

ลักษณะดินเปนดินภูเขา (soil of hills and mountains) เปนกลุมดินในที่ลาดชัน ซึ่งเกิดจากหินที่มีสภาพเปนกรด ไดแก ดิน red-yellow podzolic ซึ่งชั้นของดินคอนขางตื้น และมีหินปนแตกตางกันไปตามสภาพของความลาดชันและชนิดของหินแร นอกจากนี้ก็มีพวกดิน reddish-brown lateritic และ brownforest soil เปนตน จัดเปนดินเนื้อหยาบปานกลางในดินบน สวนในดินลางอยูในกลุมเนื้อละเอียดปานกลางซึ่งประกอบดวยอนุภาคทราย(sand) 47.7-67.0 เปอรเซ็นต อนุภาคทรายแปง(silt) 7.0-15.5 เปอรเซ็นตโดยจะมีปริมาณลดลงตามความลึก และอนุภาคดินเหนียว(clay)19.5-44.0 เปอรเซ็นตโดยจะมีปริมาณเพ่ิมขึ้นตามความลึก ความหนาแนนรวมมีคาคอนขางตํ่ าถึงปานกลาง(1.05-1.40 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร)ความหนาแนนอนุภาคมีคาอยูในชวง 2.55-2.64 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร โดยที่ความหนาแนนรวมและความหนาแนนอนุภาคมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นตามความลึก สวนความพรุนรวมของดินมีคาอยูในชวง 45.31-59.30 เปอรเซ็นต สวนใหญมีแนวโนมลดลงตามความลึก ความสามารถในการอุมนํ้ าของดิน มีคาอยูในชวง 26.49-44.56 เปอรเซ็นต สวนปฏิกริยาของดินมีคาเปนกรดแกถึงกรดจัด ( pH 4.6-5.5 ) อินทรียวัตถุมีคาอยูในชวงตํ่ าถึงคอนขางสูง ( 0.87-3.34 เปอรเซ็นต ) และมีแนวโนมลดลงตามความลึก

4. ลักษณะพืชพรรณและการใชประโยชนท่ีดิน

ลักษณะพืชพรรณและการใชประโยชนที่ดินบริเวณลุมนํ้ าปากพนัง แบงไดเปน 2 กลุม คือกลุมที่เปนปาธรรมชาติดั้งเดิม และบริเวณพ้ืนที่ใชประโยชนของราษฎรซึ่งเปนสวนผลไมตาง ๆ ปาธรรมชาติพบอยูตอนบนในพ้ืนที่สูง และหางจากหมูบาน ไดแก ปาดิบชื้น ปาดิบเขา ปารุนหรือปาไส ในสวนพ้ืนที่เชิงเขาเปนพ้ืนที่ใชประโยชนของราษฎร มีการทํ าสวนผลไมแบบผสมผสานลักษณะเปนสวนที่ปลูกผลไมหลายชนิด เชน ทุเรียน หมาก และสวนผสม ซึ่งอาจมีไมปาปะปนอยูบางแต ความหนาแนนของตนไมจะนอยกวาในสภาพปาธรรมชาติทั่วไป โดยเฉพาะ ไมขนาดเล็กและลูกไมจะมีนอยเนื่องจากจะมีการปลูกทดแทนเปนครั้งคราวในกรณีที่ตัดไมชั้นบนออกเทานั้น ดังนั้นพ้ืนที่ที่อยูในระยะการผลิตเต็มที่จึงไมคอยมีไมขนาดเล็ก สภาพปกคลุมของไมพ้ืนลางจะไดรับการดูแล และถางออกเปนประจํ าทุกป ทํ าใหพ้ืนลางคอนขางเตียนโลง ไมมีวัชพืชหรือเถาไมเล้ือยหนาตามสภาพของปาดิบชื้นทั่วไปในภาคใต ( อาจิน และคณะ, 2540 )

Page 10: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

10

วิธีการศึกษา

1. เลือกพ้ืนที่ที่มีการใชประโยชนที่ดินตางกัน 6 ประเภท คือ(1) ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด(2) ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด(3) พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดน(4) พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียนเปนไมเดน(5) พ้ืนที่สวนยางพารา(6) พ้ืนที่ปาธรรมชาติ

2. ในแตละประเภทของการใชประโยชนที่ดิน เลือกพ้ืนที่ที่จะทํ าการทดลอง วัดอัตราการซึมนํ้ าของดิน 4 จุด โดยใหกระจายกันทั่วพ้ืนที่ เพ่ือเปนตัวแทนของการใชประโยชนที่ดินนั้น

3. กวาด และถางวัชพืชบริเวณที่จะทํ าการทดลอง โดยระวังไมใหกระทบตอหนาดิน แลววางอินฟลโตรมิเตอร แบบหลอดกลวง ตอกลงไปในดิน 3-4 เซ็นติเมตร ใหขอบโผลเลยผิวดิน 5 เซ็นติเมตร

4. เติมนํ้ าลงไปในกระบอกอินฟลโตรมิเตอร จนเต็ม (สูง 5 เซ็นติเมตร) ขณะเทนํ้ า ระวังไมใหนํ้ ากระแทกดินจนเปนรอย หรือเปนหลุมลึก เริ่มจับเวลาตั้งแตเติมนํ้ าเสร็จ จนกระทั่งนํ้ าซึมลงไปในดินจนหมด บันทึกเวลาไว ทํ าเชนนี้ 3 ครั้งเปนอยางนอยตอหนึ่งจุดทดลอง หรือจนกวาอัตราการซึมนํ้ าจะคงที่ ( เวลาที่ใชในการซึมนํ้ าคงที่หรือใกลเคียง ประมาณ 4-5 คา )

5. นํ าขอมูลระยะเวลาที่นํ้ าซึมลงไปในดินแตละครั้ง มาหาความเร็วในการซึมนํ้ าของดิน ดวยการนํ าคาดังกลาว มาหารคาความสูงของนํ้ าที่กรอกลงไปแตละครั้ง ในรูปของ (ln h) / t เมื่อ hเทากับ 5เซนติเมตร นํ าขอมูลอัตราความเร็วของนํ้ าที่ซึมทุกชวงระยะเวลา (ft) ของทุกจุดในแตละแปลงมาเขียนกราฟกับชวงระยะเวลาจากจุดเริ่มตนของการใหนํ้ า ลากเสนโคงที่เปนตัวแทนของกลุมขอมูลเหลานี้ ซึ่งโดยทั่วไปจะมีคาสูงสุดเมื่อแรกเริ่มการทดลอง และมีแนวโนมที่ลดลงเมื่อระยะเวลาหลังการเริ่มใหนํ้ าเพ่ิมมากขึ้น ทายสุดของเสนเหลานี้จะลากขนานกับแกนของชวงระยะเวลา ซึ่ง ณ ระดับนี้เอง จะถูกกํ าหนดใหเปนความเร็วคงที่ในการซึมนํ้ าของดิน (fc) นํ าคาอัตราเร็วของการซึมนํ้ าแตละครั้งมาหักออกจากความเร็วคงที่ของการซึมนํ้ า(ft-fc) ขอมูลที่ไดนี้จะนํ าไปหาความสัมพันธกับระยะเวลา จากจุดเริ่มตนการทดลอง ในรูปของ exponentialfuncition เพ่ือหาคา อัตราการลดลงของการซึมนํ้ าผานผิวดิน ( k ) ดังแสดงในสมการการซึมนํ้ าผานผิวดินหรือ f-curve ดังนี้ ft = fc + ( f0 – fc ) e-kt

โดย ft ; ความสามารถในการซึมนํ้ าผานผิวดิน ณ เวลา t นาที fc ; อัตราการซึมนํ้ าของดินคงที่ (constant rate) f0 ; อัตราการซึมนํ้ าของดินเมื่อเริ่มตน t ; ระยะเวลา e ; ฐานของ natural logarithmic k ; เปนอัตราการลดลงของการซึมนํ้ าผานผิวดิน หรือเปนคาความลาดชัน

ของสวนโคง6. คํ านวณหาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดิน คาอัตราการลดลงของการซึมนํ้ าผานผิวดิน ( k )

และสมการการซึมนํ้ าผานผิวดินของแตละพ้ืนที่ที่ใชประโยชน

Page 11: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

11

ผลและวิจารณ

จากการศึกษา การซึมนํ้ าผานผิวดินภายใตการใชประโยชนที่ดินแบบตางๆ ในพ้ืนที่ลุมนํ้ าทาดีจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยศึกษาในพื้นที่ที่มีการใชประโยชนที่ดิน 6 ประเภท ไดแก(1) ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด (2) ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด(3) พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียนเปนไมเดน (4) พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดน(5) พ้ืนที่สวนยางพารา และ (6) พ้ืนที่ปาธรรมชาติ ในระหวางเดือน เมษายน 2539 - กันยายน 2540ปรากฎผล ดังนี้

1.อัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินในระยะเริ่มแรกอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินระยะเริ่มแรกหรือ ณ จุดเริ่มตนของการใหนํ้ า (Initial infiltration,

fo) ในรอบปของพ้ืนที่มีคาโดยเฉลี่ย 118.14 ซม./ชม. ในขณะที่แตละพ้ืนที่การใชประโยชนจะมีคาอยูระหวาง6 - 44 ซม./ชม.ในพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด 30-92 ซม./ชม.ในพ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด 37-403 ซม./ชม.ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียนเปนไมเดน 13-75ซม./ชม.ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดน 89-537 ซม./ชม. ในพ้ืนที่สวนยางพารา และ10-509ซม./ชม. ในพ้ืนที่ปาธรรมชาติ โดยมีคาเฉล่ียแตละพ้ืนที่ใชประโยชนเปน 23.76, 68.06, 149.07, 37.16,276.02 และ 154.79 ซม./ชม. ตามลํ าดับ (ตารางที่ 1)

เมื่อเปรียบเทียบในแตละพ้ืนที่ใชประโยชน พบวาคาเฉล่ียอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินระยะเริ่มแรกของพื้นที่สวนยางพาราจะใหคามากที่สุด รองลงมาไดแก พ้ืนที่ปาธรรมชาติ พ้ืนที่สวนผลไมมีทุเรียนเปนไมเดน พ้ืนที่ตัดไมเดิมออกแลวปลูกไมผลหลายชนิด พ้ืนที่สวนผลไมมีหมากเปนไมเดน และนอยที่สุดในพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด

2.คาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินคงที่

อัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินคงที่(Infiltration at constant rate, fc) ในรอบปของพ้ืนที่มี่คาเฉล่ียเทากับ 39.33 ซม./ชม. ในขณะที่แตละพ้ืนที่การใชประโยชนจะมีคาเปน 9.27 ซม./ชม. ในพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด 52.19 ซม./ชม.ในพ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด 29.66 ซม./ชม.ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียนเปนไมเดน 14.83 ซม./ชม.ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดน 49.17 ซม./ชม. ในพ้ืนที่สวนยางพารา และ 80.84 ซม./ชม. ในพ้ืนที่ปาธรรมชาติ (ตารางที่ 1) จะเห็นไดวาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินคงที่นั้นพ้ืนที่ปาธรรมชาติจะใหคามากที่สุดรองลงมาไดแก พ้ืนที่ตัดไมเดิมออกแลวปลูกไมผลหลายชนิด พ้ืนที่สวนยางพารา พ้ืนที่สวนผลไมมีทุเรียนเปนไมเดน พ้ืนที่สวนผลไมมีหมากเปนไมเดน และนอยที่สุดในพื้นที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด

เมื่อพิจารณาถึงชวงของความแตกตางระหวางคาของอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินเริ่มตนและคาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินคงที่ (fo-fc) ในตารางที่ 2 พบวาจะมีคาเทากับ 14.49 ในพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด 15.87 ซม./ชม.ในพ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด119.41 ซม./ชม.ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียนเปนไมเดน 22.33 ซม./ชม.ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดน 226.85 ซม./ชม. ในพ้ืนที่สวนยางพารา และ 73.95 ซม./ชม. ในพ้ืนที่ปาธรรมชาติ

3. ลักษณะการลดลงของอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดิน (k) และสมการการซึมนํ้ าผานผิวดิน

Page 12: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

12

จากการศึกษาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินในแตละพ้ืนที่การใชประโยชน พบวา จะมีอัตราเร็วในชวงแรกๆ และมีแนวโนมลดลงเมื่อระยะเวลาการใหนํ้ าเพ่ิมมากขึ้นจนคงที่ในที่สุด ( ภาพที่ 1 – 6 )ซึ่งลักษณะการลดลงของอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดิน (k) ก็คือความลาดชันของเสนกราฟนั่นเอง และเมื่อนํ าขอมูลอัตราการซึมนํ้ า ณ จุดเริ่มตน (fo) และเมื่อเวลาคงที่ (fc) มาหาความสัมพันธกับระยะเวลาเริ่มตนการทดลองในรูปของ exponential function พบวาคา k หรืออัตราการลดลงของการซึมนํ้ าผานผิวดินเฉล่ียที่ไดสํ าหรับพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด พ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียนเปนไมเดน พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดนพ้ืนที่สวนยางพารา และพ้ืนที่ปาธรรมชาติ มีคาเทากับ –0.12 , -0.33 , -0.52 , -0.28 , -1.08 และ -0.55ตามลํ าดับ

สํ าหรับ สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินของแตละพ้ืนที่การใชประโยชน จะเปนดังนี้

1. สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินในพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด ft = 9.27 + 14.49 e-0.12t

2. สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินในพ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด ft = 52.19 + 15.87 e-0.33t

3. สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิด ที่มีทุเรียนเปนไมเดน ft = 29.66 + 119.41 e-0.52t

4. สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิด ที่มีหมากเปนไมเดน ft = 14.83 + 22.33 e-0.28t

5. สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินในพ้ืนที่สวนยางพารา ft = 49.17 + 226.85 e-1.08t

6. สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินในพ้ืนที่ปาธรรมชาติ ft = 80.84 + 73.95 e-0.55t

Page 13: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

13

สรุปผล

การศึกษาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินในพ้ืนที่ใชประโยชนแบบตางๆ 6 ประเภท อันไดแก พ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด พ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียนเปนไมเดน พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดน พ้ืนที่สวนยางพาราและ พ้ืนที่ปาธรรมชาติ สรุปผลไดดังนี้

1. คาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินระยะเริ่มแรก

อัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินระยะเริ่มแรก หรือ ณ จุดเริ่มตนของการใหนํ้ า (Initial infiltration, fo)ในรอบปของพ้ืนที่มีคาโดยเฉลี่ย 118.14 ซม./ชม. ในขณะที่แตละพ้ืนที่การใชประโยชนจะมีคาอยูระหวาง6 - 44 ซม./ชม.ในพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด 30-92 ซม./ชม.ในพ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด 37-403 ซม./ชม.ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียนเปนไมเดน13-75 ซม./ชม.ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดน 89-537 ซม./ชม. ในพ้ืนที่สวนยางพาราและ10-509 ซม./ชม. ในพ้ืนที่ปาธรรมชาติ โดยมีคาเฉล่ียแตละพ้ืนที่ใชประโยชนเปน 23.76, 68.06,149.07, 37.16, 276.02 และ 154.79 ซม./ชม. ตามลํ าดับ

2. คาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินคงที่

อัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินคงที่(Infiltration at constant rate, fc) ในรอบปของพ้ืนที่มี่คาเฉล่ียเทากับ39.33 ซม./ชม. ในขณะที่แตละพ้ืนที่การใชประโยชนจะมีคาเปน 9.27 ซม./ชม. ในพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด 52.19 ซม./ชม.ในพ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด 29.66ซม./ชม.ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียนเปนไมเดน 14.83 ซม./ชม.ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดน 49.17 ซม./ชม. ในพ้ืนที่สวนยางพารา และ 80.84 ซม./ชม. ในพ้ืนที่ปาธรรมชาติ จะเห็นไดวาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินคงที่นั้นพ้ืนที่ปาธรรมชาติจะใหคามากที่สุด รองลงมาไดแก พ้ืนที่ตัดไมเดิมออกแลวปลูกไมผลหลายชนิด พ้ืนที่สวนยางพารา พ้ืนที่สวนผลไมมีทุเรียนเปนไมเดน พ้ืนที่สวนผลไมมีหมากเปนไมเดน และนอยที่สุดในพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด

เมื่อพิจารณาถึงชวงของความแตกตางระหวางคาของอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินเริ่มตนและคาอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดินคงที่ (fo-fc) พบวาจะมีคาเทากับ 14.49 ในพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด 15.87 ซม./ชม.ในพ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด 119.41 ซม./ชม.ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียนเปนไมเดน 22.33 ซม./ชม.ในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดน226.85 ซม./ชม. ในพ้ืนที่สวนยางพารา และ 73.95 ซม./ชม. ในพ้ืนที่ปาธรรมชาติ

3. ลักษณะการลดลงของอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดิน (k)

ลักษณะการลดลงของอัตราการซึมนํ้ าผานผิวดิน (k) สํ าหรับพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด พ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีทุเรียน

Page 14: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

14

เปนไมเดน พ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิดมีหมากเปนไมเดน พ้ืนที่สวนยางพารา และพ้ืนที่ปาธรรมชาติ มีคาเทากับ –0.12 , -0.33 , -0.52 , -0.28 , -1.08 และ -0.55 ตามลํ าดับ

สํ าหรับ สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินของแตละพ้ืนที่การใชประโยชน จะเปนดังนี้

1. สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินในพ้ืนที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด ft = 9.27 + 14.49 e-0.12t

2. สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินในพ้ืนที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด ft = 52.19 + 15.87 e-0.33t

3. สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิด ที่มีทุเรียนเปนไมเดน ft = 29.66 + 119.41 e-0.52t

4. สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินในพ้ืนที่สวนผลไมหลายชนิด ที่มีหมากเปนไมเดน ft = 14.83 + 22.33 e-0.28t

5. สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินในพ้ืนที่สวนยางพารา ft = 49.17 + 226.85 e-1.08t

6. สมการการซึมนํ้ าผานผิวดินในพ้ืนที่ปาธรรมชาติ ft = 80.84 + 73.95 e-0.55t

โดยภาพรวมแลว พ้ืนที่ลุมนํ้ าทาดี สวนใหญจะมีสภาพเปนปาธรรมชาติ ซึ่งอยูตอนบน สํ าหรับที่ราบมีอยูนอยซึ่งจะอยูบริเวณที่เชิงเขา และมีการปลูกไมผลหลากหลายชนิดปะปนรวมกับไมปาในลักษณะกลมกลืนกับธรรมชาติ ซึ่งพันธุไมดังกลาวมักจะเปนพันธุไมผลพ้ืนเมือง หรือเคยปลูกกันมานานแลว ดังนั้นในการใชประโยชนที่ดินของราษฎรสํ าหรับพ้ืนที่บริเวณนี้ สามารถที่จะจัดการในลักษณะเชิงอนุรักษได แมจะใหผลดีนอยกวาปาธรรมชาติก็ตาม

Page 15: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

15

เอกสารอางอิง (References)

เกษม จันทรแกว. 2539. หลักการจัดการลุมนํ้ า. ภาควิชาอนุรักษวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. 789 หนา.

เกษม จันทรแกว และจรินทร นาคศิริ. 2519. สมรรถนะการซึมนํ้ าผานผิวดินของปาดิบเขาธรรมชาติดอยปุยเชียงใหม. การวิจัยลุมนํ้ าหวยคอกมา เลมที่ 25. ภาควิชาอนุรักษวิทยา คณะวนศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. 41 หนา.

คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา. 2536. ปฐพีวิทยาเบื้องตน. ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. 720 หนา.จารุชาติ ปราชญนคร และวารินทร จิรสุขทวีกุล . 2540. การหาสมรรถการซึมนํ้ าผานผิวดินของพ้ืนที่การใช

ประโยชนรูปแบบตางๆในพื้นที่ลุมนํ้ าหวยทรายขาว อํ าเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช กลุมลุมนํ้ าสํ านักวิชาการปาไม กรมปาไม . 40 หนา.

ชลาธร ศรีตุลานนท, สุรเชษฏ วันดีเรืองไพศาล และสมาน รวยสูงเนิน. 2525. สมรรถนะการซึมนํ้ าผานผิวดินในปาดิบแลง หวยฟาผา ปากชอง นครราชสีมา. สถานีวิจัยเพ่ือรักษาตนนํ้ าลํ าตะคอง ฝายวิจัยกองอนุรักษตนนํ้ า กรมปาไม กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 15 หนา.

ปราโมทย เหมศรีชาติ. 2534. ความรูเรื่องดินและการใชประโยชนที่ดิน. ใน การวิเคราะหและการสํ ารวจดินปาไม. ฝายวนวัฒนวิจัย กองบํ ารุง กรมปาไม รวมกับ องคการรวมมือระหวางประเทศแหงรัฐบาลญี่ปุน.หนา 44-51.

พงษศักดิ์ วิทวัสชุติกุล และสมาน รวยสูงเนิน. 2525. การซึมนํ้ าของดินภายใตการใชประโยชนที่ดินชนิดตางๆจังหวัดระยองตอนใต. บันทึกวิจัยเลมที่ 27. สถานีวิจัยเพ่ือรักษาตนนํ้ าหวยหินดาด ฝายวิจัยกองอนุรักษตนนํ้ า กรมปาไม. 13 หนา.

วิชา นิยม. 2526. อุทกวิทยาปาไม. ภาควิชาอนุรักษวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.กรุงเทพฯ.

Miller, D.F. and Gardner, W.H., 1962. Water infiltration into stratified soil. Soil Sci.Soc.Amer.Proc.26:155-118.

Page 16: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

16

ภาคผนวกที่ 1 การหาคา k หรือ อัตราการลดลงของการซึมน้ําผานผิวดินเฉลี่ยสําหรับพื้นที่ปลูกไมผลหลายชนิด ภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด

จุดที่ คร้ังที่ อัตราการซึมน้ํา เวลาที่ใช เวลาสะสม ln(f0-fc) ln(ft-fc) (1)-(2) k1=(3)/t k2=(3)/t(ซม./ชม.) (วินาที) (วินาที) (1) (2) (3) (t=ชม.) (t=นาที)

1 1 22.83 253.80 253.8 2.0622/4/39 2 17.85 324.60 578.40 1.04 1.02 6.348 0.106

3 17.72 327.00 905.40 0.99 1.07 4.244 0.0714 15.80 366.60 1272.00 -0.24 2.30 6.517 0.1095 15.02 385.80 1657.80 เฉลี่ย 5.703 0.095

2 1 6.35 912.00 912 1.4622/4/39 2 2.57 2251.80 3163.80 -0.63 2.09 2.377 0.040

3 2.33 2487.60 5651.40 -1.24 2.70 1.720 0.0294 2.13 2722.20 8373.60 -2.43 3.89 1.671 0.0285 2.04 2839.20 11212.80 เฉลี่ย 1.923 0.032

3 1 22.56 256.80 256.8 2.7826/4/40 2 8.75 661.80 918.60 0.85 1.93 7.555 0.126

3 7.38 785.40 1704.00 -0.03 2.81 5.944 0.0994 6.79 853.80 2557.80 -0.98 3.76 5.289 0.0885 6.41 904.20 3462.00 เฉลี่ย 6.263 0.104

4 1 43.30 133.80 133.8 3.3926/4/40 2 18.19 318.60 452.40 1.52 1.87 14.892 0.248

3 15.18 381.60 834.00 0.45 2.94 12.704 0.2124 13.76 421.20 1255.20 -2.00 5.39 15.447 0.2575 13.62 425.40 1680.60 เฉลี่ย 14.348 0.239

Page 17: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

17

ภาคผนวกที่ 2 การหาคา k หรือ อัตราการลดลงของการซึมน้ําผานผิวดินเฉลี่ยสําหรับพื้นที่ตัดไมเดิมออกหมด แลวปลูก ไมผลหลายชนิด

จุดที่ คร้ังที่ อัตราการซึมน้ํา เวลาที่ใช เวลาสะสม ln(f0-fc) ln(ft-fc) (1)-(2) k1=(3)/t k2=(3)/t(ซม./ชม.) (วินาที) (วินาที) (1) (2) (3) (t=ชม.) (t=นาที)

1 1 75.44 76.80 76.80 3.3610/5/39 2 64.81 89.40 166.20 2.90 0.46 9.981 0.166

3 48.04 120.60 286.80 0.33 3.03 38.016 0.6344 46.88 123.60 410.40 -1.48 4.84 42.487 0.7085 46.65 124.20 534.60 เฉลี่ย 30.161 0.503

2 1 91.97 63.00 63.00 3.0927/5/39 2 79.81 72.60 135.60 2.29 0.80 21.369 0.356

3 74.28 78.00 213.60 1.46 1.63 27.488 0.4584 72.06 80.40 294.00 0.73 2.36 28.843 0.4815 69.98 82.80 376.80 เฉลี่ย 25.900 0.432

3 1 31.66 183.00 183.00 1.3610/5/39 2 29.71 195.00 378.00 0.67 0.69 6.530 0.109

3 29.35 197.40 575.40 0.47 0.89 5.563 0.0934 28.57 202.80 778.20 -0.20 1.56 7.210 0.1205 27.75 208.80 987.00 เฉลี่ย 6.434 0.107

4 1 73.16 79.20 79.20 2.1710/5/39 2 68.81 84.20 163.40 1.49 0.68 15.007 0.250

3 66.60 87.00 250.40 0.80 1.37 19.749 0.3294 66.14 87.60 338.00 0.57 1.60 17.084 0.2855 64.38 90.00 428.00 เฉลี่ย 17.280 0.288

Page 18: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

18

ภาคผนวกที่ 3 การหาคา k หรือ อัตราการลดลงของการซึมนํ้าผานผิวดินเฉลี่ยสําหรับพื้นที่สวนผลไมหลายชนิด มีทุเรียนเปนไมเดน

จุดที่ คร้ังที่ อัตราการซึมนํ้า เวลาที่ใช เวลาสะสม ln(f0-fc) ln(ft-fc) (1)-(2) k1=(3)/t k2=(3)/t(ซม./ชม.) (วินาที) (วินาที) (1) (2) (3) (t=ชม.) (t=นาที)

1 1 89.41 64.80 64.80 4.218/6/39 2 30.66 189.00 253.80 2.16 2.05 29.021 0.484

3 28.83 201.00 454.80 1.93 2.28 18.063 0.3014 27.67 209.40 664.20 1.74 2.47 13.367 0.2235 21.95 264.00 928.20 เฉลี่ย 20.150 0.336

2 1 402.36 14.40 14.40 5.838/6/39 2 332.99 17.40 31.80 5.61 0.22 25.436 0.424

3 67.53 85.80 117.60 1.86 3.97 121.602 2.0274 63.53 91.20 208.80 0.88 4.95 85.348 1.4225 61.12 94.80 303.60 เฉลี่ย 77.462 1.291

3 1 37.43 154.80 154.8 3.248/6/39 2 15.73 368.40 523.20 1.36 1.88 12.934 0.216

3 15.11 383.40 906.60 1.19 2.05 8.146 0.1364 13.23 438.00 1344.60 0.34 2.90 7.777 0.1305 11.83 489.60 1834.20 เฉลี่ย 9.619 0.160

4 1 67.06 86.40 86.40 3.778/6/39 2 29.53 196.20 282.60 1.76 2.01 25.630 0.427

3 28.07 206.40 489.00 1.47 2.30 16.945 0.2824 26.90 215.40 704.40 1.15 2.62 13.373 0.2235 23.73 244.20 948.60 เฉลี่ย 18.650 0.311

Page 19: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

19

ภาคผนวกที่ 4 การหาคา k หรือ อัตราการลดลงของการซึมน้ําผานผิวดินเฉลี่ยสําหรับพื้นที่สวนผลไมหลายชนิด ที่มีหมากเปนไมเดน จุดที่ คร้ังที่ อัตราการซึมน้ํา เวลาที่ใช เวลาสะสม ln(f0-fc) ln(ft-fc) (1)-(2) k1=(3)/t k2=(3)/t

(ซม./ชม.) (วินาที) (วินาที) (1) (2) (3) (t=ชม.) (t=นาที)1 1 13.17 439.8 439.8 2.10

25/5/39 2 6.23 930.60 1370.40 0.20 1.90 5.003 0.0833 5.35 1083.60 2454.00 -1.09 3.19 4.676 0.0784 5.01 1156.80 3610.80 เฉลี่ย 4.840 0.081

2 1 74.86 77.40 77.4 3.8425/5/39 2 31.45 184.20 261.60 1.12 2.72 37.476 0.625

3 29.90 193.80 455.40 0.40 3.44 27.168 0.4534 28.40 204.00 659.40 เฉลี่ย 32.322 0.539

3 1 37.43 154.80 154.80 3.1326/5/39 2 15.86 365.40 520.20 0.19 2.94 20.362 0.339

3 15.40 376.20 896.40 -0.29 3.42 13.719 0.2294 14.90 388.80 1285.20 -1.38 4.51 12.626 0.2105 14.65 395.40 1680.60 เฉลี่ย 15.569 0.259

4 1 23.16 250.20 250.20 2.4826/5/39 2 13.16 440.40 690.60 0.65 1.83 9.538 0.159

3 11.27 514.20 1204.80 -3.58 6.06 18.100 0.3024 11.24 515.40 1720.20 เฉลี่ย 13.819 0.230

Page 20: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

20

ภาคผนวกที่ 5 การหาคา k หรือ อัตราการลดลงของการซึมน้ําผานผิวดินเฉลี่ยสําหรับพ้ืนที่สวนยางพารา

จุดที่ ครั้งที่ อัตราการซึมนํ้า เวลาที่ใช เวลาสะสม ln(f0-fc) ln(ft-fc) (1)-(2) k1=(3)/t k2=(3)/t(ซม./ชม.) (วินาที) (วินาที) (1) (2) (3) (t=ชม.) (t=นาที)

1 1 268.24 21.6 21.60 5.4018/6/39 2 69.98 82.80 104.40 3.10 2.30 79.361 1.323

3 62.71 92.40 196.80 2.70 2.70 49.371 0.8234 48.28 120.00 316.80 -0.75 6.15 69.868 1.1645 47.81 121.20 438.00 เฉลี่ย 66.200 1.103

2 1 536.48 10.80 10.80 6.2018/6/39 2 76.64 75.60 86.40 3.42 2.78 115.710 1.929

3 61.51 94.20 180.60 2.74 3.46 68.918 1.1494 47.34 122.40 303.00 0.30 5.90 70.041 1.1675 45.98 126.00 429.00 เฉลี่ย 84.890 1.415

3 1 209.93 27.60 27.60 4.9118/6/39 2 86.22 67.20 94.80 2.53 2.38 90.512 1.509

3 83.25 69.60 164.40 2.26 2.65 58.135 0.9694 76.64 75.60 240.00 1.07 3.84 57.525 0.9595 73.71 78.60 318.60 เฉลี่ย 68.724 1.145

4 1 89.41 64.80 64.80 4.1018/6/39 2 31.77 182.40 247.20 0.95 3.15 45.820 0.764

3 30.37 190.80 438.00 0.18 3.92 32.222 0.5374 29.26 198.00 636.00 -2.38 6.48 36.682 0.6115 29.17 198.60 834.60 เฉลี่ย 38.242 0.637

Page 21: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

21

ภาคผนวกที่ 6 การหาคา k หรือ อัตราการลดลงของการซึมน้ําผานผิวดินเฉลี่ยสําหรับพ้ืนที่ปาธรรมชาติ

จุดที่ ครั้งที่ อัตราการซึมน้ํา เวลาที่ใช เวลาสะสม ln(f0-fc) ln(ft-fc) (1)-(2) k1=(3)/t k2=(3)/t(ซม./ชม.) (วินาที) (วินาที) (1) (2) (3) (t=ชม.) (t=นาที)

1 1 88.59 65.40 65.40 4.0411/9/40 2 62.30 93.00 158.40 3.42 0.62 14.038 0.234

3 42.17 137.40 295.80 2.35 1.69 20.541 0.3424 38.32 151.20 447.00 1.90 2.14 17.266 0.2885 31.66 183.00 630.00 เฉลี่ย 17.282 0.288

2 1 508.24 11.40 11.40 5.4511/9/40 2 371.41 15.60 27.00 4.56 0.89 118.771 1.980

3 344.88 16.80 43.80 4.23 1.22 99.961 1.6664 311.50 18.60 62.40 3.57 1.88 108.320 1.8055 275.90 21.00 83.40 เฉลี่ย 109.017 1.817

3 1 11.92 486.00 486.00 1.3711/9/40 2 10.28 563.40 1049.40 0.83 0.54 1.837 0.031

3 8.75 661.80 1711.20 -0.26 1.63 3.419 0.0574 8.76 661.20 2372.40 -0.24 1.61 2.450 0.0415 7.98 726.00 3098.40 เฉลี่ย 2.569 0.043

4 1 10.39 557.40 557.40 0.9511/9/40 2 9.44 613.80 1171.20 0.49 0.46 1.419 0.024

3 8.44 686.40 1857.60 -0.46 1.41 2.733 0.0464 7.86 736.80 2594.40 -2.92 3.87 5.376 0.0905 7.81 742.20 3336.60 เฉลี่ย 3.176 0.053

Page 22: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

22

รายการ

พ้ืนที่ปลูกไมผล พ้ืนทีต่ดัไมเดิมออก พ้ืนที่สวนผลไม พ้ืนที่สวนผลไม พ้ืนที่สวน พ้ืนที่ เฉลี่ย

หลายชนิดภายใตรมเงา แลวปลูกไมผล มีทุเรียนเปน มหีมากเปน ยางพารา ปาธรรมชาติ

ไมเดมิโดยไมตัด หลายชนิด ไมเดน ไมเดน

fO ( ซม./ชม.) 23.76 68.06 149.07 37.16 276.02 154.79 118.14

fC ( ซม./ชม.) 9.27 52.19 29.66 14.83 49.17 80.84 39.33

fO- fC 14.49 15.87 119.41 22.33 226.85 73.95 78.82

k -0.12 -0.33 -0.52 -0.28 -1.08 -0.55 -0.48

หมายเหต ุ fO หมายถงึ อัตราการซึมนํ้าผานผิวดินระยะเริ่มแรก , fC หมายถงึอัตราการซึมนํ้าผานผิวดินคงที่ และ k หมายถึง ลักษณะการลดลงของอัตราการซึมนํ้าผานผิวดิน

6. สมการการซึมนํ้าผานผิวดินในพื้นที่ปาธรรมชาติ ft = 80.84 + 73.95 e-0.55t

2. สมการการซึมนํ้าผานผิวดินในพื้นที่ตัดไมเดิมออกหมดแลวปลูกไมผลหลายชนิด ft = 52.19 + 15.87 e-0.33t

3. สมการการซึมนํ้าผานผิวดินในพื้นที่สวนผลไมหลายชนิด ที่มีทุเรียนเปนไมเดน ft = 29.66 + 119.41 e-0.52t

4. สมการการซึมนํ้าผานผิวดินในพื้นที่สวนผลไมหลายชนิด ที่มีหมากเปนไมเดน ft = 14.83 + 22.33 e-0.28t

5. สมการการซึมนํ้าผานผิวดินในพื้นที่สวนยางพารา ft = 49.17 + 226.85 e-1.08t

บริเวณสถานีวิจัยลุมน้ําปากพนัง บานคีรีวง อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช

รูปแบบการใชประโยชนที่ดิน

ตารางที่ 1 การซึมน้ําผานผิวดินในพื้นที่ที่มีการใชประโยชนที่ดินแบบตางๆ

1. สมการการซึมนํ้าผานผิวดินในพื้นที่ปลูกไมผลหลายชนิดภายใตรมเงาไมเดิมโดยไมตัด ft = 9.27 + 14.49 e-0.12t

Page 23: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

23

ลักษณะการลดลงของอัตราการซึมน้ําผานผิวดินสําหรับพ้ืนท่ีปลูกไมผลใตรมไมเดิม

0

5

10

15

20

25

30

35

40

45

50

0 2000 4000 6000 8000 10000 12000เวลา(วินาท)ี

อัตรากา

รซึมน

ํ้าผาน

ผิวดิน

(ซม.

/ชม.)

ลกัษณะการลดลงของอตัราการซมึน้ําผานผิวดินในพืน้ทีต่ดัไมเดมิออกแลวปลูกไมผล

0

100

200

300

400

500

600

700

800

0 200 400 600 800 1000เวลา(วินาที)

อตัรากา

รซมึน

ํา้ (ซม

./ชม.

)

Page 24: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

24

ลกัษณะการลดลงของอตัราการซมึน้ําผานผิวดินในพืน้ทีส่วนผสมมทีเุรียนเปนไมเดน

050

100150200250300350400450

0 500 1000 1500 2000

เวลา(วินาที)

อตัรากา

รซมึน

ํา้ (ซม

./ชม.

)

ลักษณะการลดลงของอัตราการซึมนํ้าผานผิวดินในพื้นที่สวนผสมมีหมากเปนไมเดน

01020304050607080

0 500 1000 1500 2000 2500 3000 3500 4000

เวลา(วินาที)

อตัรากา

รซมึน

ํา้ (ซม

./ชม.

)

Page 25: ( Infilltration of soils on various landuses in Thadi

25

ลักษณะการลดลงของอัตราการซึมนํ้าผานผิวดินในพื้นท่ีสวนยางพารา

0

100

200

300

400

500

600

0 200 400 600 800 1000

เวลา(วินาที)

อตัรากา

รซมึน

ํา้ (ซม

./ชม.

)

ลักษณะการลดลงของอัตราการซึมนํ้าผานผิวดินในพื้นที่ปาธรรมชาติ

0

100

200

300

400

500

600

0 500 1000 1500 2000 2500 3000 3500 4000

เวลา(วินาที)

อัตรากา

รซึมน

ํ้า (ซม

./ชม.

)