การออกแบบและ ... - gits. · pdf...

88
การออกแบบและสรางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยไมโครคอนโทรลเลอร นายวิโรจน บัวงาม วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ปการศึกษา 2549 ลิขสิทธิ์ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

Upload: vanlien

Post on 02-Mar-2018

245 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

การออกแบบและสรางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยไมโครคอนโทรลเลอร

นายวิโรจน บวังาม

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา บัณฑิตวิทยาลยั สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

ปการศึกษา 2549 ลิขสิทธิ์ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

Page 2: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

ช่ือ : นายวิโรจน บัวงาม ช่ือวิทยานพินธ : การออกแบบและสรางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวย ไมโครคอนโทรลเลอร สาขาวิชา : วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนอื ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ : อาจารย ดร.ธีรธรรม บุณยะกุล ปการศึกษา : 2549

บทคัดยอ รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรใชสําหรับการปองกันสํารองโดยติดตั้งในระบบไฟฟากําลังที่มีระดับ

แรงดันสูงกวา 69kV ขึ้นไป และจะทํางานเมื่อระบบปองกันหลักสั่งใหเซอกิตเบรกเกอรเปดวงจรแตเซอกิตเบรกเกอรไมสามารถเปดวงจรได หรือเซอกิตเบรกเกอรเปดแลวแตฟอลตยังคงอยู รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรจะตองสั่งเปดวงจรเซอกิตเบรกเกอรใกลเคียงทุกตัวที่เหลือในบัสออกเพื่อใหเคลียรฟอลตออกไปได งานวิจัยนี้ไดออกแบบและสรางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรโดยรวมสวนประกอบ 2 สวนที่สําคัญเขาดวยกันคือสวนตรวจจับกระแสและสวนตั้งเวลา โดยใชไมโครคอนโทรลเลอรตระกูล dsPIC30F4011 เปนสวนประมวลผลกลาง และใชอัลกอริธึม ดิสครีตฟูเรียรทรานฟอรมในการตรวจับกระแส รีเลยที่สรางทดสอบเวลาการทํางานโดยนําสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลองโดยใชโปรแกรม LabVIEW เพื่อทดสอบยืนยันความถูกตองในการออกแบบและสรางรีเลย

(วิทยานิพนธมีจํานวนทั้งส้ิน 77 หนา)

คําสําคัญ : รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร ดิจิตอลรีเลย การปองกันสํารอง

_______________________________________________________อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ

Page 3: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

Name : Mr.Wirot Buangam Thesis Title : Design and Implementation of Microcontroller Based Breaker Failure Relay Major Field : Electrical Engineering King Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok Thesis Advisor : Dr. Teratam Bunyagul Academic Year : 2006

Abstract A Breaker Failure Relay (BFR) is one of a local backup protection for the power system with a voltage level greater than 69kV. The BFR will operate when the main protection sends a trip signal to open a breaker but it can not open or the fault still exists. The BFR will send trip signal to open all nearby breaker connecting to the bus in order to clear fault. In this work, the BFR is designed and builded by combining a fault detector and a timer together. The microcontrolller dsPIC30F4011 is used as Central Processor Unit (CPU) and the current is detected by using Discrete Fourier Transform (DFT) algorithm. The BFR was tested using the signal from PSCAD/EMTDC and simulating by LabVIEW to confirmed correct operation. (Total 77 pages) Keywords : Breaker Failure Relay Digital Relay Backup Protection _______________________________________________________________________ Advisor

Page 4: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลงดวยดี โดยไดรับความชวยเหลือจากในการทําวิจัยจากหลายสวน คือ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ อาจารย ดร.ธีรธรรม บุณยะกุล ไดกรุณาใหคําปรึกษาในการแกไขปญหาตางๆ ระหวางการทําวิจัย รวมทั้งตรวจสอบและแกไขขอบกพรอง จนวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยดี

ขอขอบคุณอาจารยและโปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม สนับสนุนการใชเครื่องมือตางๆ ในการทดลองและเก็บผลของการวิจัย การไฟฟานครหลวง และการไฟฟาสวนภูมิภาค สนับสนุนเครื่องทดสอบรีเลยใชทดลองผลในงานวิจัย

สุดทายนี้ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ บิดา-มารดา เพื่อนๆ นางสาวอัมพร ไชยโยยิ่งยงค และนองกลมเกลียว ที่ชวยเหลือเปนกําลังใจ และใหความสนับสนุนอํานวยความสะดวกในการทําวิทยานิพนธฉบับนี้

วิโรจน บัวงาม

Page 5: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย ข บทคัดยอภาษาอังกฤษ ค กิตติกรรมประกาศ ง สารบัญตาราง ช สารบัญภาพ ซ บทที่ 1. บทนํา 1 1.1 การปองกันระบบไฟฟา 1 1.2 สวนประกอบของการปองกันระบบไฟฟากําลัง 2 1.3 หลักการเบื้องตนการปองกนัระบบไฟฟาดวยรีเลยปองกัน 2 1.4 การปองกันเซอกิตเบรกเกอรทํางานขัดของ 3 1.5 วัตถุประสงค 4 1.6 ขอบเขตของงานวิจยั 4 1.7 ขั้นตอนและวธีิการดําเนินการ 5 1.8 ประโยชนที่คาดวาไดรับ 5 1.9 โครงสรางของปริญญานิพนธ 5 บทที่ 2. งานวจิัยเกีย่วของกบัรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 6 2.1 การพัฒนารีเลยปองกันแบบดิจิตอลดวยไมโครคอนโทรลเลอร 6 2.2 การพัฒนารีเลยปองกันแบบดิจิตอลดวยตวัประมวลผลสัญญาณดิจิตอล 7 2.3 งานวิจยัหลักเกี่ยวของกับรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 9 บทที่ 3. ทฤษฏีที่เกี่ยวของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 12 3.1 เทคโนโลยีของรีเลย 12 3.2 องคประกอบพื้นฐานของดจิิตอลรีเลย 16 3.3 ดิจิตอลอัลกอริธึมดิจิตอลรีเลย 25 3.4 เขตการปองกัน 29 3.5 พื้นฐานของการปองกันรีเลยเซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอร 30 3.6 สาเหตุที่ทําใหเซอกิตเบรกเกอรทํางานขัดของ 31 3.7 การตรวจวัดกระแสของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 31 3.8 องคประกอบที่มีผลกับการปรับตั้งคารีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 32 3.9 ไดอะแกรมเวลาการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 33

Page 6: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

สารบัญ (ตอ) หนา บทที่ 4. การออกแบบรีเลยเบลกเกอรเฟลเลอร 34 4.1 สวนประกอบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 34 4.2 อัลกอริธึมคํานวณขนาดสญัญาณกระแส 43 4.3 การทดสอบทางดานซอฟแวรของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 43 4.4 สรุปผลการออกแบบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 47 บทที่ 5. การทดสอบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 49

5.1 การทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยการทดสอบดวยสัญญาณ แรงดันระดับต่ํา 49 5.2 การทดสอบกระแสพิคอัพ และดรอบเอาท 51 5.3 การทดสอบแบบแผนการปองกันของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 51 5.4 การทดสอบการคํานวณกระแสดวยอัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรม 2 รูปแบบ 55 5.5 การทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเนื่องจากการอิ่มตัวของ หมอแปลงกระแส 59 5.6 แบบแผนการปองกันตรวจวดักระแสระดบัต่ํา 65 5.7 การทดสอบการปองกันรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเปรียบเทียบกับโปรแกรม PSCAD/EMTDC 67 5.8 สรุปการทดสอบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 69 บทที่ 6. สรุปผลและขอเสนอแนะ 71 6.1 สรุปผลการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่สรางขึ้น 71 6.2 ขอเสนอแนะ และงานในอนาคต 73 เอกสารอางอิง 74 ประวัติผูวจิัย 77

Page 7: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา 4-1 การทดสอบแรงดนัดานทุตยิภูมขิองหมอแปลงกระแสชวย 37 4-2 สวนประกอบของเครื่องวัดความถี่แบบจานหมนุ 45 5-1 การทดสอบกระแสพิคอัพ และกระแสดรอบเอาทของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 51 5-2 ผลเปรียบเทียบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยอัลกอริธึม 2 แบบ 59

Page 8: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

สารบัญภาพ

ภาพที ่ หนา 1-1 สวนประกอบระบบปองกันระบบไฟฟากําลัง 1 1-2 การปองกันสํารองระยะใกลดวยรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 4 2-1 บล็อกไดอะแกรมของดิจิตอลรีเลยโดยใชไมโครคอนโทรลเลอร80C196 7 2-2 บล็อกไดอะแกรมดจิิตอลรีเลยโดยใชตวัประมวลผลสัญญาณดิจิตอล TMS320C32 8 2-3 รูปแบบการปองกนัรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยสแตติกรีเลย 9 2-4 รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรใชโปรแกรมเมเบลลอจิกคอนโทรลเลอรเปนตัวประมวลผล 10 2-5 การใชรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรในระบบไอพีพี ระบบบัสมีเครื่องกําเนิดไฟฟาตวั รวมกันสองตัว 11 3-1 รีเลยแบบอิเล็คโตรเมคเคนิคอล 13 3-2 รีเลยปองกันแบบสแตติก 14 3-3 รีเลยปองกันแบบดิจิตอล 15 3-4 รีเลยปองกันแบบนิวเมอริคอล 16 3-5 สวนประกอบดจิิตอลรีเลย 17 3-6 วงจรกรองความถี่ต่ําแบบพาสซีฟ และแบบแอกทฟี 18 3-7 เปรียบเทียบสัญญาณเอาทพุตวงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ําทั้งสามแบบ 19 3-8 ตัวเลือกสัญญาณอนาลอก 20 3-9 วงจรสุมและคางคา 21 3-10 การควบคุมอัตราการขยาย 21 3-11 ฟงกช่ันถายโอนทางอุดมคติของตัวแปลงสัญญาณอนาลอกเปนดิจิตอล 22 3-12 คาความผิดพลาดจากออฟเซต 23 3-13 ความผิดพลาดจากการขยาย 24 3-14 การแยกองคประกอบการคํานวณดสีครีตฟูเรียรทรานฟอรม 26 3-15 การแบงเขตการปองกนัระบบไฟฟากําลัง 29 3-16 การตอโอเวอรแล็ปของหมอแปลงกระแสของขอบเขตปองกัน 30 3-17 ลอจิกไดอะแกรมพืน้ฐานการปองกันเซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอร 30 3-18 ไดอะแกรมเวลาการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 33 4-1 บล็อกไดอะแกรมสวนประกอบของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 34 4-2 หมอแปลงกระแสชวย 35 4-3 เครื่องทดสอลรีเลย DOBLE F2100 36

Page 9: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

สารบัญภาพ (ตอ)

ภาพที ่ หนา 4-4 การทดสอบวัดแรงดนัดานทุตยิภูมขิองหมอแปลงกระแสชวยดวยเครื่องทดสอลรีเลย DOBLE F2100 36 4-5 สัญญาณแรงดนัดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสชวยโดยทดสอบจากเครื่องทดสอบ รีเลยDOBLE F2100 จายกระแสทุติยภูมิทดสอบ 1, 5, 10, 15, และ 20A 37 4-6 วงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ําแบบบัตเตอร อันดับสอง 38 4-7 โบดพลอตของวงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ําความถี่ตัด 120Hz 38 4-8 วงจรปรบัแตงสัญญาณ 39 4-9 สัญญาณทดสอบจากโปรแกรม LabVIEW CH1 คือสัญาณกระแสจําลองจาก LabVIEW และ CH2 คือสัญญาณที่ผานวงจรกรองความถี่ต่ํา และวงจรปรับแตงสัญญาณ 39 4-10 วงจรสวนไมโครโปรเซสเซอร 40 4-11 การเลื่อนหนาตางขอมูลในการคํานวณขนาดกระแส 41 4-12 วงจรภาคอินพุต 42 4-13 วงจรภาคเอาทพุต 42 4-14 สัญญาณกระแสทดสอบจากโปรแกรม LabVIEW จําลองสภาวะปกติและเมื่อเกิด ความผิดพรองมีผลของแรงดันไฟตรง 45 4-15 ผลการคํานวณขนาดสญัญาณกระแสคํานวณดวยโปรแกรมLabVIEW เปรียบเทยีบกับ ผลการคํานวณภายในไมโครคอนโทรลเลอร 45 4-16 สัญญาณกระแสทดสอบจากโปรแกรม LabVIEW จําลองสภาวะปกติและเมื่อเกิดฟอลต ที่มีผลของดีซีออฟเซท คํานวณดวยอัลกอริธึม ดีสครีตฟเูรียรทรานฟอรมครึง่ลูกคลื่น 46 4-17 ผลการคํานวณขนาดสญัญาณกระแสคํานวณดวยโปรแกรมLabVIEW เปรียบเทยีบกับ ผลการคํานวณภายในไมโครคอนโทรลเลอร 47 5-1 การทดสอบรีเลยดวยสัญญาณแรงดนัระดับต่ํา 50 5-2 การทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยโปรแกรม LabVIEW 50 5-3 ไดอะแกรมการทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 52 5-4 พื้นฐานแบบแผนการปองกันรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 52 5-5 แบบแผนการปองกันแบบหนวงเวลากอนตรวจวดักระแส 52 5-6 สัญญาณลอจิกเมื่อรีเลยปองกนัหลักเคลียรฟอลตกอนไทมเมอรของรีเลยเบรกเกอร เฟลเลอรหนวงเวลาครบตามกําหนดไว (200S) 53

Page 10: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

สารบัญภาพ (ตอ)

ภาพที ่ หนา 5-7 สัญญาณลอจิกสัญญาณกระแสฟอลตดรอบเอาทไทมเมอรของรีเลย เบรกเกอร

เฟลเลอรหนวงเวลาครบตามกําหนด(200S) 54 5-8 ผลการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรโดยใชแบบแผนการปองกนัที่ 1 ดวยอัลกอริธึม ดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมหนึ่งลูกคลื่น 55 5-9 ผลการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรโดยใชแบบแผนการปองกนัที่ 2 ดวยอัลกอริธึม ดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมหนึ่งลูกคลื่น 56 5-10 ผลการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรโดยใชแบบแผนการปองกนัที่ 1ดวยอัลกอริธึม ดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมครึ่งลูกคลื่น 57 5-11 ผลการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรโดยใชแบบแผนการปองกนัที่ 2 ดวยอัลกอริธึม ดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมครึ่งลูกคลื่น 58 5-12 การทดสอบสัญญาณกระแสฟอลตโดยเกดิการอิม่ตัวของหมอแปลงกระแส 60 5-13 ผลการคํานวณขนาดสญัญาณกระแสฟอลตเมื่อเกิดการอิ่มตัวของ หมอแปลงกระแส 60 5-14 การทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเกิดการอิ่มตัวของ หมอแปลงกระแส รีเลย เบรกเกอรเฟลเลอรไมทํางาน เนื่องจากการคํานวณกระแสฟอลตต่ํากวากระแสพิคอัพ 61 5-15 ผลการคํานวณขนานสญัญาณกระแสในสภาวะที่เกดิการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส ช่ัวขณะในชวง 6 ไซเคิลแรก 62 5-16 การทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเกิดการอิม่ตัวหมอแปลงกระแสดวยแบบ แผนการปองกันแบบที่ 1 รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร ไมสงสัญญาณทริพ 63 5-17 การทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเกิดการอิ่มตัวหมอแปลงกระแสดวยแบบ แผนการปองกันแบบที่ 2 64 5-18 ภาพแบบแผนการปองกันกระแสระดับต่ํา 65 5-19 การทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเกิดการอิ่มตัวหมอแปลงกระแสดวยแบบแผน การปองกันแบบที่ 1 รวมกับสถานะหนาสัมผัสชวยของเซอกิตเบรกเกอร 52a 65 5-20 การทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเกิดการอิ่มตัวหมอแปลงกระแสดวยแบบแผน การปองกันแบบที่ 2 รวมกับสถานะหนาสัมผัสชวยของเซอกิตเบรกเกอร 52a 66 5-21 การจําลองการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่มีการตอระหวางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร กับรีเลยปองกันหลัก 67

Page 11: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที ่ หนา 5-22 สัญญาณลอจิกของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเซอกิตเบรกเกอรหลัก (BRK5) เคลียร ฟอลตไดโดยสมบูรณ 68 5-23 สัญญาณลอจิกของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเซอกิตเบรกเกอรหลัก (BRK5) ทํางาน ขัดของไมสามารถเคลียรฟอลตที่เกดิขึ้นได 69

Page 12: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

บทที่ 1 บทนํา

ระบบการปองกันเปนสวนที่สําคัญ และขาดไมไดในระบบไฟฟากําลัง โดยจะทําหนาที่

เคลียรฟอลต (Clear Fault) ที่เกิดขึ้นกับระบบไฟฟากําลัง ระบบการปองกันระบบไฟฟากําลังมีอยู ดวยกันหลายสวน ในวิทยานิพนธฉบับนี ้จะอธิบายถึงระบบการปองกันสํารองระยะใกล โดยใชรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร ซ่ึงขอดีคือมีความเร็วในการเคลียรฟอลต เมื่อระบบการปองกันหลักเกิดทํางานผิดพลาดจากการเคลียรฟอลต จุดประสงค และขอบเขตของวิทยานิพนธฉบับนี้คือ การออกแบบและสรางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยไมโครคอนโทรลเลอร เปนรีเลยปองกันแบบดิจิตอล ใชสําหรับการปองกันสํารอง 1.1 การปองกนัระบบไฟฟา (Power System Protection) การปองกันระบบไฟฟากําลังแสดงดังภาพที่ 1-1 เปนสวนหนึ่งของกระบวนการผลิต ระบบสงจาย และระบบของผูใชไฟฟา เปนสวนชวยใหระบบไฟฟามีความปลอดภัยจากผลของการเกิดฟอลต (Fault) ขึ้นในระบบไฟฟากําลัง ทําใหระบบไฟฟากําลังทํางานไดอยางตอเนื่อง มีความปลอดภัย หรือมีความเชื่อถือได

ภาพที่ 1-1 สวนประกอบระบบปองกันระบบไฟฟากําลัง

Page 13: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

2

1.2 สวนประกอบของการปองกันระบบไฟฟากําลัง การปองกันระบบไฟฟากําลังมีสวนประกอบที่แตกตางกัน ขึ้นอยูกับ ชนิด ขนาด ตําแหนง และความสําคัญของอุปกรณที่ตองการปองกัน จากภาพที่ 1-1 แสดงสวนประกอบระบบการปองกันระบบไฟฟากําลังซ่ึงประกอบดวยอุปกรณที่สําคัญดังนี้ 1.2.1 เซอกิตเบรกเกอร (Circuit Breaker) สําหรับเซอกิตเบรกเกอรกําลัง ในการออกแบบตามมาตรฐาน IEEE กําหนดหมายเลขอุปกรณของเซอรกิตเบรกเกอรคือ 52 ใชสําหรับเปดและปดวงจรในขณะที่ระบบไฟฟากําลังอยูในสภาวะปกติ และในสภาวะผิดปกติเกิดฟอลตขึ้นกับระบบไฟฟา ดังนั้นเซอรกิตเบรกเกอรจะตองตัดตอนอยางรวดเร็วในเวลานอยกวา 1 วินาที เซอกิตเบรกเกอรตองมีอุปกรณอ่ืนๆ ประกอบเพื่อตรวจจับสภาวะผิดปกติ และสั่งการใหเซอกิตเบรกเกอรเปด และปดวงจร 1.2.2 หมอแปลงกระแส และหมอแปลงแรงดัน หมอแปลงกระแส และหมอแปลงแรงด ันทําหนาที ่ลดระดับสัญญาณกระแส และแรงดันไฟฟาจากระบบไฟฟากําลังลดต่ําลง เพื่อสงสัญญาณเขาสูรีเลยทําการประมวลผล พิกัดของหมอแปลงกระแสทางดานทุติยภูมิมีขนาด 1A หรือ 5A พิกัดของหมอแปลงแรงดันทางดานทุติยภูมิมีขนาด 110 V หรือ 120V 1.2.3 วงจรทริพ (Trip Circuit) ประกอบดวยสายไฟ และแบตเตอรี่ทําหนาจายกระแสเขาขดลวดกระตุนใหเซอกิตเบรกเกอรเปด หรือปดวงจร นอกจากนี้ยังมีรีเลยหนวงเวลา รีเลยชวย และอุปกรณประกอบอื่นๆ 1.2.4 รีเลยปองกัน (Protective Relays) รีเลยปองกัน มีหนาที่ตรวจจับสภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้นในระบบไฟฟากําลัง โดยจะทําการวัดปริมาณไฟฟาตลอดเวลา โดยปริมาณไฟฟาจะมีการเปลี่ยนแปลงขณะเกิดฟอลตขึ้น เชน แรงดัน กระแส มุมทางไฟฟา และความถี่ เปนตน ถาขนาดปริมาณทางไฟฟาที่ทําการวัดสูงมากกวาที่กําหนดกับรีเลย รีเลยจะสั่งการใหคอนแทคของรีเลยจายพลังงานใหกับวงจรทริพ มีผลทําใหเซอกิตเบรคเกอรเปดเพื่อแยกสวนของวงจรที่เกิดฟอลตออกจากระบบไฟฟากําลัง 1.3 หลักการเบื้องตนการปองกันระบบไฟฟาดวยรีเลยปองกัน การพิจารณาสําหรับการปองกันระบบไฟฟามีการแบงการปองกันออกเปนสองกลุมคือ การปองกันหลัก (Primary Protection) และการปองกันสํารอง (Backup Protection) โดยท่ีระบบการปองกันหลักทําหนาที่เคลียรฟอลตเปนลําดับแรก และรีเลยปองกันสํารองจะเคลียรฟอลตเมื่อรีเลยปองกันหลัก เกิดความลมเหลวในการเคลียรฟอลต

Page 14: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

3

1.3.1 การปองกันหลัก (Primary Relaying) การปองกันหลักเปนการปองกันเมื่อเกิดฟอลตเปนลําดับแรก โดยที่รีเลยเฉพาะตัวที่อยูในเขตปองกันที่เกิดฟอลตเทานั้นที่มีการสั่งการใหเซอกิตเบรกเกอรตัดแยกสวนที่เกิดฟอลตออกจากระบบไฟฟากําลัง บางครั้งในการปองกันที่มีเขตปองกันทับซอนกันขณะเมื่อเกิดฟอลตขึ้น ในพื้นที่เขตทับซอนกัน เซอกิตเบรคเกอรทั้งสองของเขตปองกันจะเคลียรฟอลตพรอมกัน จึงทําใหขอบเขตการเคลียรฟอลตออกจากระบบไฟฟามีพื้นที่มาก 1.3.2 การปองกันสํารอง (Backup Protection)

การปองกันสํารอง หมายถึงระบบการปองกันเมื่อการปองกันหลัก เกิดขัดของไมทํางานตามที่กําหนดไมวาเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม การติดตั้งรีเลยปองกันสํารองจะติดตั้งคนละสวนกับรีเลยปองกันหลัก รีเลยปองกันสํารองตองทํางานชากวา หรือมีการหนวงเวลานานกวารีเลยปองกันหลัก เมื่อเกิดฟอลตขึ้นในระบบไฟฟากําลัง รีเลยปองกันหลัก และรีเลยปองกันสํารองจะตรวจพบความผิดพรองที่เกิดขึ้นทั้งคูพรอมกัน รีเลยทั้งสองจะเริ่มทํางานพรอมกัน แตรีเลยปองกันหลักทํางานเร็วกวา จะเคลียรฟอลตออกจากระบบไฟฟาได รีเลยปองกันสํารองจะไมทํางาน แตถารีเลยปองกันหลักทํางานลมเหลว เมื่อเวลาผานไปชั่วครู ถายังมีกระแสฟอลตไหลอยูจะถูกเคลียรดวยการปองกันสํารอง

1.4 การปองกนัเซอกิตเบรกเกอรทํางานขดัของ (Breaker Failure Protection) รีเลยทําหนาที่ปองกันเซอรกิตเบรกเกอรทํางานขัดของ คือรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร สําหรับการปองกันสํารอง ใชในการปองกันระบบบัส เครื่องกําเนิดไฟฟา หรือระบบสายสง จากภาพที่ 1-2แสดงการปองกันสํารองดวยรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร โดยรีเลยจะมีการตรวจสอบกระแส หลังจากการปองกันหลักทํางาน ถายังมีกระแสไหลตอเนื่อง แสดงวาเซอกิตเบรคเกอรหลักทํางานขัดของ รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรจะสงสัญญาณทริพเซอกิตเบรกเกอรสํารอง เพื่อแยกสวนที่เกิดฟอลตออก และชวยลดอันตรายที่เกิดขึ้นกับระบบไฟฟากําลัง สาเหตุที่เซอกิตเบรกเกอรหลักทํางานขัดของอาจเปนผลอันเนื่องมาจากหลายสาเหตุคือ ขั้วตอของอุปกรณหลุดกลไกของเซอกิตเบรกเกอรทํางานผิดพลาด วงจรทริพสายขาด ฟวสขาด และขดลวดทริพขาดเปนตน

Page 15: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

4

2 3 4

1

MAINPROTECTION

Protectiontrip

50BF

& 62BF

Circuit Breaker Failure Protection

Trip BackupProtection

BFI

ภาพที่ 1-2 การปองกันสํารองระยะใกลดวยรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 1.5 วัตถุประสงค 1.5.1 เพื่อเปนแนวทางการศึกษาการออกแบบการพัฒนารีเลยปองกันระบบไฟฟาแบบดิจิตอล 1.5.2 เพื่อพัฒนาไมโครคอนโทรลเลอรใชงานกับรีเลยปองกันระบบไฟฟาแบบดิจิตอล 1.5.3 ศึกษาการออกแบบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรแบบดิจิตอล 1.5.4 สรางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยไมโครคอนโทรลเลอร 1.6 ขอบเขตของงานวิจัย งานวิจัยนี้ไดออกแบบพัฒนาการใชงานไมโครคอนโทรลเลอร สําหรับรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรแบบดิจิตอล และมีการทดสอบโดยเครื่องทดสอบรีเลย และสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTPDC เพื่อยืนยันความถูกตองปองกันของรีเลย

Page 16: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

5

1.7 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการ 1.7.1 ศึกษาวิธีการพัฒนาและการออกแบบรีเลยปองกันระบบไฟฟาจากอดีตจนถึงปจจุบัน 1.7.2 สํารวจงานวิจัยที่เกี่ยวของ จากวารสารวิชาการที่สําคัญ เชน IEE และIEEE เปนตน 1.7.3 ศึกษาทฤษฎี และอัลกอริธึมที่มีการใชงานกับรีเลยแบบดิจิตอลแบบตางๆ ที่เกี่ยวของ 1.7.4 สรุปขอดีและขอเสีย วิธีการออกแบบในแตละวิธีการ และการนาํไปประยกุตใช 1.7.5 ออกแบบและปรับปรุงรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรแบบดิจิตอล 1.7.6 สรางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรแบบดิจิตอล และทดสอบความถูกตองการทํางานของรีเลยที่สรางขึ้น 1.7.7 วิเคราะห และสรุปผลเสนอแนะแนวทางแกไข และการพัฒนาตอไป 1.8 ประโยชนท่ีคาดวาไดรับ 1.8.1 สรางรีเลยรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรแบบดิจิตอลที่มีราคาตนทุนต่ํา 1.8.2 สามารถใชรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรสําหรับการปองกันสํารองระบบไฟฟาได 1.8.3 สามารถนําไปประยุกตการออกแบบกับรีเลยปองกันแบบอื่นๆได 1.9 โครงสรางของปริญญานิพนธ บทที่ 1 บทนํา อธิบายพื้นฐานของการปองกันระบบไฟฟาดวยรีเลยเบรกเกอรฟลเลอร บทที่ 2 งานวจิัยที่เกี่ยวของกับรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร อธิบายถึงงานวิจัยทีเ่กีย่วของจากวารสาร IEEE งานวิจยัเกีย่วกบัดิจิตอลรีเลย และรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่ใชสําหรับงานวิจยั บทที่ 3 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกบัรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร อธิบายทฤษฎีที่ใชการออกแบบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรทางดานฮารดแวร และการออกแบบการปองกนของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร บทที่ 4 การสรางและออกแบบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร อธิบายการออกแบบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรทางดานฮารดแวรสวนตางๆ และสวนซอฟแวรการคํานวณขนาดสัญญาณกระแส และการทดสอบสวนตางๆ ของรีเลยที่ออกแบบ บทที่ 5 การทดสอบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร เปนการทดสอบการทํางานของรีเลยที่สรางขึ้น ดวย รูปแบบแผนการปองกนั 2 แบบ และการทํางานของรีเลยดวยอัลกอริธึม 2 แบบ นอกจากนัน้ทดสอบการทํางานของรเีลยเมื่อกระแสฟอลตมีผลของการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส บทที่ 6 สรุปผลและขอเสนอแนะ การทํางาน และการทดสอบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่สรางขึ้น และงานที่ทําตอไปในอนาคต

Page 17: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

บทที่ 2

งานวิจัยเกี่ยวของกับรีเลยรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร งานวิจัยที่เกี่ยวของกับรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่ผานมาโดยตรงยังมีการวิจัยไมมากนัก งานวิจัยสวนใหญเปนงานวิจัยโดยนํารีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรใชสําหรับการปองกันสํารอง ในรูปแบบตางๆ ผูวิจัยจึงไดแยกรายละเอียดของงานวิจัยที่เกี่ยวของออกเปน 2 สวนคือ สวนแรกสวนของงานวิจัยเกี่ยวของกับการออกแบบรีเลยปองกันแบบดิจิตอล และสวนที่สองเปนงานวิจัยเกี่ยวกับหลักการ และการใชงานการปองกันรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร มีรายละเอียดดังนี้ 2.1 การพัฒนารีเลยปองกันแบบดิจิตอลดวยไมโครคอนโทรลเลอร การใชงานไมโครคอนโทรลเลอรเปนตัวประมวลผล ในงานวิจัยรีเลยปองกันแบบดิจิตอลนั้น ไดมีบริษัทผูผลิตไมโครคอนโทรลเลอรหลายบริษัทคือ อินเทล โมโตโลลา ไมโครชิพ เปนตน ขนาดของไมโครคอนโทรลเลอรที่ใชสําหรับประมวลผลมีขนาด 8 บิต และ 16 บิต ขึ้นอยูกับการออกแบบรีเลยปองกันระบบไฟฟา 2.1.1 รีเลยปองกันแบบดิจิตอลโดยใชไมโครคอนโทรลเลอรขนาด 8 บิต[1, 2] ไมโครคอนโทรลเลอรแบบนี้บางครั้งเรียกวา คอมพิวเตอรชิพเดี่ยว ใชเปนตัวประมวลผลของรีเลยปองกัน เชน การปองกันกระแสเกิน การปองกันฟอลตลงดิน การปองกันหมอแปลง เปนตน ไมโครคอนโทรลเลอรที่นิยมใชงานคือ ไมโครคอนโทรลเลอรตระกูล MCS-51 อินเทล 8051 ทํางานดวยคริสตอลความถี่ 12MHz การใชงานมีการตอใชงานรวมกับตัวแปลงสัญญาณอนาลอกเปนดิจิตอล (Analog to Digital) หรือเอดีซี (ADC) ขนาด 8 บิต หนวยความจําแรม และอีพรอมภายนอก นอกจากนั้นยังมีพอรตสําหรับตออินพุตเอาทพุตกับอุปกรณรอบขาง รีเลยปองกันแบบนี้มีราคาถูก การออกแบบฮารดแวรงาย เนื่องจากขนาดของไมโครคอนโทรลเลอร 8 บิต จึงไมเหมาะสําหรับการปองกันที่มีการคํานวณที่ซับซอน มีความยากลําบากสําหรับการตอเอดีซี หนวยความจําภายนอก ดังนั้นรีเลยปองกันแบบดิจิตอลโดยใชไมโครคอนโทรลเลอรขนาด 8 บิต การออกแบบการปองกันหนาที่เดี่ยวไมมีความซับซอน ออกแบบอัลกอริธิมสําหรับการคํานวณไมมีความซับซอนอยางเชน อัลกอริธึมวอลชฟงกชัน

Page 18: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

7

2.1.2 รีเลยปองกันแบบดิจิตอลโดยใชไมโครคอนโทรลเลอรขนาด 16 บิต [3, 4] จากภาพที่ 2-1แสดงการใชไมโครคอนโทรลเลอรขนาด 16 บิต ออกแบบดิจิตอลรีเลย ไมโครคอนโทรลเลอรที่นิยมใชงานเปนตระกูล MCS-96 อินเทล 8097 8098 80C196 ซ่ึงเปนไมโครคอนโทรลเลอรที่มีสมรรถนะสูง มีความเร็วในการประมวลผล มีการรวมหนาที่หลักไวภายในตัวไมโครคอนโทรลเลอร คือ หนวยความจําแรมขนาด 230ไบต รีจิสเตอร/หนวยคํานวณทางคณิตศาสตร (RALU) รีจิสเตอรทําหนาที่พิเศษ (SFRs) พอรตอินพุต/เอาทพุตที่มีสมรรถนะสูง นอกจากนั้นมีเอดีซีขนาด 10 บิต อยูภายใน RALU สามารถคูณเลขขนาด 16× 16 บิต การหารเลข 32/16 บิต ถาไมโครคอนโทรลเลอรทํางานที่ความถี่คริสตอล 12 MHz ไมโครคอนโทรลเลอรกระทําครั้งละขอมูล 16 บิต การบวก/ลบใชเวลาคํานวณ 0.66uS การคูณเลขนาด 16× 16 บิต ใชเวลาคํานวณประมาณ 2.3uS การหารเลข32/16 บิต ใชเวลาคํานวณประมาณ 4.0uS ดังนั้นความเร็วของไมโครคอนโทรลเลอรจึงมีความเร็วเพียงพอสําหรับการปองกัน เชน การออกแบบการปองกันระยะทาง หรือการปองกันแบบหลายหนาที่ การปองกันบัส การปองกันผลตางของกระแส การปองกันหมอแปลงไฟฟา

ภาพที่ 2-1 บล็อกไดอะแกรมของดิจิตอลรีเลยโดยใชไมโครคอนโทรลเลอร 80C196 2.2 การพัฒนารีเลยปองกันแบบดิจิตอลดวยตัวประมวลสัญญาณดิจิตอล [5, 6, 7] มีการพัฒนาเทคโนโลยีดานไมโครโปรเซสเซอร โดยมีการพัฒนาตัวประมวลสัญญาณดิจิตอล หรือดีเอสพี เปนไมโครเซสเซอรมีการประมวลผลไดรวดเร็ว สามารถประมวลผลคําส่ัง หรือการคํานวณทางคณิตศาสตรที่มีความซับซอนไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 19: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

8

ตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอลที่นิยมใชงานสําหรับรีเลยปองกันแบบดิจิตอลเปนของบริษัท เทกซัส อินสทรูเมนท ตระกูล TMS320 เปนตัวประมวลผลชิพเดี่ยว อยางเชน TMS320020 TMS32025 เปนตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอลขนาด 16 บิต มีการออกแบบสถาปตยกรรมของฮารดแวรของตัวประมวลผลใหมีความยืดหยุน และความเร็วในการประมวลผล สามารถกระทําการคํานวณ การคูณ และการเลื่อนขอมูล ซ่ึงการคําสั่งสามารถกระทําภายในสองรอบของการกําหนดจังหวะสัญญาณนาฬิกาใชเวลาประมาณ 400 nS ตอมาบริษัท เทกซัส อินสทรูเมนทไดมีการพัฒนาตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอลรุน TMS320Cx ดังเชนรุน TMS320C32 เปนตัวประมวลผลสัญญาณขนาด 32 บิต การประมวลผลเลขตัวเลขแบบลอยตัว (Floating-Point Processor) ใชเทคโนโลยีแบบซีมอส มีการปรับปรุงสถาปตยกรรมสามารถติดตอกับหนวยความจําภายนอกมีขนาดหนวยความจําไดมาก การะทําคําส่ังไดรวดเร็วภายในวงรอบการทํางาน ตองการกําลังไฟฟานอย

ภาพที่ 2-2 บล็อกไดอะแกรมดิจิตอลรีเลยโดยใชตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอล TMS320C32 รีเลยปองกันแบบดิจิตอลใชตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอลจะมีความรวดเร็วในการคํานวณ และความถูกตองในการคํานวณสูง ดังนั้นงานวิจัยที่ผานมาการออกแบบสําหรับรีเลยปองกันแบบดิจิตอลที่ใชตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอลจึงเหมาะสําหรับงานที่มีอัลกอริธึมที่มีความซับซอน ดังเชน อัลกอริธึมวิธีการเวฟเล็ท เทคนิคการกรองสัญญาณแบบคาลมาน หรือการคํานวณทางคณิตศาสตรอ่ืน ที่ใชงานสําหรับการปองกันแบบดิจิตอล เชน การปองกันระยะทาง การปองกันสายสงแรงดันไฟฟาสูง แตอยางไรก็ตามรีเลยปองกันแบบดิจิตอลใชตัวประมวลสัญญาณดิจิตอล ในการใชงานยังตองตอกับอุปกรณรอบขางภายนอก ดังเชน ตัวแปลงสัญญาณอนาลอกเปนดิจิตอล

Page 20: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

9

หนวยความจําแรม หนวยความจําแบบแฟลช และหนวยติดตอส่ือสารรับสงขอมูลแบบอนุกรม ซ่ึงมีความยากลําบากในการออกแบบ ดังนั้นการใชตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอลจึงเปนบอรดสําเร็จรูปจากผูผลิต ยากตอการพัฒนาดวยตัวเอง และมีราคาสูง จากภาพที่ 2-2 เปนการออกแบบดิจิตอลรีเลยโดยใชตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอล เปนตัวประมวลผล ออกแบบรีเลยแบบระยะทาง 2.3 งานวิจัยหลักเก่ียวกับรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร การปองกันเซอรกิตเบรกเกอรเฟลเลอร ไดอธิบายสวนประกอบพื้นฐาน และการออกแบบในวารสาร IEEE [8] เปนมาตรฐานของการใชงานการปองกันรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรอธิบายหลักการพื้นฐานของการปองกันสํารองดวยรีเลยเซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอร การออกแบบ การปรับตั ้งคา การนํารีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรใชสําหรับการปองกันสวนตางๆ เชน การแบบแผนการปองกันบัส การปองกันสายสง และการปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟา งานวิจัยของ Boyle J.R. [9] อธิบายพื้นฐานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร แสดงดังภาพที่ 2-3 ตลอดจนการใชงาน และการปรับตั้ง ระบบการปองกันบัสในรูปแบบบัสเดี่ยว เบรกเกอรแอนอะฮาฟ (Breaker and a Half) และบัสแบบวงแหวน (Ring Bus) การใชรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรในการปองกันระบบเครื่องกําเนิดไฟฟา ซ่ึงอธิบายแบบแผนการปองกันที่ใชกับรีเลยแบบอิเล็คโตรเมคเคนิคอล (Electromechanical Relay)

ภาพที่ 2-3 รูปแบบการปองกันรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยสแตติกรีเลย

Page 21: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

10

งานวิจัยของ T. Stringes [10] จากภาพที่ 2-4 อธิบายการออกแบบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่โดยใชโปรแกรมเมเบลลอจิกคอนโทรลเลอร หรือพีแอลซี เปนตัวประมวลผล รวมกับการตรวจจับกระแส และการหนวงเวลา ในการออกแบบปองกันเซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอร ตัวประมวลผลแบบนี้ไมมีความยืดหยุนในการปองกันที่มีความซับซอนมากนัก เพราะวาพีแอลซีไมเหมาะสําหรับใชการคํานวณทางคณิตศาสตรที่มีความซับซอน การคํานวณขนาดสัญญาณกระแสใชเวลานาน

ภาพที่ 2-4 รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรใชโปรแกรมเมเบลลอจิกคอนโทรลเลอรเปนตัวประมวลผล งานวิจัยของ Rasheek M.[11] อธิบายการใชงานการปองเซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอร โดยรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเปนแบบดิจิตอลแบบทํางานหลายหนาที่ สําหรับการปองกันสํารองของระบบของบริษัทผูผลิตไฟฟาอิสระ (Independent Power Producers) หรือ ไอพีพี (IPP) แสดงดังภาพที่ 2-5 การปองกันสํารองตองทํางานรวดเร็วเมื่อเกิดเซอกิตเบรกเกอรหลักทํางานขัดของ และมีความแนนอนในการแยกความผิดพรอง หรือสภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้นกับระบบไอพีพีทุกกรณี การปองกันอันตรายที่เกิดขึ้นกับระบบ คือ กอนเกิดความไมเสถียรภาพของระบบ กอนความเสียหายที่เกิดขึ้นขยายไปยังอุปกรณ หรือเขตปองกันอื่น และเปนระบบปองกันสํารอง เมื่อเกิดฟอลตที่เกิดขึ้นกับเครื่องกําเนิดไฟฟา หรือวงจรภายใน

Page 22: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

11

ภาพที่ 2-5 การใชรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรในระบบไอพีพ ีระบบบัสมีเครื่องกําเนิดไฟฟาตัวรวมกัน

สองตัว งานวิจัยของ Hector J.[12] เปนงานวิจัยที่ประยุกต การออกแบบการปองกันรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร ใชสําหรับการปองกันสํารองที่มีผลกับเสถียรภาพของระบบไฟฟากําลัง ซ่ึงมีรูปแบบการปองกัน และเวลาการทํางานของรีเลยแตกตางกัน คณะผูวิจัยอธิบายการปองกันการใชงานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรแบบดิจิตอล มีขอดีคือสามารถตรวจจับสัญญาณกระแสพิคอัพ และดรอบเอาทไดรวดเร็ว นอกจากนั้นในรีเลยทํางานแบบมัลติฟงกชัน (Multi Function Relay) การออกแบบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรกับการปองกันบัสแบบตางๆ ที่ผลของการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแสไมมีผลกับการปองกัน

Page 23: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

บทที่ 3

ทฤษฏีที่เกี่ยวของรีเลยเซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอร ในบทนี้กลาวถึงเทคโนโลยีของรีเลยปองกันจากอดีตจนถึงปจจุบัน ที่มีการรวมเทคนิคทางดานดิจิตอล และนิวเมอรริคอล ในการสรางรีเลยปองกันระบบไฟฟากําลัง สวนที่สองอธิบายพื้นฐานที่ใชสําหรับการออกแบบดิจิตอลรีเลย และการออกแบบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร เปนสวนที่สําคัญในการสรางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 3.1 เทคโนโลยีของรีเลย (Relay Technology) ในสิบปที่ผานมามีการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีของรีเลยปองกันระบบไฟฟาอยางมากโดยรีเลยแบบอิเล็คโตรเมคเคนิคอล (Electromechanical Relay) ถูกแทนที่โดยรีเลยแบบสแตติก ดิจิตอลรีเลย และนิวเมอริคอลรีเลย สามารถทํางานไดหลายหนาที่ โดยใชเทคนิคที่ทันสมัย ในการปองกันระบบไฟฟา การพัฒนาเทคโนโลยีของรีเลยจากอดีตจนถึงปจจุบันมีการพัฒนาดังตอไปนี้ 3.1.1 รีเลยแบบอิเล็คโตรเมคเคนิคอล (Electromechanical Relay) รีเลยแบบอิเล็คโตรเมคเคนิคอลเปนรีเลยที่เริ่มแรกที่ใชในการปองกันระบบไฟฟากําลัง และมีการใชงานมานานกวารอยป หลักการทํางานคือ ใชแรงทางกลทําใหเกิดผลตอบสนองของหนาสัมผัสของรีเลย แรงทางกลไดมาจากกระแสไหลผานขดลวดพันกับแกนแมเหล็ก หรือแกนเหล็ก ซ่ึงเปนที่มาของชื่อรีเลยแบบนี้ มีการแบงแยกออกเปนชนิดตางๆ ดังนี้

1. รีเลยแบบแรงดึงดูดจากอารเมเจอร 2. รีเลยแบบขดลวดเคลื่อนที่ 3. รีเลยแบบหลักการเหนี่ยวนํา

4. รีเลยแบบความรอน 5. รีเลยแบบใชมอเตอรทํางาน 6. รีเลยแบบใชแรงทางกล

Page 24: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

13

ภาพที่ 3-1 รีเลยแบบอิเล็คโตรเมคเคนิคอล 3.1.2 สแตติกรีเลย (Static Relay) คําวา สแตติก (Static) หมายความวารีเลยไมมีสวนที่เคล่ือนที่ อยางไรก็ตามจะมีการเคลื่อนที่ของสวนของหนาสัมผัสเอาทพุตอยูเหมือนกับรีเลยแบบอาศัยแรงดึงอารเมเจอร รีเลยแบบสแตติกเร่ิมใชงานในป ค.ศ. 1960 การออกแบบบนพื้นฐานโดยใชอุปกรณอิเล็กทรอนิกสแทนที่การสรางรีเลยมีคุณลักษณะดวยขดลวดและ แมเหล็ก รีเลยรุนกอนมีการใชอุปกรณตอรวมกันระหวางทรานซิสเตอร ไดโอด ตัวตานทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนํารวมกัน ไดมีการพัฒนาทางดานวงจรรวมอิเล็กทรอนิกสใชวงจรอิเล็กทรอนิกสแบบเชิงเสน และวงจรดิจิตอลทําใหในรุนตอมาใชการประมวลผลสัญญาณ และ หนาที่ทางลอจิกเปนการทํางาน พื้นฐานของการออกแบบวงจรใชการออกแบบพื้นฐานเดียวกันของรีเลย การออกแบบหนาที่การปองกันเปนการปองกันหนาที่เดียวตอรีเลยหนึ่งตัว ตองการหนาที่ซับซอนของรีเลยตองใชฮารดแวรที่เหมาะสม มีการใชโปรแกรมทํางานในหนาที่พื้นฐานของการปรับตั้งตามกราฟคุณลักษณะของรีเลย ดังนั้นสามารถมองภาพที่ 3-2 คือใชอุปกรณอนาล็อกอิเล็กทรอนิกสแทนรีเลยแบบอิเล็คโตรเมคเคนิคอล มีการเพิ่มความยืดหยุนในการปรับตั้ง ในกรณีเดียวกัน คาเบอรเดนของรีเลยลดลงทําใหลดเอาทพุตจากหมอแปลงกระแส และหมอแปลงแรงดัน

Page 25: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

14

ภาพที่ 3-2 รีเลยปองกันแบบสแตติกรีเลย

Page 26: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

15

3.1.3 ดิจิตอลรีเลย (Digital Relays) รี เลยปองกันแบบดิจิตอลเปนการ เริ่ มตน ของการ เปลี่ ยนแปลงของ เทคโนโลยีไมโครโปรเซสเซอร และไมโครคอนโทลเลอรแทนที่วงจรอนาลอกที่ใชในสแตติกรีเลย เร่ิมใชงานในป ค.ศ. 1980 และมีการปรับปรุงความสามารถการประมวณผลสัญญาณ ตามชนิดของฟอลต ขอแตกตางระหวางสแตติกรีเลยกับดิจิตอลรีเลย เริ่มจากตัวแปลงสัญญาณอนาลอกเปนดิจิตอล ทําหนาที่เปลี่ยนแปลงปริมาณสัญญาณอนาลอกทุกคาจาการวัด และใชไมโครโปรเซสเซอรในการประมวลผลดวยอัลกอริธึมการปองกัน ไมโครโปรเซสเซอรใชเทคนิคดิสคริสฟูเรียรทรานฟอรม (Discrete Fourier Transform :DFT) ในการประมวลหาขนาดสัญญาณ ขอจํากัดของไมโครโปรเซสเซอรที่ใชในดิจิตอลรีเลยถูกจํากัดของจํานวนของการสุมขอมูลของรูปสัญญาณตอหนึ่งลูกคลื่น และเรื่องความเร็วของการทํางานของรีเลยในการใชงาน ดังนั้นดิจิตอลรีเลยจึงเปนรีเลยทําหนาที่ปองกันหนาที่เดียว ภาพที่ 3-3 รีเลยปองกันแบบดิจิตอลรีเลย 3.1.4 นิวเมอรริคอลรีเลย (Numerical Relays) ขอแตกตางระหวางดิจิตอลรีเลย และนิวเมอรริคอลรีเลย ขึ้นอยูกับรายละเอียดทางเทคนิคของรีเลย การพัฒนานิวเมอริคอลรีเลยเปนผลมาจากเทคโนโลยีที่ทันสมัย เทคโนโลยีที่มีการใชคือตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอล (Digital Signal Processing : DSP) เปนเครื่องมือโดยการรวมเอา

Page 27: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

16

ฮารดแวรทํางานรวมกับซอฟแวร มีการสัญญาณอนาลอกอินพุตจะเปลี่ยนเปนสัญญาณดิจิตอลและมีการคํานวณดวยอัลกอริธึมทางคณิตศาสตร การประมวลผลใชไมโครโปรเซสเซอร ที่เหมาะสมกับการประมวลผลสัญญาณคือ ตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอล การประมวลผลสัญญาณดิจิตอลแบบตามเวลาจริงตองการไมโครโปรเซสเซอรมีความเร็วสูง

ภาพที่ 3-4 รีเลยปองกันแบบนิวเมอริคอล 3.2 องคประกอบพื้นฐานของดิจิตอลรีเลย ดิจิตอลรีเลยใชปองกันระบบไฟฟากําลัง แสดงดังภาพที่ 3-5 ประกอบดวย สวนของฮารดแวร และสวนของซอฟแวร ในสวนฮารดแวรทําหนาที่รับสัญญาณจากระบบไฟฟากําลังในสวนขอบเขตการปองกัน และทําหนาแปลงสัญญาณอนาลอกเปนขอมูลดิจิตอล และทําหนาที่ตัดตอวงจรในสวนของระบบไฟฟาที่ทําหนาที่ปองกัน สวนซอฟแวรเปนอัลกอริธึมของดิจิตอลรีเลยที่ใชสําหรับการคํานวณขนาดสัญญารในการปองกันระบบไฟฟากําลัง ดิจิตอลรีเลยมีองคประกอบพื้นฐานพื้นฐานแสดงดังภาพที่ 3-5 คือ

Page 28: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

17

ภาพที่ 3-5 สวนประกอบดิจิตอลรีเลย 3.2.1 สวนปรับแตงสัญญาณ (Signal Conditioning Subsystem) เปนสวนที่รับสัญญาณแรงดัน และ/หรือกระแสไฟฟา จากระบบไฟฟาที่ทําการปองกัน กอนที่รีเลยนําสัญญาณไปประมวลผล เนื่องจากระดับสัญญาณของกระแส และ/หรือ แรงดันไฟฟาในระบบไฟฟากําลังมีขนาดสูง ดังนั้นกอนที่จะทําการตรวจวัดสัญญาณเหลานี้ดวยรีเลยปองกันระบบไฟฟา จึงจําเปนตองมีการลดทอนสัญญาณใหมีระดับต่ําลงเปนสัดสวน การลดระดับสัญญาณกระแสไฟฟาอยูระดับ 5A หรือ 1A โดยใชหมอแปลงกระแส (Current Transformer : CT) และ การลดระดับสัญญาณแรงดันไฟฟาลงเหลือ 110V หรือ 120V โดยใชหมอแปลงแรงดัน (Voltage Transformers :VT) การตรวจวัดสัญญาณกระแส และ/หรือแรงดันไฟฟา ภายในดิจิตอลรีเลยจะใชหมอแปลงกระแสชวย (Auxiliary Current Transformers) ทําหนาที่เปล่ียนสัญญาณกระแสเปนสัญญาณแรงดัน และชวยปรับคาอิมพิแดนซภายในของรีเลยใหเหมาะสมกับคาเบอรเดนของ หมอแปลงกระแส และ/หรือหมอแปลงแรงดัน ทําใหคาเบอรเดนของดิจิตอลรีเลยต่ํา

LPF S/H

LPF S/H

LPF S/H

LPF S/H

LPF S/H

LPF S/H

MU

LTPL

EXER

PGA ADC

VA MICROPROCESSER

SERIALPORT

SERIALPORT

CONTACTINPUT

RAM

ROM

EEPROM

RELAYOUTPUT

TIMER CODEINPUT

TARGETS

RS-232-C

RS-232-C

POWERSUPPLY

VB

VC

IA

IB

IC

LPF = LOW-PASS FILTER S/H = SAMPLE / HOLD AMP

PGA = PROGRAMMABLE-GAIN AMP ADC = ANALOG-TO-DIGITAL CONVERTER

RAM = RANDOM-ACCESS MEMORY ROM = READ-ONLY MEMORY

EEPROM = ELECTRONICALLY-ERASEBLE PROGRAMMABLE ROM

Page 29: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

18

การใชงานทั่วไปของหมอแปลงกระแส ควรการเลือกอัตราสวนของหมอแปลงกระแสเหมาะสมกับกระแสโหลดสูงสุด การออกแบบกระแสโหลดสูงสุดไมควรเกินพิกัดกระแสทางดานกระแสทางดานปฐมภูมิของหมอแปลงกระแส การใชหมอแปลงกระแสที่มีอัตราสวนต่ํากวาทางดานพิกัดกระแสโหลด เมื่อเกิดฟอลตที่มีปริมาณสูงมากๆ ทําใหหมอแปลงกระแสเกิดการอิ่มตัว ทําใหสัญญาณทางดานทุติยภูมิผิดเพี้ยน 3.2.2 สวนเปลี่ยนแปลงสัญญาณของระบบ (Conversion Subsystem) สัญญาณอนาลอกที่รับเขามาจากหมอแปลงกระแส หรือหมอแปลงแรงดันปกติจะตองมีการกรองสัญญาณ การกรองสัญญาณขึ้นอยูกับขอมูลที่ตองการของดิจิตอลรีเลย ดังนั้นวงจรกรองสัญญาณที่ใชเปนแบบวงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ําเพื่อลดสัญญาณความถี่สูงที่ไมตองการ กอนการเขาสูวงจรสุมสัญญาณ หรือการปองกันเอเลียดซิ่ง (Anti-Aliasing Filter) จะเปนตัวกําหนดการออกแบบความถี่ตัด (Frequency Cutoff: fc) ของวงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ํา 3.2.2.1 วงกรองสัญญาณความถี่ต่ํา (Low-Pass Filer) วงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ําเปนวงจรที่ใหสัญญาณความถี่ต่ํากวายานความถี่ตองการผาน โดยกรองสัญญาณรบกวนกอนรับสัญญาณเขาระบบ วงจรกรองความถี่ต่ํามีสองแบบคือ วงจรกรองวงจรกรองความถี่ต่ําแบบพาสซีพ (Passsive Filter) วงจรกรองความถี่แบบนี้ประกอบดวยขดลวดเหนี่ยวนํา ตัวเก็บประจุ และตัวตานทาน และวงจรกรองแบบความถี่ต่ําแบบแอกทีฟ (Active Filter) ใชแอปแอมปซ่ึงเปนอุปกรณแอกทีฟตอวงจรรวมกับความตานทาน และตัวเก็บประจุแสดงดังภาพที่ 3-6 วงจรกรองแบบความถี่ต่ําแบบแอกทีฟ แบงออกเปน

1. วงจรกรองความถี่ต่ําแบบบัตเธอรเวอรด (Butterworth Low-Pass Filters) 2. วงจรกรองความถี่ต่ําแบบเชฟบีเชฟ (Tschebyscheff Low-Pass Filters) 3. วงจรกรองความถี่ตําแบบเบสเซล ( Bessel Low-Pass Filters )

ภาพที่ 3-6 วงจรกรองความถี่ต่ําแบบพาสซีฟ และแบบแอกทีฟ

Page 30: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

19

วงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ําที่ใชสําหรับ ปองกันสัญญาณเอเลียดซ่ิง ใชงานสําหรับการเปลี่ยนแปลงขอมูล คือวงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ําแบบบัตเธอรเวอรด เพราะมีคาขนาดของสัญญาณเทากันในชวงยานต่ํากวาความถี่ตัด ระดับสัญญาณที่ไดทางดานเอาทพุตที่ถูกตองไมมีการกระเพื่อมในชวงความถี่ผาน เมื่อเทียบกับวงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ําอีกสองแบบแสดงในภาพที่ 3-7

ภาพที่ 3-7 เปรียบเทียบสัญญาณเอาทพุตวงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ําทั้งสามแบบ 3.2.2.2 ตัวเลือกสัญญาณอนาลอก (Analog Multiplexers) ดิจิตอลรีเลยจําเปนตองใชตัวเลือกสัญญาณอนาลอก ทําหนาที่เลือกสัญญาณอินพุตอนาลอก โดยการเลือกสัญญาณครั้งละหนึ่งสัญญาณของชองสัญญาณอินพุต และสงคาออกตอไปชองสัญญาณเอาทพุตควบคุมดวยไมโครโปรเซสเซอร หลักการของตัวเลือกสัญญาณอนาลอกแสดงดังภาพที่ 3-8 เปนการแสดงของตัวเลือกสัญญาณอนาลอกสี่อินพุตโดยมีการเลือกสัญญาณอินพุตควบคุมโดยตัวเลือกสัญญาณ A และ B

Page 31: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

20

ภาพที่ 3-8 ตัวเลือกสัญญาณอนาลอก

3.2.3 สวนเปลี่ยนแปลงสัญญาณของระบบ (Conversion Subsystem) 3.2.3.1 ทฤษฏีการสุมสัญญาณ (Sampling Theorem) ทฤษฏีการสุมสัญญาณ ระบุไววา ถาสัญญาณที่ตองการสุมมีความถี่สูงสุดที่ maxf เพื่อใหไดสัญญาณที่สุมแลวเปนตัวแทนที่ถูกตองของสัญญาณที่ทําการสุม ความถี่ในการสุมจะตองมีคามากกวาสองเทาของความถี่สูงสุดของสัญญาณ หรือ max2sf f⟩ (3-1)

เมื่อ sf คือความถ่ีการสุมสัญญาณ และ maxf คือ ความถี่สูงสุดของสัญญาณที่ทําการสุม

ขอมูล องคประกอบของสัญญาณที่มีความถี่ที่คร่ึงหนึ่งของความถี่สุมสัญญาณมีช่ือเรียกวา ความถี่ไนควิสท (Nyquist Frequency) หรืออัตราไนควิสท Nf หรือ

2N sf f= (3-2)

3.2.3.2 วงจรสุมและคางคาสัญญาณ (Sampling and Hold Amplifier) วงจรสุมและคางคาสัญญาณ การรับขอมูลเขามาเมื่อสวิทชปด ในเวลาตอมาสวิทชเปดวงจรสัญญาณจะถูกคางคาไวเพื่อรักษาระดับของสัญญาณกอนเขาตัวเอดีซี วงจรสุมและคางคาสัญญาณประกอบดวยออปแอมป สองตัว และสวิทชอนาลอกตอกับตัวคาปาซิเตอร แสดงดังภาพที่ 3-9 เมื่อสวิทชปดลงวงจรอยูในสถานะแยก (Track) เมื่อสวิทชเปดวงจรอยูในสถานะคางคา (Hold)

Page 32: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

21

ภาพที่ 3-9 วงจรสุมและคางคา 3.2.3.3 วงจรขยายอัตราสวนสัญญาณอนาลอก (Analog Gain Scaling) การควบคุมอัตราการขยาย (Programmable–Gain Amplifier : PGA) อยูระหวางตัวเลือกสัญญาณ และสวนแปลงสัญาณอนาลอกเปนดิจิตอลแสดงดังภาพที่ 3-10 มีการควบคุมอัตราขยายสัญญาณอนาลอกที่รับเขามาใหเหมาะสมมีความถูกตองกับพิกัดของสัญญาณที่สงตอไปยังตัวแปลงสัญญาณอนาลอกเปนดิจิตอล

ภาพที่ 3-10 การควบคุมอัตราการขยาย 3.2.3.4 การแปลงสัญญาณอนาลอกเปนสัญญาณดิจิตอล (Analog–to–Digital Converstion) ตัวแปลงสัญญาณอนาลอกเปนสัญญาณดิจิตอล หรือเอดีซี ทําหนาที่แปลงสัญญาณอนาลอกอินพุตที่มีขนาดแนนอนเปนคาดิจิตอลเอาทพุตแสดงดังไดอะแกรมในภาพที่ 3-11 ขอมูลดิจิตอลเอาทพุ ตจาก เอดี ซีที่ ได จะตรงกับช ว ง ลํ าดับความกว า งของสัญญาณอนาลอกอินพุต และฟงกช่ันถายโอนใกลเคียงกับเสนตรงตามทางอุดมคติ การออกแบบเอดีซีมีการแปลงคาที่จุดกึ่งกลางของแตละลําดับตรงกับจุดบนเสนทางอุดมคติ ความกวางของแตละหนึ่งลําดับสามารถกําหนดดวยพิกัดอินพุตของเอดีซี

Page 33: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

22

ภาพที่ 3-11 ฟงกช่ันถายโอนทางอุดมคติของตัวแปลงสัญญารอนาลอกเปนสัญญาณดิจิตอล การแปลงขอมูลของเอดีซีบางครั้งไมถูกตองเกิดจาก คาความผิดพลาดของเอดีซีมีผลกับความถูกตองในการคํานวณขนาดของสัญญาณกระแส คาความคลาดเคลื่อนของเอดีซีมีองคประกอบดวย 2 สวนมีดังตอไปนี้ 1. คาความผิดพลาดจากออฟเซต (Offset Error) คาความผิดพลาดจากออฟเซตแสดงดังภาพที่ 3-12 เปนผลตางระหวางจุดออฟเซตคาปกติกับจุดออฟเซตที่เกิดขึ้นจริง สําหรับเอดีซีจํานวนจุดออฟเซตเปนคาของจุดกึ่งกลางเมื่อคาเอาทพุตดิจิตอลมีคาเปนศูนย ผลของคาความผิดพลาดนี้มีผลกับทุกจํานวนดิจิตอลเอาทพุทเกิดความคลาดเคลื่อน คาความผิดพลาดจากออฟเซตสามารถปรับไดโดยการปรับคาออฟเซตของเอดีซีใหอยูระดับกึ่งกลางของฟงกชันถายโอนโดยคาออฟเซตมีคาเปนศูนย

Page 34: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

23

ภาพที่ 3-12 คาความผิดพลาดจากออฟเซต

2. คาความผิดพลาดจากการขยาย (Gain Error) คาความผิดพลาดจาการขยายแสดงดังภาพที่ 3-13 เปนผลตางระหวางอัตราการขยายจํานวนปกติ และอัตราการขยายจริงบนจุดฟงกช่ันถายโอน หลังจากมีคาความผิดพลาดออฟเซตมีการปรับคาเปนศูนย สําหรับเอดีซี จํานวนอัตราการขยายเปนคาจุดกึ่งกลางเมื่อคาเอาทพุทดิจิตอลมีคาเปนคาสูงสุด คาความผิดพลาดนี้แสดงความแตกตางในเสนความชันของคาฟงกช่ันถายโอนของคาจริงและ คาทางอุดมคติ เปนคาความผิดพลาดในแตละลําดับ คาความผิดพลาดนี้สามารถปรับใหเปนศูนยโดยการปรับฟงกชันถายโอนอยูกึ่งกลาง

Page 35: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

24

ภาพที่ 3-13 ความผิดพลาดจากการขยาย

3.2.4 สวนประมวลผลสัญญาณดิจิตอลรีเลยของระบบ (Digital Processing Relay Subsystem) สวนประมวลผลสัญญาณดิจิตอลของระบบประกอบดวยในสวนของฮารดแวร และซอฟแวร สวนฮารดแวรประกอบดวย หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit:CPU) หนวยความจํา(Memory) หนวยอินพุต และเอาทพุต ในสวนของซอฟแวรมีสององคประกอบหลัก คือสวนแรกเปนสวนของการควบคุมการทํางานของระบบของดิจิตอลรีเลย ทําหนาที่บริหารจัดการสวนตางๆ ของระบบ สวนที่สองของซอฟแวรเปนสวนของอัลกอริธิมทําหนาที่คํานวณขนาดของสัญญาณอินพุตที่เขามาจารระบบไฟฟาที่ปองกัน

3.2.4.1 ไมโครโปรเซสเซอร (Microprocessor) ไมโครโปรเซสเซอรทําหนาที ่ควบคุมทุกสวนของดิจิตอลรีเลย ไมโครโปรเซสเซอร

ทํางานรวมกับอุปกรณรอบขางในการควบคุมทุกสวน การคํานวณ การทดสอบตัวเอง และการติดตอสื่อสารกับระบบเครือขาย หรือรีเลยจากระบบอื่น ดิจิตอลรีเลยบางประเภทที่ตองการการคํานวณระดับสูงมีการใชงานตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอล หรือดีเอสพี (DSP) ซึ่งมีการพัฒนาใหมีความสามารถใหมีความรวดเร็วในการประมวล ซึ่งมีสมรรถนะสูงกวาไมโครโปรเซสเซอรแบบอื่นโดยทั่วไปไดมีการวิจัยและพัฒนาการออกแบบดิจิตอลรีเลยอยางตอเนื่อง การออกแบบขึ้นอยูกับชนิดของความผิดพรองที่ทําการปองกันในระบบไฟฟา มีการสรางสัญญาณเตือน และ

Page 36: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

25

จํากัดความเสียหายที่เกิดขึ้นกับระบบไฟฟาขึ้นอยูกับความผิดพรองที่เกิดขึ้น การทํางานของซอฟแวรของไมโครโปรเซสเซอรมีการเก็บไวในหนวยความจําแบบนอนโวไทล (Non-Volatile Memory) โดยมีการพัฒนาเทคโนโลยีหนวยความจําสําหรับรีเลยปองกันระบบไฟฟา มีการเพิ่มความจุของพื้นที่ในการเก็บหนวยความจํา และซอฟแวรระบบปฏิบัติการของรีเลยที่มีการทํางานดวยความซับซอนมากขึ้น 3.2.4.2 หนวยความจํา (Memory) หนวยความจําใชในไมโครโปรเซสเซอรในการปองกันระบบไฟฟากําลัง ทําหนาที่เก็บขอมูลแบงออกเปน 3 ชนิดคือ รอม (ROM: Read-Only Memory) สําหรับเก็บขอมูลไวเปนเวลานาน แรม (RAM :Random Access Memory) สําหรับใชเก็บขอมูลช่ัวคราว โดยเปนขอมูลในกระบวนการคํานวณและการบันทําขอมูลของความผิดพรองโดย อีสแควรพรอม (EEPROM : Electronically Erasable Programmable Read Only Memory) สําหรับการปรับตั้งคาและขอมูลที่สําคัญของระบบ 3.2.4.3 อุปกรณที่ตอภายนอก หนาสัมผัสที่อินพุตทําหนาที่รับสัญญาณจากภายนอก โดยตัวประมวลผลจะอานสถานะหนาส ัมผ ัสอ ินพ ุตช วยในการประมวลผล หนาส ัมผ ัส เอาท พ ุตส งส ัญญาณสั ่งการให เซอกิตเบรกเกอรทํางาน การควบคุมแบบคางคา การติดตอส่ือสารแบบอนุกรมใชติดตอส่ือสารในการควบคุมการอานคาการบันทึกขอมูลการเกิดความผิดพรอง การปรับตั้งของรีเลย และสําหรับใชในงานอื่น การติดตอทางพอรตอนุกรมดวยไอซี เปนมาตรฐานในการติดตอส่ือสาร 3.3 ดิจิตอลอัลกอริธึมของดิจิตอลรีเลย (Digital Relay Algorithm) การคํานวณขนาดของสัญญาณแรงดัน หรือสัญญาณกระแสดวยอัลกอริธึมของดิจิตอลรีเลย ใชวิธีการแยกองคประกอบความถี่หลักมูลของสัญญาณสัญญาณอินพุตออกเปนสองสวน และนําองคประกอบที่แยกออกมาคํานวณหาขนาดของสัญญาณกระแส และ/หรือแรงดัน โดยที่อัลกอริธึมที่มีการใชงานอยางแพรหลายคือ ดิสครีสฟูเรียรทรานสฟอรม (Discrete Fourier Transform :DFT) หรือ ดีเอฟที (DFT) มีวิธีการการแยกองคประกอบในการคํานวณขนาดสัญญาณแสดงดังภาพที่ 3-14

Page 37: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

26

2 2 x yI I I= +

cos tω

sin tω

ภาพที่ 3-14 การแยกองคประกอบการคํานวณดีสครีสฟูเรียรทรานฟอรม อัลกอริธึมดิสครีสฟูเรียรทรานฟอรม มีคุณสมบัติสามารถชวยลดผลของ ดีซีออฟเซต (DC Offset) ของสัญญาณอินพุตได ซ่ึงอาจเกิดขึ้นกับสัญญาณกระแสขณะเกิดฟอลต สัญญาณอนาลอกที่รับเขามาเปนฟงกชันอยูในรูปของเวลา สามารถอธิบายดวยอนุกรมฟูเรียร (Fourier Series) โดยแสดงตัวอยางสัญญาณอยูในรูปของสัญญาณกระแสไฟฟา เมื่อ (i t)

ω ω∞ ∞

= =+ +∑ ∑0

n nn n

ai(t)= a cosn t b sinn

2 01 1

0

=

(3-3)

(3-4) ω+= ∫ Ttn ta i( t )cos n tdt n , ,.........0

0 0 1 2

(3-5) ω+= =∫ Ttn tb i( t ) sinn tdt n , ,..........0

0 0 1 2

เมื่อ 0 ω เปนมุมความถี่ขององคประกอบความถี่หลักมูล และ T คือคาบเวลา จากสมการที่ 3-4 และ 3-5 แสดงองคประกอบความถี่หลักมูลของรูปสัญญาณกระแสไฟฟา โดยสามารถแยกองคประกอบความถี่หลักมูลของสัญญาณกระแสฟอลตโดยกําหนด n = 1 3.3.1 อัลกอริธึมดิสครีสฟูเรียรทราสฟอรมหนึ่งลูกคลื่น (The Full Cycles Windows Discrete Fourier Transform Algorithm)

อัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมหนึ่งลูกคลื่นคํานวณขนาดสัญญาณกระแสโดยหลักการแยกองคประกอบสัญญาณความถี่หลักมูล ดวยฟงกชันซายน และโคซายน ใหมีการแยกสัญญาณเปน xI และ yI เปนสวนจริง และสวนจินตภาพ ตามลําดับของเฟสเซอรเปนสวนของ

Page 38: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

27

องคประกอบความถี่หลักมูลของสัญญาณกระแสฟอลต ถาเวลาที่เราพิจารณาคือ ถึง เมื่อ

( )i t 0t

+t T0 xI เปนสมากรแสดงสมการ 3-6

ω+= = ∫ Ttx tI a i( t )cos td

T001

2t0 (3-6)

เมื่อ N คือจํานวนการสุมสัญญาณตอไซเคิลขององคประกอบความถี่หลักมูล tΔ ชวงเวลาการสุมขอมูล tj t j Δ= เวลาของการสุมที่ และ jth tN T Δ= เปนคาบเวลาขององคประกอบความถี่

หลักมูล จากการอินทีเกรทสมการ 3-6 สามารถแสดงไดดังตอไปนี้

( )π= =

≈ =∑N N

x j ∑ x , j jj j

2 jI i cos W i

N N N0 0

2 2 (3-7)

เมื่อ ( )j ji i t= เปนการสุมของสัญญาณแรงดันลําดับ และ jth j x,W เปนองคประกอบน้ําหลัก

ของการสุม ใชคํานวณคา jth xI กําหนดโดย

x,j jW cos t cos j tTπω= =0

2Δ (3-8)

( )x , j2 j

W =cos , j 0,1,2,......NNπ

= (3-9)

การประมาณคา yI ในเทอมของการสุมสัญญาณไมตอเนื่อง และองคประกอบน้ําหนักตามดังตอไปนี้

( )π= =

≈ =∑N N

y j ∑ y , j jj j

2 jI i sin W i

N N N0 0

2 2 (3-10)

เมื่อ j,yW เปนองคประกอบน้ําหนักของการสุมสัญญาณ ใชคํานวณ กําหนดในสมการ 3-

10

jth yI

Page 39: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

28

( )y , j2 j

W =sin , j 0,1,2,......NNπ

= (3-11)

ดังนั้นสามารถสรุปการหาคาองคประกอบของสัญญาณกระแสฟองตดวยอัลกอริธึมดิสคริสฟูเรียร แบบเต็มหนาตางขอมูลคือ

( )π=

= ∑N

x jj

jI i cos

N N0

2 2 (3-12)

( )π=

= ∑N

y jj

jI i sin

N N0

2 2 (3-13)

= +x yI I I2 2 (3-14)

3.3.2 อัลกอริธึมแบบครึ่งรูปคลื่นหนาตางขอมูล (Half-Cycle Window Discrete Fourier

Transform Algorithm) อัลกอริธึมนี้ใชพื้นฐานของความสัมพันธสัญญาณกระแสฟอลตกับฟงกชันซายน และ โคซายน ที่มีความถี่เทากับองคประกอบความถี่หลักมูลของรูปสัญญาณ ใชพื้นฐานเหมือนกับอัลกอริธึมแบบหนึ่งลูกคลื่น แตการนําขอมูลมาคาํนวณเพียงครึ่งรูปคลื่นสัญญาณ เมื่อ ,1 2xI และ ,1 2yI เปนสวนจํานวนจริง และจํานวนจินตภาพของเฟสเซอรนั้น แสดงองคประกอบความถี่หลักมูลของอัลกอริธึมครึ่งรูปคลื่น ดังสมการ 3-15 และ 3-16

ω+= ∫ Ttx,1/2 tI i( t )

( T / )00 0

22

cos tdt (3-15)

ω+= ∫ Tty,1/2 tI i( t )

( T / )00 0

22

sin tdt (3-16)

ตามขั้นตอนเดียวกันแสดงคา , 1/2xI และ , 1/2yI ในรูปแบบของการสุมสัญญาณ ji ตรงกับองคประกอบน้ําหนัก j,xW และ j,xW

=

= ∑N /

x,1/2 x , j jj

IN

2

1

4W i (3-17)

=

= ∑N /

y,1/2 y , j jj

IN

2

1

4W i (3-18)

Page 40: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

29

อัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมครึ่งคลื่น มีความเร็วในการคํานวณ แตก็มีขอเสียคือจะเกิดความคลาดเคลื่อน เมื่อสัญญาณกระแสเกิดฮารโมนิกส หรือเกิดดีซีออฟเซตกับสัญญาณ 3.4 เขตการปองกัน เขตการปองกนั คือการแบงขอบเขตการปองกันระบบไฟฟา สําหรับการตัดสวนของระบบไฟฟาออกใหนอยที่สุดเมื่อเกิดฟอลตขึ้น การแบงเขตปองกันแสดงดังภาพที่ 3-15 คือ 1. เขตปองกันเครื่องกําเนิด 2. เขตปองกันหมอแปลง 3. เขตปองกันบัส 4. เขตปองกันสายสง 5. เขตปองกันมอเตอร การแบงขอบเขตการปองกันเพื่อแบงการปองกัน โดยแตละสวนจะรับผิดชอบปองกันภายในขอบเขตการปองกันของตัวเองเปนหลัก หรือเปนการปองกันปฐมภูมิ (Primary Protection) ถาฟอลตเกิดขึ้นระบบปองกันภายในขอบเขตปองกันไมทํางาน ตองมีการปองกันสํารอง (Backup Protection) โดยจะเคลียรฟอลตออกจากระบบ การตอซีทีของขอบเขตที่อยูติดกัน มีการตอซีที โอเวอรแล็ปกัน แสดงดังภาพที่ 3-15

ภาพที่ 3-15 การแบงเขตการปองกันระบบไฟฟากําลัง

Page 41: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

30

ภาพท่ี 3-16 การตอโอเวอรแล็ปของหมอแปลงกระแสของขอบเขตปองกัน 3.5 พื้นฐานของการปองกันเซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอร (Basic Breaker Failure Protection)[8, 9] พื้นฐานของการปองกันเซอกิตเบรกเกอรแสดงดังภาพที่ 3-17 เปนลอจิกไดอะแกรมพื้นฐานการปองกันเซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอร มีสวนประกอบหลัก 3 สวน คือ 1. สวนสัญญาณเริ่มทํางานเซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอร (Breaker Failure Initiate :BFI) รับสัญญาณจากการปองกันหลัก 2. สวนตรวจับกระแส (50BF) มีการตรวจวัดกระแสจากการเกิดฟอลต ขนาดของการตรวจวัดกระแสกําหนดโดยคากระแสพิคอัพ (PickUp) ถามีกระแสไหลหลังจากการปองหลักทาํงานไดสูงกวากระแสพิคอัพ แสดงวาเกิดความขัดของกับเซอกิตเบรกเกอร 3. ไทมเมอร (62BF) เปนการหนวงเวลาแบบคงที่ ทําหนาที่หนวงเวลาหลังจากไดรับสัญญาณลอจิก BFI และ 50BF ทั้งสองสัญญาณ หลังจากมีการหนวงเวลาถึงที่กําหนดไว แลวยังมีสัญญาณลอจิกทั้งสอง แสดงวาเกิดความขัดของกับเซอกิตเบรกเกอร จะสงสัญญาณทริพเซอกิตเบรกเกอร

ภาพที ่3-17 ลอจิกไดอะแกรมพื้นฐานการปองกันรีเลยเซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอร

Page 42: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

31

3.6 สาเหตุท่ีทําใหเซอกิตเบรกเกอรทํางานขัดของ เซอกิตเบรกเกอรเกิดการทํางานขัดของในการเคลียรกระแสฟอลตที่เกิดขึ้นในระบบไฟฟากําลัง จากสถานการณตางๆ ไดดังตอไปนี้ 3.6.1 ความผิดพลาดจากการทริพ (Failure To Trip) เปนความขัดของจากหนาสัมผัสของตัวเซอกิตเบรกเกอรจะไมเปดออกหลังจากมีการจายพลังงานไปยังวงจรทริพ กรณีนี้อาจเกิดจากการเปดวงจร การลัดวงจรของสายวงจรทริพ หรือในขดลวดทริพ 3.6.2 ความผิดพลาดเนื่องจากการเคลียรฟอลต (Failure To Clear) เมื่อมีการสั่งการใหหนาสัมผัสของเซอกิตเบรกเกอรเปดออก แตการอารคไมดับลง และมีกระแสไหลอยางตอเนื่อง ทําเกิดปญหาทางกลไกลเปดไมสมบูรณ หรือเกิดปญหากับฉนวน เชนน้ํามันปนเปอน หรือการสูญเสียการเปนสูญญากาศ การตรวจสอบการทํางานของเซอกิตเบรกเกอรโดยมีการใชหนาสัมผัสชวยของเซอกิตเบรกเกอร คือหนาสัมผัสหมายเลข 52a หรือ 52b ที่มีการเปลี่ยนสถานะเพื่อแสดงสถานะของเซอกิตเบรกเกอรเปดออก หรือยังปดอยู 3.6.3 ความสูญเสียความเปนฉนวน (Loss Of Dielectric) ความเปนไปไดทําใหเกิดเซอกิตเบรกเกอรเกิดทํางานขัดของขึ้นจากการสูญเสียความดันของความเปนฉนวนแบบแกส ซ่ึงสามารถตรวจสอบความดันของแกส SF6ของเซอกิตเบรกเกอร 3.6.4 การวาบไฟที่หนาสัมผัส (Contact Flashover) การเปดของหนาสัมผัสเซอกิตเบรกเกอรสามารถทําใหความเสียหายจากความผิดพลาดได ซ่ึงเกิดจากการกระแทกกลับของการเปด เซอกิตเบรกเกอร หรือคล่ืนระลอกผานเซอกิตเบรกเกอรที่เปดออกทําใหเกิดการเบรกดาวนของฉนวนผานหนาสัมผัส 3.7 การตรวจวัดกระแสการปองกันความผิดพลาดของเซอกิตเบรกเกอร (Breaker Failure Current Detectors) จุดประสงคของการตรวจวัดกระแส ของการปองกันเซอกิตเบรกเกอรทํางานขัดของ เปนสวนสําคัญการตัดสินใจ โดยตรวจสอบวาระบบมีการไหลของกระแสอยางตอเนื่อง หลังจากเซอกิตเบรกเกอรหลักมีการทํางาน ความสําคัญของการตรวจวัดกระแสในการปองกันเซอกิตเบรกเกอรทํางานขัดของ เปนการตรวจวัดกระแสเปนแบบทันทีทันใดไมมีทิศทาง แสดงไดดังตอไปนี้ 3.7.1 การตรวจวัดกระแสเฟส (Phase Current Detectors) การตรวจวัดกระแสเฟสเปนอุปกรณตรวจวัดกระแสเกินแบบไมมีการตรวจสอบทิศทาง กับคุณลักษณะกระแสการเริ่มทํางานทันทีทันใด มีการปรับตั้งกระแสพิคอัพ 50% ของกระแสฟอลตระหวางเฟส กับเฟส และขึ้นอยูกับรูปแบบการปองกัน

Page 43: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

32

3.7.2 การตรวจวดักระแสกราวด (Ground Current Detectors) การตรวจวัดกระแสกราวดเปนการตรวจวดักระแสเกินแบบไมมีทิศทางทันททีันใด มกีารปรับตั้งที่ 30-40% ของการใชงานกระแสฟอลตเฟสถึงกราวดต่ําสุด หรือต่ํากวาการปรับตัง้กระแสพิคอัพของรีเลยปองกันกระแสเกนิตรวจสอบกระแสกราวด 3.8 องคประกอบการปรับตั้งคารีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร [8]

การปองกันเซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอร รับสัญญาณลอจิกการตรวจับกระแส (50BF) และสัญญาณลอจิกเริ่มทํางาน (BFI) องคประกอบการตั้งคาของรีเลยดังนี้ 3.8.1 การตรวจวัดกระแสตองการการปรับตั้งความไวที่เพียงพอกับผลตอบสนองทุกสภาวะของความผิดพรอง 3.8.2 การตรวจวัดกระแสหลังจากการหนวงเวลาของไทมเมอร ชวยลดผลของสัญญาณกระแสมีผลจากดีซีออฟเซต และการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส ทําใหตรวจวัดสัญญาณกระแสไดถูกตองมากขึ้น นอกจากนั้นสามารถใชตัวกรองสัญญาณแบบดิจิตอลมีการใชงานในรี เลยแบบไมโครโปรเซสเซอร กรองสัญญาณ ชวยลดผลของดีซีออฟเซตขณะเกิดฟอลต

3.8.3 การตรวจวัดกระแสเฟส และกระแสลงกราวด ที่มีการปรับตั้งความไวไมเพียงพอกับคากระแสพิคอัพสําหรับการเกิดฟอลตทุกชนิดที่เกิดขึ้น การแกไขโดยใชการตรวจวัดกระแส 50BF รวมกับตรวจจสอบรวมกับหนาสัมผัสชวยเซอกิตเบรกเกอร 52a ใชสําหรับการปองกันหมอแปลงไฟฟา หรือเครื่องกําเนิดไฟฟาเมื่อเกิดความผิดพรองที่มีกระแสฟอลตขนาดต่ําๆ

3.8.4 การปรับตั้งการหนวงเวลาของไทมเมอร ชวงระยะเวลาของคามาจิน (Margin) เปนการกําหนดปริมาณสําหรับเวลาการทํางานสูงสุดของรีเลย โดยผลรวมเวลาการกําจัดความผิดพรองจะตองนอยกวาเวลาของการเกิดความเสถียรภาพช่ัวครู (Transient Stability) และเวลาทําใหเกิดความอันตรายกับอุปกรณหลัก สายตัวนํา หมอแปลงไฟฟา การปรับตั้งไทมเมอรรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรอยูในชวง 10 ถึง 30 ไซเคิล จะเกิดอันตรายกับอุปกรณขึ้น และผูใชไฟฟาสําหรับชวงเวลาการเคลียรฟอลตกวา 30 ไซเคิล

Page 44: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

33

3.9 ไดอะแกรมเวลาการทํางานรีเลยเซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอร

ภาพท่ี 3-18 ไดอะแกรมเวลาการทํางานรีเลยเซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอร

เวลาการเคลียรฟอลตของรีเลยเซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอรจะเปนผลรวมของคาเวลาการทํางาน

นของรีเลย

พุตรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร ลเลอร

อร

กิตเบรกเกอร

ีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรขึ้นอยูกับ เวลาจุดวิกฤตการเคลียรลต

PROTECTIVERELAY

TIMER

BREAKERINTERRUPT TIME

MARGIN

TIME

AUXTRIP

RELAYTIME

LOCAL BACKUP BREAKER

INTERRUPT TIME

TRANSFER TRIP TIME

REMOTE BACKUP BREAKER

INTERRUPT TIME

TIME

TOTAL FAULT CLEARING TIME

FAULT OCCURS

BFI

62-1 BREAKER FAILURE TIMER

FAULT CLEARED

50BF

PICKUPTIME

50BF

ตางๆ ตามตอไปนี้ 1. เวลาทํางา 2. เวลาเอาทพุตรีเลย 3. เวลาการจําแนกอนิ 4. เวลาการตรวจวัดกระแส 50BF รีเลยเบรกเกอรเฟ 5. เวลาการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 6. เวลาการทํางานเอาทพุตรีเลยเบรกเกอรเฟลเล 7. เวลาการทํางานรีเลยชวยและลอคเอาทรีเลย 8. เวลาการหนวงเวลาการติดตอส่ือสาร 9. เวลาการทํางานการปองกันสํารองเซอ 10. ความเหมาะสมของเวลาเผื่อ เวลาการปรับตั้งไทมเมอรของรฟอ ที่เพียงพอสําหรับความเสถียรภาพของระบบไฟฟา องคประกอบของเวลาจุดวิกฤตการเคลียรฟอลตที่เกิดขึ้นกับระบบไฟฟาขึ้นอยูกับความรุนแรงของฟอลตที่เกิดขึ้น โหลดของระบบ ขนาดของเครื่องกําเนิด และชนิดของฟอลต โดยทั่วไปตองเคลียรฟอลตแบบสามเฟสฟอลตจะตองเคลียรฟอลตรวดเร็วกวาฟอลตที่เกิดขึ้นทุกชนิด และเวลาเคลียรฟอลตของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรตองสัมพันธกับเวลาของออโตรีโครสเซอร

Page 45: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

บทที่ 4

การออกแบบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร บทนี้กลาวถึงการออกแบบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร และทดสอบการทํางานสวนประกอบตางๆ ของรีเลยที่ออกแบบ โดยแบงออกเปนสองสวนคือ ดานฮารดแวร และดานซอฟแวร พรอมทดสอบการทํางาน เพื่อตรวจสอบความถูกตอง การทํางานของรีเลย โดยแบงการออกแบบเปนสวนๆ ดังตอไปนี้ 4.1 สวนประกอบของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร[13] รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรทําหนาที่ตรวจสอบการทํางานของเซอกิตเบรกเกอรปองกันหลักในการเคลียรฟอลตที่เกิดขึ้นกับระบบไฟฟา ในบทที่ 3 อธิบายสวนประกอบ และหลักการพื้นฐานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร สวนประกอบของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรสามารถแสดงดวยบล็อกไดอะแกรมแสดงดังภาพที่ 4-1

R MU

LTIP

LEX

A

DCPURISC16bit

WatchdogTimer

LPF

MENU

U D

VALUE

+ -

SELECT

E C

ENTER CANCELUP DOWN INC DEC

USER INTERFACE

Binary Input

LCD DISPLAY2X16

BUFFER

RELAY

RS-232

dsPIC30F4011

IN1

24V+12v-12v

5v 0v

OUT1Auxiliary Transformer

RELAY

OUT2

RAM

EEPROM

Flash Memory

LED1

LED2Power Supply

PGA

48-125/110-250 Vdc

DC

DC

Low PassFilter Signal Condition

MOV

1 2

3

4

5

6

ภาพที่ 4-1 บล็อกไดอะแกรมสวนประกอบของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร

Page 46: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

35

4.1.1 หมอแปลงกระแสชวย (Auxiliary Current Transformer) [6 , 7], [14] หมอแปลงกระแสชวยทําหนาที่แยกวงจรระหวางหมอแปลงกระแสหลักกับดิจิตอลรีเลย และชวยลดคาเบอรเดนกับหมอแปลงกระแสหลัก โดยมีจํานวนรอบทางดานทุติยภูมินอย และจํานวนรอบทางดานทุติยภูมิ มีจํานวนมาก จากภาพที่ 4-2 แสดงหมอแปลงกระแสชวยซ่ึงดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสชวยมีการตอกับวงจรปองกันเสิรจโดยคาปาซิเตอร ทางดานทุติยภูมิ มีการเปลี่ยนสัญญาณกระแสเปนสัญญาณแรงดันโดยใชตัวตานทาน นอกจากนั้นยังมีการตอวาริสเตอร(MOV) เพื่อปองกันสภาวะชั่วขณะของสัญญาณอินพุต

Auxiliary Current Transformer surge capacitor

C

C

frommainCT

to LP FilterRMOV

ภาพที่ 4-2 หมอแปลงกระแสชวย

การทดสอบหมอแปลงกระแสชวยอัตราสวน 1:100 การทดสอบโดยการจายกระแสทดสอบโดยจําลองกระแสทางดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสหลัก จากเครื่องทดสอบรีเลย DOBLE F2100 และวัดสัญญาณแรงดันไฟฟาตกครอมตวตานทานตอทางดานทุติยภูมิ แสดงดังภาพที่ 4-4 จากภาพที่ 4-5 แสดงสัญญาณแรงดันที่วัดจากออสซิโลสโคป แรงดันมีการเพิ่มขึ้นเปนสัดสวนเมื่อจายกระแสทดสอบเพิ่มขึ้นขนาด 1, 5, 10, 15 และ20 A

Page 47: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

36

ภาพที่ 4-3 เครื่องทดสอบรีเลย DOBLE F2100

ภาพที่ 4-4 การทดสอบวัดแรงดันดานทุตยิภูมิของหมอแปลงกระแสชวยเครื่องทดสอบรีเลย

DOBLE F2100

Page 48: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

37

1A5A10A15A

20A

ภาพที่ 4-5 สัญญาณแรงดันทางดานทุติยภมูิของหมอแปลงกระแสชวยโดยทดสอบจากเครื่อง ทดสอบรีเลย DOBLE F2100 จายกระแสทุติยภูมิทดสอบ 1, 5, 10, 15 และ 20 A ตารางที่ 4-1 การทดสอบสัญญาณแรงดันดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสชวย

แรงดันตกครอมตัวตานทานดานทุตยิภูมิหมอแปลงกระแสชวย กระแสทุติยภมิูท่ีทดสอบ (A) V(rms) V(p)

1 0.052 0.060 5 0.253 0.352 10 0.521 0.720 15 0.782 1.009 20 1.040 1.460

4.1.2 สวนวงจรกรองสัญณาณความถี่ต่ําและวงจรปรับแตงสัญญญาณ วงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ําที่ออกแบบเปนชนิดแอกทีฟแบบบัตเธอรเวอรดอันดับสอง รูปแบบวงจรซาเลน-คีย แสดงดังภาพที่ 4-6 และภาพที่ 4-7 แสดงโบตพลอตของวงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ํา เนื่องจากรีเลยกําหนดความถี่ในการสุมสัญญาณขอมูล 1kHz ดังนั้นกําหนดความถี่ตัดวงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ําเทากับ 120Hz เพื่อตองการลดผลสัญญาณเอเลียดซ่ิง ในการคํานวณปริมาณกระแสไฟฟา

Page 49: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

38

วงจรปรับแตงสัญญาณแสดงดังภาพที่ 4-8 มีสวนประกอบดวย 2 สวน คือ วงจรปรับอัตราการขยาย และวงจรยกระดับสัญญาณ ทําหนาที่ปรับขนาดสัญญาณ และยกระดับสัญญาณที่รับจากดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสชวย ใหเหมาะสมกับตัวแปลงสัญญาณอนาล็อกเปนสัญญาณดิจิตอล ของไมโครโปรเซสเซอร ชวยใหการคํานวณหาขนาดสัญญาณกระแสไดถูกตอง

5

67

48 X1B

LF353M(8)

R1

32k

R232k

C1 11nF

C222nF

R332k

+12V

-12V

C4

0.1uF

C3

0.1uF

Input Signal

Output Lowpass

ภาพที่ 4-6 วงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ําแบบบัตเตอร อันดับสอง

ภาพที่ 4-7 โบดพลอตของวงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ําความถี่ตัด 120Hz

Page 50: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

39

R1620k

R6

10kR8

10k

R10

5k

R11

10kR1720k

C70.1uF

48

2

31

X2A

LF353N(8)5

67

48 X2B

LF353N(8)

R7

10k

R3

10k

R2

10k

+12V

C2

0.1uF

-12V

C4

0.1uF

R95k

Ouput to ADC

Input From Lowpass Filter

ภาพที่ 4-8 วงจรปรับแตงสัญญาณ

CH1

CH2

ภาพที่ 4-9 สัญญาณทดสอบจากโปรแกรม LabVIEW CH1คือสัญาณกระแสจําลองจาก LabVIEW และ CH2 คือสัญญาณที่ผานวงจรกรองความถี่ต่ํา และวงจรปรับแตงสัญญาณ จากภาพที่ 4-9 แสดงสัญญาณผานวงจรกรองความถี่ต่ํา และวงจรปรับแตงสัญญาณโดยปรับสัญญาณใหถูกตอง และเหมาะสมกับตัวแปลงสัญญาณอนาลอกเปนสัญญาณดิจิตอลของไมโครคอนโทรลเลอร โดยมีการยกระดับสัญญาณอินพุตกระแสสลับบวกและลบใหอยูในชวงของระดับแรงดัน 0–5V เพราะตัวแปลงสัญญาณอนาล็อกเปนสัญญาณดิจิตอลของไมโครคอนโทรลเลอร dsPIC30F4011 รับแรงดันอินพุตอยูในชวง 0–5V

Page 51: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

40

4.1.3 สวนไมโครโปรเซสเซอร ไมโครโปรเซสเซอรทําหนาที่คํานวณหาขนาดของสัญญาณโดยใชสมการทางคณิตศาสตร นอกจ ากนั ้นทํ า หน า ที ่ค วบค ุม อ ุป ก รณ ภ า คอ ินพ ุต และ เ อ าท พ ุต ขอ งด ิจ ิต อล ร ีเ ล ย ไมโครโปรเซสเซอรที่ใชในงานวิจัยนี้คือ ไมโครคอนโทรลเลอรตระกูล dsPIC30F ของบริษัท ไมโครชิพ โดยเบอรที่ใชงานคือ dsPIC30F4011 เปนไมโครคอนโทรลเลอรขนาด 16 บิต มีความเร็วในการประมวลผล 30 ลานคําสั่งตอวินาที รองรับการประมวลผลทางคณิตศาสตร และการประมวลผลทางดิจิตอล มีตัวแปลงสัญญาณอนาลอกเปนสัญญาณดิจิตอล 10 บิต มีไทมเมอร และเคาทเตอรแบบ 16/32 บิตจํานวน 5 ตัว สําหรับตั้งเวลาของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร มีวงจรสุมและคางคาภายในตัวเองไมตองตอจากภายนอก มีหนวยความจําแบบแฟลตสําหรับเก็บโปรแกรมบริหารจัดการระบบ และอัลกอริธึมการคํานวณทางคณิตศาสตรมีขนาด 48 กิโลไบต มีหนวยความจําอีอีพรอมสําหรับเก็บขอมูลของการปรับตั้งคาของรีเลยขนาด 1 กิโลไบต มีหนวยความจําแรมสําหรับเก็บขอมูลจากการสุมสัญญาณขนาด 2 กิโลไบต มีพอรตอินพุต/เอาทพุต ควบคุมอุปกรณภายนอก และยังสามารถติดตออุปกรณภายนอกผานทางพอรตอนุกรม ระบบแคนบัส ไอสแควซี และดเอสไอพี

ภาพที่ 4-10 วงจรสวนไมโครโปรเซสเซอร

/MCLR1

RB0/AN0/VREF+2

RB1/AN1/VREF-3

RB2/AN24

RB3/AN35

RB4/AN46

RB5/AN57

RB6/AN68

RB7/AN79

RB8/AN810

VDD11

VSS12

OSC1/CLKIN13

OSC2/CLK0/RC1514

RC1315

RC1416

RE8/INT017

RD1/INT218

RD319

VSS(GND)20 VDD 21RD2 22INT1/RD0 23RF6 24U1TX/RF3 25U1RX/RF2 26RF5 27RF4 28RF1 29RF0 30VSS 31VDD 32RE5 33RE4 34RE3 35RE2 36RE1 37RE0 38AVSS 39AVDD 40U1

dsPIC 30F4011

Y1

7.3728MHz

C722pF

C822pF

VCC

VCCGND

GND

VCC

VCCGND

GND

VCC

Analog Input

IN1

C310uF

C410uF

C510uF

C610uF

16

26

15

1314

8710

9

1112

5

43

1

J1

MAX232

TXRX

Vcc

V+V-

GND

C1+

C1-C2+

C2-

TXRX

SW1

SW6SW2SW5

SW3SW4

VCC

C20.1uF

MCLR

C1

0.1uF

LCD_ELCD_LIGHT

LCD_RW 2 x 16 Liquid Crystal DisplayLCD_RSLCD_DB[7..0]

RS_RXRS_TXRS_CTSRS_RTS

SW1

UP

UP

SW2

DO

WN

DO

WN

SW3

INC

INC

SW4

DEC

DEC

SW5

ENT

ENT

SW6

ESC

ESC

Page 52: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

41

4.1.4 หนาตางขอมูล (Data Window) หนาตางขอมูลเปนการกําหนดจํานวนขอมูลที่รับจากตัวเอดีซี เพื่อคํานวณหาขนาดกระแส 50BF ของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร จากภาพที่ 4-11 แสดงหนาตางขอมูล มีจํานวนขอมูลจากการสุมสัญญาณ 12 ขอมูลในการคํานวณขนาดสัญญาณ ซ่ึงไมโครโปรเซสเซอรตองคํานวณใหเสร็จกอนที่จะมีการสุมสัญญาณขอมูลใหมเขามา ในการคํานวณจะมีการเลื่อนครั้งละจุด โดยการเลื่อนหนาตางขอมูลในแตละคร้ัง จะมีการใชขอมูลเดิมและขอมูลจากการสุมสัญญาณเขามาใหม 1คาในการคํานวณขนาดสัญญาณกระแส หนาตางขอมูลที่ใชในการวิจัยมีขนาดหนาตางขอมูลหนึ่งลูกคลื่น และครึ่งลูกคลื่นในการคํานวณขนาดสัญญาณ

ภาพที่ 4-11 การเลื่อนหนาตางขอมูลในการคํานวณขนาดกระแส

4.1.5 การหนวงเวลาของไทมเมอรรีเลย การหนวงเวลาของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร จะมีการหนวงเวลาโดยการนับจํานวนจากการคํานวณขนาดสัญญาณแตละครั้ง โดยถาการคํานวณ ขนาดสัญญาณกระแสคํานวณสูงกวากระแสพิคอัพจะมีการเพิ่มคาการนับจํานวนเวลาจนกวาจะครบตามที่กําหนด ดังนั้นเวลาในการหนวงจะสอดคลองกับเวลาของสัญญาณที่คํานวณ 4.1.6 สวนภาคสัญญาณลอจิกอินพุต และเอาทพุต สวนภาคอินพุตประกอบดวยออปโตคัปเปลอร (Opto Couple) ทําหนาที่รับสัญญาณลอจิกจากภายนอก ที่รับขอมูลเขามาทางภาคอินพุตของไมโครโปรเซสเซอร ซึ่งเปนสัญญาณอินพุต BFI ใชสําหรับตรวจสอบใชสําหรับการประมวลผล โดยรับสัญญาณจากรีเลยปองกันหลัก ในการเริ่มตรวจวัดกระแสฟอลตหลังจากรีเลยปองกันหลักเคลียรฟอลต

Page 53: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

42

R13

13k

D21N4472

D1

1N4690

R14

1k

R158.2k

C80.1uF

U14N26

R12

1M

C90.1uF

BFIIN1

GND

ภาพที่ 4-12 วงจรภาคอินพุต สวนภาคเอาทพุต ทําหนาทีส่งสัญญาณลอจิกเอาทพุต ไปยังรีเลยลอคเอาท (หมายเลขอุปกรณ 86) เพื่อส่ังเปดวงจรเบรกเกอรใกลเคียงเซอกิตเบรกเกอรหลัก

+12V

IN11

IN22

IN33

IN44

IN55

IN66

IN77

OUT1 16

OUT3 14

OUT4 13

OUT5 12

OUT6 11

OUT7 10

OUT2 15

COM 9GND8

U3

DS2003MJ

ภาพที่ 4-13 จรภาคเอาทพุต 4.1.7 สวนติดตอกับรีเลย ประกอบดวยสวิทชปรับตั้งคาของดิจิตอลรีเลย สวนแสดงผลแบบแอลซีดีแบบตัวอักษรขนาด 2x16 ตัวอักษร สําหรับขอมูลรีเลย สวนติดตอสื่อสารสําหรับติดตอกับรีเลย หรือคอมพิวเตอรภายนอก สวนควบคุมระยะไกลสําหรับรับขอมูลที่ใชในการปองกันสํารองแบบระยะไกล 4.1.8 แหลงจายไฟ รับแรงดันไฟตรงชวง 48-125 Vdc และ/หรือ 110-250 Vdc จากแหลงจายของสถานีไฟฟา โดยแปลงแรงดันลดลงเหลือ ±12V , 24 Vdc สําหรับวงจรอนาลอกและวงจรรีเลยเอาทพุต และแรงดันขนาด 5 Vdc สําหรับวงจรดิจิตอล

D4Diode 1N4007

+12V

Output01K?Relay-SPDT

Out1

Out2

Page 54: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

43

4.2 อัลกอริธึมคํานวณขนาดสัญญาณกระแส การคํานวณหาขนาดสัญญาณกระแสเปนองคประกอบสําคัญของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร อัลกอริธึมที่นิยมใชคํานวณคือ อัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรม โดยจะรับสัญญาณขอมูลเขามาเพื่อแยกองคประกอบสัญญาณออกเปนสองสวน สําหรับคํานวณหาขนาดสัญญาณ ในงานวิจัยนี้ใชอัลกอริธึมในการคํานวณหาขนาดสัญญาณดังนี้ 4.2.1 อัลกอริธึมดิสครีตฟูเรียรทรานฟอรมหนึ่งลูกคลื่น

( )π=

= ∑N

xn

[ n ]I I [ n ] cos

N N0

2 2 (4-1)

( )π=

= ∑N

yn

[ n ]I I [ n ] sin

N N0

2 2 (4-2)

2 2x yI= I +I (4-3)

4.2.2 อัลกอริธึมดิสครึตฟูเรียรทรานฟอรมครึ่งลูกคลื่น

( )π=

= ∑N /

x,1/2n

[ n ]I I [ n ] cos

N N

2

0

4 2 (4-4)

( )π=

= ∑N /

y , /n

[ n ]I I [ n ] sin

N N

2

1 20

4 2 (4-5)

21/ 2 ,1/ 2 ,1/ 2 x yI I I= + 2 (4-6)

4.3 การทดสอบทางดานซอฟแวรของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร การทดสอบซอฟแวรการทํางานไมโครคอนโทรลเลอร ทดสอบการแสดงผลของจอแอลซีดีแบบตัวอักษรใชแสดงขนาดกระแสที่คํานวณ การแสดงเมนูเวลาตั้งคาของรีเลย ทดสอบสวิทชควบคุมใชสําหรับเลือกเมนู และการปรับตั้งคาภายในรีเลย ทดสอบการรับสัญญาณลอจิกทางภาคอินพุตเปนสัญญาณอินพุต BFI จากภายนอกเขารีเลย และทดสอบการสงสัญญาณเอาทพุตผานหนาสัมผัสสําหรับควบคุมวงจรทริพเซอกิตเบรกเกอร นอกจากนั้นมีการทดสอบการคํานวณดวยอัลกอริธึมใชสําหรับการคํานวณหาขนาดของสัญญาณกระแสในสภาวะปกติ และสภาวะเมื่อเกิดฟอลต คํานวณหาขนาดของสัญญาณกระแส โดยทดสอบการคํานวณสัญญาณกระแสของอัลกอริธึมทั้งสาม ดวยการจายกระแสจากเครื่องทดสอบรีเลย และจําลองสัญญาณกระแสที่วัดจาก

Page 55: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

44

หมอแปลงกระแสชวย ดวยโปรแกรม LabVIEW สรางสัญญาณผานทางการด PCI6024E ซ่ึงสามารถสรางสัญญาณแรงดันเอาทพุตไดสูงสุด 10V± 4.3.1 การคํานวณขนาดสัญญาณกระแสดวยอัลกอริธึมทั้งสองแบบ การทดสอบการควณขนาดสัญญาณกระแสโดยจายกระแสจากเครื่องทดสอบรีเลย โดยจายกระแสเพิ่มขึน้เปนลําดับ จาก 5A ถึง 50A ผลการคํานวณแสดงดังตาราง 4-2 ตารางที่ 4-2 ทดสอบอัลกอริธึมการคํานวณขนาดกระแส

คํานวณดวยอัลกอริธึม กระแสทดสอบ (A) ดีเอฟทีหนึ่งลกูคล่ืน (A) ดีเอฟทีคร่ึงลูกคล่ืน (A)

5.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0

4.98 9.95 20.02 30.05 40.02 50.04

4.95 9.88 19.95 29.87 40.06 50.09

จากตารางที่ 4-2 จะเห็นวาไมโครคอนโทรลเลอร สามารถคํานวณขนาดของสัญญาณกระแสถูกตอง ตามสัญญาณกระแสที่ทดสอบไดถูกตอง ตามกระแสที่ทดสอบดวยเครื่องทดสอบรีเลยดวยอัลกอริธึมทั้งสองแบบ 4.3.2 การทดสอบการคํานวณขนาดสญัญาณกระแสในสภาวะเมื่อเกิดสภาวะเกิดฟอลตดวยอัลกอริธึมทั้งสองแบบ การทดสอบโดยนําสัญญาณกระแสจากโปรแกรม PSCAD/EMTPDC ในสภาวะปกติตอเนื่องจนเกิดสภาวะเกิดฟอลต ที่มีผลของดีซีออฟเซตในชวงแรกของการเกิดความเกิดฟอลต โดยสรางสัญญาณดวยโปรแกรม LabVIEW ผานการด DAQ6024E จําลองสัญญาณแรงดันหมอแปลงกระแสชวย จายใหไมโครคอนโทรลเลอรคํานวณดวยอัลกอริธึมทั้งสองรูปแบบ โดยการนําผลจากการคํานวณภายในไมโครคอนโทรลเลอรจากการดีบักดวยเครื่องดีบัก ICD2 รวมกับโปรแกรม MPLAB พล็อตเปรียบเทียบกับผลการคํานวณดวยโปรแกรม LabVIEW

Page 56: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

45

4.3.2.1 การคํานวณสัญญาณดวยอัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมหนึ่งลูกคลื่น

0 50 100 150 200 250

-50

0

50

100

Samples

Ampli

tude

(A)

ภาพที่ 4-14 สัญญาณกระแสทดสอบจากโปรแกรม LabVIEW จําลองสภาวะปกติ และเมื่อเกิด

ความผิดพรองมีผลของแรงดันไฟตรง การคํานวณขนาดกระแสไดถูกตอง

0 50 100 150 200 2500

10

20

30

40

50

60

Samples

Ampli

tude

(A)

LabVIEW

dsPIC30F4011

ภาพที่ 4-15 ผลการคํานวณขนาดของสัญญาณกระแสฟอลตโดยเปรียบเทียบระหวางการคํานวณ ดวยโปรแกรม LabVIEW กับผลการคํานวณภายในไมโครคอนโทรลเลอร

Page 57: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

46

จากภาพที่ 4-15 การเปรียบเทียบการคํานวณขนาดสัญญาณกระแสดวยอัลกอริธึมดีสครีตฟูเร ียรทรานฟอรมหนึ ่งลูกคลื ่น จะเห็นวาเสนประเปนผลจากการคํานวณดวยโปรแกรม LabVIEWและเสนทึบเปนผลการคํานวณภายในไมโครคอนโทรลเลอร จะเห็นวาผลการคํานวณขนาดกระแสฟอลตทั้งสองไดถูกตองตรงกัน ในสภาวะกระแสปกติ และสภาวะสัญญาณกระแสเกิดฟอลตมีผลของดีซีออฟเซต ผลการคํานวณขนาดสัญญาณทั้งสองถูกตองตรงกัน 4.3.2.2 การคํานวณสัญญาณดวยอัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมครึ่งลูกคลื่น

ภาพที่ 4-16 สัญญาณกระแสทดสอบจากโปรแกรม LabVIEW จําลองสภาวะปกติ และเมื่อเกิดฟอลตที่มีผลของดีซีออฟเซต ดวยอัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมครึ่งลูกคลื่น

0 50 100 150 200 250-50

0

50

100

Samples

Ampli

tude

(A)

การคํ านวณสัญญาณด วยอัลกอริ ธึมดีสครีตฟู เ รี ยรทรานฟอรมครึ่ ง ลูกคลื่ น โดยไมโครคอนโทรลเลอรจะสุมสัญญาณเพียงครึ่งลูกคลื่น ดวยความถี่สุมขอมูล 500Hz จากภาพที่ 4-16 เสนประเปนขนาดของสัญญาณกระแสที่คํานวณไดจากโปรแกรม LabVIEW จะเห็นวาอัลกอริธึมสามารถคํานวณขนาดของสัญญาณกระแสไดถูกตองในสภาวะปกติ แตในสภาวะที่เกิดฟอลต และมีผลของดีซีออฟเซต จะเห็นวาอัลกอริธึมคํานวณสัญญาณไดไมถูกตองตรงกับขนาดสัญญาณจริง และเมื่อผานชวงเวลาที่มีผลของดีซีออฟเซต อัลกอริธึมสามารถคํานวณขนาดกระแสไดถูกตอง

Page 58: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

47

0 50 100 150 200 2500

20

40

60

80

100

Samples

Ampli

tude

(A)

LabVIEW

dsPIC30F4011

ภาพที่ 4-17 ผลการคํานวณขนาดของสัญญาณกระแสฟอลตโดยเปรียบเทียบระหวางการคํานวณ ดวยโปรแกรมLabVIEW กับผลการคํานวณภายในไมโครคอนโทรลเลอร จากภาพที่ 4-17 เปนผลการเปรียบเทียบผลของการคํานวณขนาดสัญญาณกระแส โดยเสนประเปนผลการคํานวณดวยโปรแกรม LabVIEW และเสนทึบผลการคํานวณภายในไมโครคอนโทรลเลอร นําขอมูลจากโปรแกรม MPLAB ขนาดของสัญญาณที่คํานวณไดจากการเปรียบเทียบทั้งสองตรงกัน จะเห็นวาการคํานวณขนาดสัญญาณกระแสดวยอัลกอริธึมนี้จะคํานวณขนาดสัญญาณไดไมถูกตองเมื ่อสัญญาณกระแสฟอลตมีผลของดีซีออฟเซต เมื ่อสัญญาณกระแสผานชวงผลของดีซีออฟเซตก็สามารถคํานวณขนาดสัญญาณไดอยางถูกตอง 4.4 สรุปผลการออกแบบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร การออกแบบและสรางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร แบงการออกแบบเปน 2 สวน คือ สวนของฮารดแวร และซอฟแวร ในสวนของการออกแบบดานฮารดแวรแบงออกแบงออกเปน สวนการวัดสัญญาณกระแสโดยใชหมอแปลงกระแสชวย โดยทําหนาที่ชวยเปลี่ยนสัญญาณกระแสเปนแรงดัน

Page 59: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

48

ดวยตัวตานทานที่ตอทางดานทุติยภูมิ สัญญาณแรงดันที่ไดถูกสงตอไปยังวงจรกรองสัญญาณความถี่ต่ํ า และวงจรปรับแตงสัญญาณ เพื่อปรับสัญญาณให เหมาะสมกับตัว เอดี ซีของไมโครคอนโทรลเลอร เพื่อความถูกตองในการคํานวณขนาดสัญญาณกระแส นอกจากนั้นมีการออกแบบภาคอินพุต ซ่ึงเปนสวนที่สําคัญของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร ทําหนาที่รับสัญญาณอินพุตจากภายนอกสําหรับการประมวลผล นอกจากนั้นยังมีสวนของการแสดงผลดวยจอแอลซีดี แบบตัวอักษร และสวนของสวิทชสําหรับปรับตั้งคาของรีเลย การออกแบบดานซอฟแวร โดยออกแบบระบบควบคุมการทํางานของรีเลย และสวนที่สําคัญอีกสวนหนึ่งคือ อัลกอริธึมในการคํานวณขนาดสัญญาณกระแส ซ่ึงในวิทยานิพนธใชอัลกอริธึม 2 รูปแบบ ซ่ึงผลจากการทดสอบการคํานวณขนาดสัญญาณกระแสฟอลต อัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมหนึ่งลูกคลื่น สามารถคํานวณขนาดกระแสไดถูกตองที่สุด ทั้งในสภาวะกระแสปกติ และเมื่อเกิดฟอลตขึ้นแลวเกิดผลของดีซีออฟเซต โดยการคํานวณขนาดสัญญาณกระแสโดยการเล่ือนหนาตางขอมูลคร้ังละหนึ่งลูกคล่ืน อัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมครึ่งลูกคล่ืนการคํานวณขนาดสัญญาณกระแสใชหนาตางขอมูลครึ่งลูกคลื่น ทําใหการคํานวณขนาดกระแสไดรวดเร็ว การหนวงเวลาของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรจะใชการนับจํานวนในการคํานวณขนาดสัญญาณกระแส แตละครั้ง ทําใหการหนวงเวลาของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรไดถูกตองมากขึ้น จะเห็นวาการใชไมโครคอนโทรลเลอรสรางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร มีขอดีคือ ภายในไมโครคอนโทรลเลอรมีสวนประกอบตางๆ ที่ใชงานสําหรับรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร คือ ตัวมัลติเพล็กเลือกสัญญาณ ชุดสุมสัญญาณและคางคา ตัวเอดีซี และไทมเมอร ทําใหรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่สรางมีขนาดเล็กลงอยางมาก

Page 60: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

บทที่ 5

การทดสอบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร จากการออกแบบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรในบทที่ 4 เปนการออกแบบและการทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเบื้องตน บทนี้เปนการทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่สรางขึ้น โดยเริ่มจากการทดสอบกระแสพิคอัพ และดรอบเอาท ทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรทั้งการตรวจวัดกระแส และการหนวงเวลาของไทมเมอร การทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยแบบแผนการปองกันแบบตางๆ นอกจากนั้นยังทดสอบผลการคํานวณขนาดสัญญาณดวยอัลกอริธึม 2 แบบ โดยนําขอมูลสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTPDC มาทดสอบการทํางาน โดยสรางสัญญาณทดสอบผานโปรแกรม LabVIEW ดวยการด DAQ6024E เพื่อดูผลการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่สรางขึ้น 5.1 การทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยการทดสอบสัญญาณแรงดนัระดับต่ํา[19] การทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยสัญญาณแรงดันระดับต่ํา เปนการทดสอบโดยการจําลองสัญญาณแรงดันทางดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสชวย สามารถทดสอบการทํางานของรีเลยในสภาวะกระแสปกติ และการทํางานของรีเลยในสภาวะเกิดฟอลต การทดสอบนําสัญญาณกระแสฟอลตจากโปรแกรม PSCAD/EMTPDC สรางสัญญาณกระแสทดสอบดวยโปรแกรม LabVIEW ผานการด DAQ6024E สามารถสรางสัญญาณแรงดันได

แทนกระแสทางดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสหลัก กอนทดสอบมีการปรับแตงสัญญาณใหตรงกับสัญญาณแรงดันทางดานทุติยภูมิจากการทดสอบดวยเครื่องทดสอบรีเลยDOBLE F2100 การทดสอบโดยปอนสัญญาณใหกับรีเลยสองตัว คือ รีเลยการปองกันหลักและรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่ทดสอบ และวัดสัญญาณลอจิกจากเอาทพุตของรีเลยทั้งสองเปรียบเทียบการทํางานดวยออสซิลโลสโคป แสดงดังภาพที่ 5-2

10V±

Page 61: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

50

ภาพที่ 5-1 การทดสอบรีเลยดวยสัญญาณแรงดันระดับต่ํา

ภาพที ่5-2 การทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรสรางสัญญาณกระแสฟอลตทดสอบดวยโปรแกรม LabVIEW

MAIN PROTECTION

BREAKER FAILUREPROTECTION

LOGIC BFI

LOGIC BFR

BINARY INPUT

TRIP BACKUP BREAKER

BFI

SET

RESETAND

TIMER 62BFBFI

50BF

DAQ 6024ELabVIEW

SIGNAL TEST Low Level

CH2CH1

Oscilloscope

Page 62: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

51

5.2 ทดสอบกระแสพิคอัพ และดรอบเอาท การทดสอบการตรวจตรวจสอบกระแสพิคอัพโดยการปรับตั้งกระแสพิคอัพที่รีเลย แลวจายกระแสทดสอบจากเครื่องทดสอบรีเลยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และตรวจสอบการทํางานของรีเลยเมื่อถึงจุดกระแสพิคอัพรีเลยจะสงสัญญาณทริพโดยสงสัญญาณไปยังคอนแท็คเอาทพุต การทดสอบกระแสดร็อบเอาทของรีเลยโดยลดกระแสจากการพิคอัพลงเปนลําดับขั้น และตรวจสอบรีเลยจนกวารีเลยจะสั่งการตัดคอนแท็คของรีเลยซ่ึงจะเปนกระแสดรอบเอาท ตารางที่ 5-1 การทดสอบกระแสพิคอัพ และกระแสดรอบเอาทของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร

กระแสพิคอัพ (A) กระแสรีเลยพิคอัพ (A) กระแสรีเลยดรอบเอาท (A)

1 1.20 0.75 5 5.35 4.60 10 10.25 9.55 15 15.10 14.35 20 19.90 19.40

จากการทดสอบกระแสพิคอัพ และดรอบเอาท ของรีเลยเบรกเกอรเฟลเฟอลที่ออกแบบ และสรางขึ้น จะเห็นวารีเลยจะพิคอัพตรงกับคากระแสพิคอัพที่ตั้งไวที่รีเลย และการทดสอบการดรอบเอาทเมื่อสัญญาณกระแสลดต่ําลงมานอยกวากระแสพิคอัพที่ปรับตั้ง ความถูกตองของกระแสพิคอัพ และดรอบเอาทถูกตองไมเกิน 5 % 5.3 ทดสอบแบบแผนการปองกันของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร แบบแผนการปองกันของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรในงานวิจัยนี้แบงออกเปน 2 รูปแบบประกอบดวย แบบแผนการปองกันแบบที่ 1 เปนแบบแผนการปองกันพื้นฐาน และแบบแผนการปองกันแบบที่ 2 โดยแบบแผนการปองกันของรีเลยเซอรกิตเบรกเกอรเฟลเลอรทั้งสองแบบมีองคประกอบพื้นฐานสองสวนคือ การตรวจจับกระแสความผิดพรอง (50BF) และการตั้งเวลา (62BF) การทดสอบความถูกตองในการตรวจวัดกระแสโดยการทดสอบกระแสพิคอัพ และกระแสดรอบเอาทของรีเลย แสดงการทดสอบดังตารางที่ 5-1 จากภาพที่ 5-3 เปนไดอะแกรมการทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร การทดสอบมีการตรวจวัดการกระแส การรับสัญญาณ BFI จากรีเลยปองกันหลัก การหนวงเวลา จะนําขอมูลตางๆ เหลานี้มาประมวลผลสัญญาณกระแส เพื่อตรวจสอบการทํางานของเซอกิตเบรกเกอรหลัก ในการเคลียรฟอลต เพื่อตรวจสอบการทํางานของเซอกิตเบรกเกอร [7], [9]

Page 63: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

52

ภาพที่ 5-3 ไดอะแกรมการทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร

5.3.1 แบบแผนการปองกันรูปแบบที่ 1

50BF

BFITimer

62-1

AND Breaker FailureScheme Output

ภาพท่ี 5-4 พื้นฐานแบบแผนการปองกันรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 5.3.2 แบบแผนการปองกันรูปแบบที่ 2 50BF

BFI Timer

62-1

AND Breaker FailureScheme Output

Enables 50BF

ภาพท่ี 5-5 แบบแผนการปองกนัแบบหนวงเวลากอนตรวจวัดกระแส

Page 64: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

53

5.3.3 การทดสอบการทํางานเมื่อระบบการปองกันหลักเคลียรฟอลตโดยสมบูรณ ทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรโดยสรางกระแสฟอลตที่ถูกเคลียรโดยเซอกิตเบรกเกอรหลักกอนถึงเวลาที่ไทมเมอรหนวงเวลา การทดสอบมีการตั้งคาไทมเมอร 0.200S ปรับตั้งกระแสพิคอัพ 30A

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4

-505

Fault Current

Time (S)

P.U.

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012

Status Logic Main Protection

Time (S)

Logic

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012

Status Logic BFR

Time (S)

Logic

0.103S

0.182SBFI

0.285S ภาพที่ 5-6 สัญญาณลอจิกเมื่อรีเลยปองกนัหลักเคลียรฟอลตกอนไทมเมอรรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร

หนวงเวลาครบตามกําหนดไว (200S) จากผลการทดสอบ สัญญาณกระแสฟอลต ที่ทดสอบใหกับรีเลยทั้งสอง รีเลยปองกันหลักสงสัญญาณลิจิก BFI เร่ิมตนที่เวลา 0.103S สัญญาณกระแสฟอลตสูงกวาคาพิคอัพตอเนื่องเปนเวลา 0.182S แลวกระแสลดลงเปนศูนย อาจจะเกิดจากเซอกิตเบรกเกอรหลักเปดวงจรเคลียรฟอลต ซ่ึงระยะเวลานอยกวาเวลาที่หนวงภายในรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร (0.200S) รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรไมสงสัญญาณทริพเซอกิตเบรกเกอร

Page 65: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

54

5.3.4 การทดสอบการทํางานเมื่อกระแสฟอลตดรอบเอาท ทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อกระแสฟอลตลดลงต่ํากวากระแสดรอบเอาท กอนถึงการหนวงเวลาของไทมเมอร การทดสอบมีการตั้งคาไทมเมอร 0.200S ปรับตั้งกระแสพิคอัพ 30A

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4

-5

0

5Fault Current

Time(S)

P.U.

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012

Status Logic Main Protection

Time(S)

Logic

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012

Status Logic BFR

Time(S)

Logic

0.103S

BFI0.182S

Droupout

0.285S ภาพที ่5-7 สัญญาณลอจิกสัญญาณกระแสฟอลตดรอบเอาทไทมเมอรรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร

หนวงเวลาครบตามกําหนด(200S) จากผลการทดสอบ สัญญาณกระแสฟอลต โดยจายสัญญาณใหกับรีเลยทั้งสอง รีเลยปองกันหลักสงสัญญาณลิจิก BFI เริ่มตนที่เวลา 0.103S สัญญาณกระแสฟอลตสูงกวาคาพิคอัพตอเนื่องเปนเวลา 0.182S แลวกระแสลดลงต่ํากวากระแสดรอบเอาท ซ่ึงระยะเวลานอยกวาเวลาที่หนวงภายในรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร รีเลยไมสงสัญญาณทริพ

จากการทดสอบดวยกระแสฟอลตทั้งสองแบบ เปนการยืนยันวาการตรวจวัดกระแส และการตั้งเวลาภายในของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่สรางขึ้นทํางานไดถูกตอง ในการคํานวณขนาดของสัญญาณกระแสฟอลตในสภาวปกติ และเมื่อเกิดฟอลต การหนวงเวลาของไทมเมอรภายในรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรหนวงเวลาไดถูกตอง

Page 66: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

55

5.4 การทดสอบการคํานวณกระแสอัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรม 2 รูปแบบ การทดสอบการทํางานการคํานวณภายในของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยอัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรม 2 รูปแบบ พรอมทั้งทดสอบแบบแผนการปองกันรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 2 แบบ 5.4.1 การทดสอบการทํางานรีเลยดวยอัลกอริธึมดรีสคีตฟูเรียรทรานฟอรมหนึ่งลูกคลื่น 5.4.1.1 การทดสอบการทํางานดวยแบบแผนการปองกันแบบที่ 1 การทดสอบการทํางานดวยอัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมหนึ่งลูกคลื่น คํานวณสัญญาณกระแส ปรับตั้งกระแสพิคอัพ 30A และไทมเมอร 0.200S

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4

-505

Fault Current

Time(S)

P.U.

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1

0

1

2Status Logic Main Protection

Time(S)

Logic

Time(S)0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1

0

1

2Status Logic BFR

Logic

0.103S

BFI 0.207S

0.310S ภาพที่ 5-8 ผลการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรโดยใชแบบแผนการปองกันที่ 1 ดวย

อัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมหนึ่งลูกคลื่น จากการทดสอบเมื่อจายกระแสทดสอบรีเลยปองกันหลักสงสัญญาณลิจิก BFI ที่เวลา 0.103S รีเลยคํานวณสัญญาณกระแสสูงกวาคาพิคอัพ รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรหนวงเวลา 0.200S แลวจึงตรวจวัดกระแสฟอลตถายังสูงกวาคาพิคอัพ แสดงวาเซอกิตเบรกเกอรทํางานขัดของ รีเลยสงสัญญาณทริพที่เวลา 0.310S ระยะเวลาทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 0.207S

Page 67: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

56

5.4.1.2 การทดสอบการทํางานดวยแบบแผนการปองกันแบบที ่2

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4

-505

Fault Current

Time(S)

P.U.

Time(S)

Time(S)

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012 Status Logic Main Protection

Logic

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012 Status Logic BFR

Logic

0.103S 0.312S

0.209SBFI

ภาพที่ 5-9 ผลการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรโดยใชแบบแผนการปองกันที่ 2 ดวยอัลกอริธึม

ดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมหนึ่งลูกคลื่น จากการทดสอบเมื่อจายกระแสทดสอบรีเลยปองกันหลักสงสัญญาณลิจิก BFI ที่เวลา 0.103S รีเลยคํานวณสัญญาณกระแสสูงกวาคาพิคอัพ รีเลยเบรกเกอรเฟล หนวงเวลา 0.200S แลวตรวจวัดกระแสฟอลตถายังสูงกวาคาพิคอัพ แสดงวาเซอกิตเบรกเกอรทํางานขัดของ รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรสงสัญญาณทริพที่เวลา 0.312S ระยะเวลาทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 0.209S 5.4.2 การทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยอัลกอริธึมดรีสคีตฟูเรียรทรานฟอรม คร่ึงลูกคลื่น การทดสอบการทํางานดวยอัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมครึ่งลูกคลื่น คํานวณสัญญาณกระแส ปรับตั้งกระแสพิคอัพ 30A และไทมเมอร 0.200S ทดสอบดวยสัญญาณกระแสฟอลตเมื่อเซอกิตเบรกเกอรทํางานขัดของ

Page 68: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

57

5.4.2.1 การทดสอบการทํางานดวยแบบแผนการปองกนัแบบที่ 1

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4

-505

Fault Current

Time(S)

P.U.

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012 Status Logic Main Protection

Time(S)

Logic

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012 Status Logic BFR

Time(S)

Logic

0.095S 0.299S

BFI0.204S

ภาพที่ 5-10 ผลการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรโดยใชแบบแผนการปองกันที่ 1 ดวยอัลกอริธึม

ดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมครึ่งลูกคลื่น จากภาพที่ 5-10 แสดงการทดสอบเมื่อจายกระแสทดสอบใหกับรีเลยทั้งสอง โดยที่รีเลยปองกันหลักสงสัญญาณลิจิก BFI ที่เวลา 0.095S รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรคํานวณสัญญาณขนาดกระแสฟอลตถาสูงกวาคากระแสพิคอัพ รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร จะหนวงเวลา 0.200S แลวตรวจวดักระแสฟองตถายังสูงกวาคากระแสพิคอัพ แสดงวาเซอกิตเบรกเกอรหลักทํางานขัดของ รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรจะสงสัญญาณทริพที่เวลา 0.299S ระยะเวลาที่รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 0.204S ทํางาน

Page 69: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

58

5.4.2.2 การทดสอบการทํางานดวยแบบแผนการปองกนัแบบที่ 2

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4

-505

Fault Current

Time(S)

P.U.

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012

Status Logic Main Protection

Time(S)

Logic

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1

0

12

Status Logic BFR

Time(S)

Logic BFI

0.205S

0.095S 0.300S ภาพที่ 5-11 ผลการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรโดยใชแบบแผนการปองกันที่ 2 ดวยอัลกอริธึม

ดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมครึ่งลูกคลื่น จากภาพที่ 5-11 การทดสอบเมื่อจายกระแสทดสอบใหกับรีเลยทั้งสอง โดยที่รีเลยปองกันหลักสงสัญญาณลิจิก BFI ที่เวลา 0.095S รีเลยคํานวณขนาดสัญญาณกระแสสูงกวาคากระแสพิคอัพ รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรจะหนวงเวลา 0.200S แลวตรวจจับกระแสฟอลตถายังสูงกวาคากระแสพิคอัพ แสดงวาเซอกิตเบรกเกอรหลักทํางานขัดของ รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรจะสงสัญญาณทริพที่เวลา 0.300S ระยะเวลาทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 0.205S

Page 70: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

59

ตารางที่ 5-2 ผลเปรียบเทียบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยอัลกอริธึม 2 แบบ

เวลาการทํางานของรีเลเบรกเกอรเฟลเลอร (mS) อัลกอริธึม

แบบแผนการปองกันแบบที่1 แบบแผนการปองกันแบบที่2

ดีเอฟทีหนึ่งลกูคล่ืน 207 209 ดีเอฟทีคร่ีงลูกคล่ืน 204 205

จากตารางที่ 5-2 ผลการเปรียบเทียบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร ดวยการคํานวณของอัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรม 2 แบบ จะเห็นวา อัลกอริธึมออดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมครึ่งลูกคลื่นสามารถคํานวณสัญญาณไดรวดเร็วที่สุด ทําใหรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรทํางานไดถูกตองตรงกับเวลาที่ปรับตั้งไทมเมอรภายในที่สุด เพราะการหนวงเวลาจะมีการตรวจวัดกระแสพรอมกัน เมื่อทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยแบบแผนการปองกันแบบที่ 1 และ แบบแผนการปองกันที่ 2 จากการทดสอบจะเห็นวาการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวย แบบแผนการปองกันที่ 1 เวลาการทริพของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร จะทํางานเร็วกวาแบบแผน การปองกันที่ 2 เพราะวาจะมีการตรวจวัดกระแส 50BF พรอมกับการหนวงเวลาของไทมเมอรของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร โดยที่การหนวงเวลาจะสอดคลองกับสัญญาณกระแสที่คํานวณ 5.5 การทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเนื่องจากการเกิดอ่ิมตัวของหมอแปลงกระแส การทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยสัญญาณกระแสฟอลตทําใหเกิดการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส เปนผลจากการทดลองจริง [20] แสดงดังภาพที่ 5-12 ทดสอบกระแสฟอลตมีขนาด 55 A จากการทดสอบกําหนดคา X/R เทากับ 40 หมอแปลงกระแสใชสําหรับทดสอบอัตราสวน 1:1 คาเบอรเดน 1Ω เพื่อใหเกิดการอิ่มตัวกับหมอแปลงกระแส จะเห็นวาสัญญาณกระแสฟอลตเกิดการอิ่มตัวมีการลดทอนของสัญญาณ แลวนําสัญญาณกระแสฟอลต ที่ไดทดสอบดวยการคํานวณของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร เพื ่อดูผลของการคํานวณขนาดกระแสฟอลต เมื่อสัญญาณกระแสฟอลตเกิดการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส

Page 71: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

60

IDMComputerMATLAB

R

Y

B

N

Xs XL RLFault

selectorsFault switch

Load

Rn

CT&VT

ภาพที ่5-12 การทดสอบสัญญาณกระแสฟอลตโดยเกดิการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส

0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4 0.45 0.5-60

-40

-20

0

20

40

60

Time(S)

AMPL

ITUD

E(A)

Signal InputCalculate

Amplitude

ภาพที่ 5-13 ผลการคํานวณขนาดสัญญาณกระแสฟอลตเมื่อเกิดการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส

Page 72: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

61

จากภาพที่ 5-13 การทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยสัญญาณกระแสฟอลตทําใหเกิดการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส การคํานวณใชอัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมหนึ่งลูกคลื่นคํานวณ เพราะวาสามารถคํานวณขนาดของสัญญาณไดถูกตองที่สุด ทั้งในภาวะกระแสปกติ และเมื่อเกิดฟอลต โดยขนาดสัญญาณกระแสที่คํานวณไดเมื่อเกิดการอิ่มตัวหมอแปลงกระแสมีขนาด 40A ซ่ึงมีขนาดต่ํากวากระแสจริงคือ 55A 5.5.1 การทดสอบการทํางานเมื่อเกิดการอิม่ตัวของหมอแปลงกระแส การทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร โดยสัญญาณกระแสฟอลตเกิดจากการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส โดยการทดสอบการทํางาน ปรับตั้งกระแสพิคอัพ 45A และไทมเมอรของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 0.200S

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4

-505

Fault Current

Time(S)

P.U.

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012

Status Logic Main Protection

Time(S)

Logic

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012

Status Logic BFR

Time(S)

Logic BFI

0.179S ภาพที่ 5-14 การทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเกิดการอิ่มตวัของหมอแปลงกระแส โดยท่ี รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรไมสงสัญญาณทริพ เนื่องจากการคํานวณขนาดกระแสฟอลต ต่ํากวากระแสพคิอัพ

Page 73: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

62

จากภาพที่ 5-14 รีเลยปองกันหลักจะสงสัญญาณลอจิก BFI ที่เวลา 0.179S และรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรหนวงเวลา 0.200S แลวทําการตรวจวัดขนาดสัญญาณกระแสพบวากระแสฟอลตที่คํานวณไดมีขนาด 40A ต่ํากวาคากระแสพิคอัพ (45A) รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรไมสงสัญญาณทริพ ทั้งที่เซอกิตเบรกเกอรหลักไมทํางาน หรือเกิดทํางานขัดของ 5.5.2 การทดสอบการทํางานเมื่อการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแสชั่วขณะ การทดสอบการทํางานเมื่อหมอแปลงกระแสเกิดการอิ่มตัวช่ัวขณะ จากภาพที่ 5-15 แสดงการคํานวณสัญญาณกระแสในชวงที่สัญญาณกระแสเกิดการอิ่มตัวประมาณ 6 ไซเคิล ขนาดของสัญญาณกระแสที่คํานวณไดไมตรงกับสัญญาณกระแสฟอลตจริงที่เกิดขึ้นคือ 50A เมื่อสัญญาณกระแสฟอลตชวงระยะเวลาตอมาไมเกิดการอิ่มตัว การคํานวณขนาดสัญญาณกระแสฟอลตไดถูกตองตรงกับกระแสฟอลตจริงที่เกิดขึ้น จากเหตุการณการเกิดการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแสชั่วขณะ นําไปทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร ดวยแบบแผนการปองกันแบบที่ 1 และ 2 เพื่อดูผลการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรในหัวขอตอไป

0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4 0.45 0.5-60

-40

-20

0

20

40

60

Time(S)

AMPL

ITUD

E(A)

CT Saturation

CalculateSignal

ภาพที่ 5-15 ผลการคํานวณขนานสัญญาณกระแสในสภาวะที่เกดิการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส

ช่ัวขณะในชวง 6 ไซเคิลแรก

Page 74: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

63

5.5.3 การทดสอบการทํางานเมื่อเกดิการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแสชั่วขณะดวย แบบแผนการปองกนัแบบที่ 1

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4

-5

0

5

Fault Current

Time(S)

P.U.

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012

Status Logic Main Protection

Time(S)

Logic

Time(S)0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1

0

1

2 Status Logic BFR

Logic

0.070S

0.100S

0.170S

BFI

ภาพที่ 5-16 การทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเกิดการอิ่มตวัหมอแปลงกระแสดวยแบบ แผนการปองกนัแบบที่ 1 รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรไมสงสัญญาณทริพ จากภาพที่ 5-16 การทดสอบมีการปรับตั้งกระแสพิคอัพ 45A และ ปรับตั้งไทมเมอร 0.100S การทดสอบการทํางาน เมื่อรีเลยปองกันหลักสงสัญญาณ BFI ที่เวลา 0.070S รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรตรวจวัดกระแสไดสูงกวากระแสพิคอัพ และหนวงเวลา 0.100S สัญญาณกระแสที่ตรวจวัดต่ํากวากระแสพิคอัพ รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรจึงตัดสินใจวา เซอกิตเบรกเกอรหลักเคลียรฟอลตไดสมบูรณ รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรจึงไมสงสัญญาณทริพเซอกิตเบรกเกอร แตในความเปนจริง เซอกิตเบรกเกอรหลักเกิดทํางานขัดของ

Page 75: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

64

5.5.4 การทดสอบการทํางานเมื่อเกดิการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแสชั่วขณะดวย แบบแผนการปองกนัแบบที2่

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4

-5

0

5

Fault Current

Time(S)

P.U.

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1

0

1

2

Time(S)

Logic

Time(S)0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1

0

1

2Status Logic BFR

Logic

Status Logic Main Protection

0.070S

0.109S

0.179S

BFI

ภาพที่ 5-17 การทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเกิดการอิ่มตวัหมอแปลงกระแสดวยแบบ แผนการปองกนัแบบที่ 2 จากภาพที่ 5-17 การทดสอบมีการปรับตั้งกระแสพิคอัพ 45A และ ปรับตั้งไทมเมอร 0.100S จากการทดสอบเมื่อปอนกระแสทดสอบการเกิดการอิ่มตัวหมอแปลงกระแสชั่วขณะ รีเลยปองกันหลักสงสัญญาณลิจิก BFI ที่เวลา 0.070S รีเลยเบรกเกอรเฟลเฟลอรทําการหนวงเวลา 0.100S หลังจากนั้นจึงตรวจวัดสัญญาณกระแสฟอลต ถากระแสฟอลตยังสูงกวาคากระแสพิคอัพ (สูงกวา 45A) แสดงวาเซอกิตเบรกเกอรหลักทํางานขัดของ รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรจะสงสัญญาณทริพ เซอกิตเบรกเกอรที่เวลา 0.179S รวมระยะเวลาทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรในการสงสัญญาณทริพ คือ 0.109S

Page 76: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

65

5.6 แบบแผนการปองกันตรวจวัดกระแสระดับต่ํา (Minimal Current Scheme) แบบแผนการปองกันนี้ใชสําหรับตรวจวัดกระแสฟอลตที่มีขนาดต่ํา เมื่อเซอกิตเบรกเกอรหลักเกิดทํางานขัดของ การตรวจสอบจะใชหนาสัมผัสชวยของเซอกิตเบรกเกอร 52a ที่มีสถานะการทํางานเหมือนกับหนาสัมผัสหลัก ชวยในการตรวจสอบการทํางานของเซอกิตเบรกเกอรหลัก แสดงดังภาพที่ 5-18 โดยการทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรจะใชแบบแผนการปองกันแบบที่ 1 และ 2 ทดสอบการทํางานตามลําดับ

ภาพที่ 5-18 ภาพแบบแผนการปองกันกระแสระดับต่ํา

5.6.1 ทดสอบการปองกันดวยแบบแผนการปองกันแบบที่ 1

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-505

Fault Current

Time(S)

P.U.

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012 Status Logic Main Protection

Time(S)

Logic

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012 Status Logic 52a

Time(S)

Logic

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012 Status Logic BFR

Time(S)

Logic

0.200S 0.306S

BFI 0.106S

ภาพที่ 5-19 การทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเกิดการอิม่ตัวหมอแปลงกระแส ดวยแบบแผนการ ปองกันแบบที่ 1 รวมกับสถานะหนาสัมผัสชวยของเซอกิตเบรกเกอร 52a

Page 77: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

66

จากภาพที่ 5-19 การทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเกิดการอิ่มตัวหมอแปลงกระแสดวยแบบแผนการปองกันแบบที่ 1 รวมกับสถานะหนาสัมผัสชวยของเซอกิตเบรกเกอร 52a รีเลยปองกันหลักสงสัญญาณลิจิก BFI ที่เวลา 0.200S การตรวจจับกระแส 50BF ตรวจวัดกระแสต่ํากวาคากระแสพิคอัพ แตสถานะของหนาสัมผัส 52a อยูในสถานะปด แสดงวาเซอกิตเบรกเกอรหลักเกิดการขัดของในการเคลียรฟอลต รีเลยทําการหนวงเวลา 0.100S แลวตรวจสอบสถานะของหนาสัมผัส 52a อีกครั้งถาหนาสัมผัส 52a ยังอยูสถานะปดอยู แสดงวาเซอกิตเบรกเกอรหลักเกิดความขัดของจริง รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรจะสงสัญญาณไปทริพเซอกิตเบรกเกอรที่เวลา 0.306S รวมระยะเวลาที่รีเลยทํางาน 0.106S 5.6.2 ทดสอบการปองกันดวยแบบแผนการปองกันแบบที่ 2

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-505

Fault Current

Time(S)

Logic

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012 Status Logic Main Protection

Time(S)

Logic

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012 Status Logic 52a

Time(S)

Logic

0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0.4-1012 Status Logic BFR

Time(S)

Logic

0.200S 0.308S

BFI 0.108S

ภาพที่ 5-20 การทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเกิดการอิ่มตัวหมอแปลงกระแสดวยแบบ แผนการปองกันแบบที่ 2 รวมกับสถานะหนาสัมผัสชวยของเซอกิตเบรกเกอร 52a จากภาพที่ 5-20 การทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเกิดการอิ่มตัวหมอแปลงกระแสดวยแบบแผนการปองกันแบบที ่ 2 รวมกับสถานะหนาสัมผัสชวย 52a รีเลยปองกันหลักสงสัญญาณลอจิก BFI ที่เวลา 0.200S เมื่อรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรตรวจพบเซอกิตเบรกเกอรหลัก

Page 78: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

67

ทํางานขัดของ โดยการตรวจสอบหนาสัมผัส 52a ยังคงสถานะปดอยู รีเลยสงสัญญาณทริพที่เวลา0.308S รวมเวลาการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรคือ 0.108S 5.7 การทดสอบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเปรียบเทียบกับโปรแกรมPSCAD/EMTDC [21] การทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร โดยนําผลของสัญญาณกระแสที่ใชจําลองจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC ทดสอบความถูกตองการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร โดยใชโปรแกรม LabVIEW สรางสัญญาณกระแสทดสอบ ทดสอบการทํางานของรีเลย แสดงภาพที่ 5-21

R=0

#1#2

T_sw

21

T_sw

11

D_sw

12 D_s

w22

D_s

w23

D_sw

13

TIE_B

RK

T_sw1

T_sw2

IS

Transfer BUS#1

#2

Fault

Tei Switch

Disc. SW.

T_sw31

D_sw

32D

_sw33

BRK

4

T_sw

41

D_sw

42D

_sw43

BRK

5

T_sw

51

D_sw

52D

_sw53

PI

CO

UP

LED

SE

CTIO

N

PI

CO

UP

LED

SE

CTIO

N

PI

CO

UP

LED

SE

CTIO

N

115kV

BRK

1

BRK

2

BRK

3

Outgoing Outgoing OutgoingOutgoingOutgoing

Main BUS115kV/22kV115kV/22kV

BRK1 BRK2 BRK3 BRK4 BRK5

Incoming

ภาพที่ 5-21 การจําลองการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรตอระหวางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรกับ รีเลยปองกันหลัก จากภาพที่ 5-21 เปนการจําลองการทํางานของเซอกิตเบรกเกอรหมายเลข BRK5 โดยมี เซอกิตเบรกเกอร BRK1, BRK2, BRK3, BRK4 เปนเซอกิตเบรกเกอรเคลียรฟอตต ดวยโปรแกรม SCAD/EMTPDC การจําลองสถานการณแรกโดยกําหนดใหเกิดฟอลตขึ้นที่เวลา 0.200S จําลองการทํางานโดยใหเซอกิตเบรกเกอร BRK5 เคลียรฟอลตไดที่เวลา 0.740S แสดงสภาวะรีเลยปองกันหลักเคลียรฟอลตไดสมบูรณ เซอกิตเบรกเกอรเฟลเลอรไมทริพเซอกิตเบรกเกอรใกลเคียง BRK1, BRK2, BRK3 และ BRK4 การจําลองสถานการณที่สอง กําหนดใหเกิดฟอลตที่เวลา 0.200S และกําหนดใหรีเลยปองกันหลักสงสัญญาณทริพเซอกิตเบรกเกอร BRK5 ที่เวลา 0.740S แตเซอกิตเบรกเกอร BRK5 ทํางานขัดของ ไมสามารถเคลียรฟอลตได รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอลจะสงสัญญาณทริพเซอกิตเบรกเกอร BRK1, BRK2, BRK3 และ BRK4

Page 79: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

68

0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 1.2

-2

0

2

Fault Current

Time(S)

P.U.

0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 1.2-1

0

1

2 Status Logic Main Protection

Time(S)

Logic

0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 1.2-1

0

1

2Status Logic BFR

Time(S)

Logic

0.740S ภาพที่ 5-22 สัญญาณลอจิกของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเซอกิตเบรกเกอรหลัก (BRK5) เคลียรฟอลตไดโดยสมบูรณ จากภาพที่ 5-22 เมื่อเกิดฟอลตที่เวลา 0.200S รีเลยปองกันหลักสงสัญญาณทริพ เซอกิตเบรกเกอร (BRK5) ที่เวลา 0.740S และสงสัญญาณ BFI ใหกับรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร จะเห็นวาไมมีกระแสไหลตอเนื่องในระบบไฟฟา แสดงวาเซอกิตเบรกเกอรหลัก เคลียรฟอลตไดอยางสมบูรณ โดยที่รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรไมสงสัญญาณลอจิกทริพเซอกิตเบรกเกอรใกลเคียง

Page 80: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

69

0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 1.2

-2

0

2Fault Current

Time(S)

Logic

0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 1.2-1

0

1

2 Status Logic Main Protection

Time(S)

Logic

0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 1.2-1

0

1

2 Status Logic BFR

Time(S)

Logic

0.740S 0.945S

BFI0.205S

ภาพที่ 5-23 สัญญาณลอจิกของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อเซอกิตเบรกเกอรหลัก (BRK5) ทํางาน ขัดของไมสามารถเคลียรฟอลตที่เกิดขึ้นได จากผลการทดสอบ จากภาพที่ 5-23 เมื่อรีเลยปองกันหลักตรวจพบวาเกิดฟอลตขึ้นที่เวลา 0.200S และสงสัญญาณทริพเซอกิตเบรกเกอรหลัก (BRK5) ที่เวลา 0.740S พรอมทั้งสงสัญญาณลอจิก BFI ใหกับรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร และรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรจะหนวงเวลา 0.200S แลวตรวจวัดกระแสหลังจากหนวงเวลา จะเห็นวายังมีกระแสไหลอยู แสดงวาเซอกิตเบรกเกอรหลักทํางานขัดของ รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรจะสงสัญญาณลอจิกเพื่อทริพเซอกิตเบรกเกอร ใหเปดวงจรออกที่เวลา 0.945S รวมระยะเวลาการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 0.205S 5.8 สรุปผลการทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรท่ีออกแบบและสรางขึ้น การทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่ออกแบบ การทดสอบโดยการนําสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTPDC มาสรางสัญญาณกระแสฟอลตทดสอบ โดยใชโปรแกรม LabVIEW ผานการด DAQ6024E เปนการทดสอบดวยสัญญาณระดับต่ํา ซ่ึงจําลอง

Page 81: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

70

สัญญาณ ทางดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสชวย ซ่ึงรับสัญญาณกระแสจากดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสหลัก จากการทดสอบดวยสัญญาณระดับต่ํานี้สามารถจําลองสัญญาณกระแสฟอลตในสถานะการณตางๆ ที่จําลองจากโปรแกรม PSCAD/EMTPDC ได โดยสรางสัญญาณเมื่อเกิดฟอลตและเซอกิตเบรกเกอรหลักเคลียรฟอลตไดอยางสมบูรณ และสัญญาณกระแสฟอลตเมื่อเซอกิตเบรกเกอรหลักทํางานขัดของได เพื่อทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่สราง

การทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรในการตรวจวัดกระแสพิคอัพ และกระแส ดรอบเอาท จะเห็นวารีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรทํางานไดอยางถูกตอง และการทดสอบเวลาการหนวงเวลาของไทมเมอรภายในรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร สามารถหนวงเวลาไดถูกตอง การทดสอบโดยการจําลองกระแสฟอลตที่มีขนาดกระแสลดลง หรือดรอบเอาทกอนไทมเมอรของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรหนวงเวลาถึงเวลาที่กําหนดไว

การทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยอัลกอริธึม 2 แบบ จะเห็นวาอัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมหนึ่งลูกคลื่นสามารถคํานวณขนาดสัญญาณกระแสฟอลตไดถูกตองที่สุดทั้งในสภาวะกระแสฟอลตปกติ และเกิดผลของดีซีออฟเซตขึ้น และอัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมครึ่งลูกคลื่น จะใชเวลาในการทํางานไดรวดเร็วกวา แตการคํานวณขนาดกระแสฟอลตมีความคลาดเคลื่อนเมื่อมีผลของดีซีออฟเซต

การทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยแบบแผนการปองกันแบบที่ 1 และ 2 จากการทดสอบการใชแบบแผนการปองกันแบบที่ 1 เวลาการทํางานของรีเลยจะทํางานไดรวดเร็วกวาแบบแผนการปองกันแบบที่ 2

การทดสอบแบบแผนการป องกันตรวจวัดกระแสระดับต่ํา โดยใชการตรวจสอบหนาสัมผัสชวยของเซอกิตเบรกเกอร 52a เกิดจากการกระแสฟอลตที่ต่ํากวากระแสพิคอัพ และรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรไมสามารถตรวจวัดกระแส 50BF ได แตในความเปนจริงเกิดฟอลตขึ้น และเซอกิตเบรกเกอรหลักทํางานขัดของ ดังนั้นการใชการตรวจสอบหนาสัมผัสชวย 52a จะชวยตรวจสอบการทํางานของเซอกิตเบรกเกอรหลักทํางานขัดของได การทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเปรียบเทียบการการทํางานรีเลยจากโปรแกรม PSCAD/EMTPDC รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่ออกแบบสามารถทํางานไดอยางถูกตอง โดยที่เวลาการสั่งทริพของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรหลักตรวจพบวา เซอกิตเบรกเกอรหลักเกิดการขัดของตามเวลาที่ปรับตั้งภายในรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรที่ทดสอบ

Page 82: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

บทที่ 6

สรุปผลและขอเสนอแนะ 6.1 สรุปผลจากการออกแบบ และสรางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรใชสําหรับระบบการปองกันสํารองในระบบไฟฟากําลัง เนื่องจาก ระบบการปองกันหลักทํางานขัดของ มาจากเหตุตางๆ เชน รีเลยเสียหาย เซอกิตเบรกเกอรทํางานขัดของ เกิดจากการลัดวงจรภายในวงจรทริพ สายขาด และมาจากสาเหตุอ่ืนๆ รีเลยเบรกเฟลเลอรแบบเดิมเปนแบบแมคานิคอล ซ่ึงเปนการรวมการทํางานรวมกันระหวางรีเลยกระแสเกิน กับรีเลยหนวงเวลา ตองใชรีเลยถึงสองตัวในการปองกันซึ่งเปนการสิ้นเปลือง ในงานวิจัยไดออกแบบและสรางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเปนแบบดิจิตอล ไดรวมรีเลยกระแสเกิน และรีเลยหนวงเวลาไวในตัวเดียวกันทําใหระบบการปองกันสํารองมีราคาลดลง ซ่ึงเปนรีเลยที่สามารถทําไดหลายหนาที่ และสามารถปรับใชงานไดเหมาะสมกับรูปแบบของระบบไฟฟากําลังแบบตางๆ เชน การปองกันบัส การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟา เปนตน การใชรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเปนระบบปองกันสํารองระยะใกลที่ทํางานไดรวดเร็ว และการทํางานรวดเรว็กวาระบบการปองกนัสํารองระยะไกล ภายในวิทยานิพนธนี้นําเสนอหลักการพื้นฐาน การออกแบบ และสรางรเีลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยไมโครคอนโทรเลอร สวนประมวลผลสัญญาณดิจิตอล ในงานวิจัยใชไมโครคอนโทรเลอร dsPIC30F4011 เปนมีขนาด 16 บิต มีความเร็วในการประมวลผล 30ลานคําสั่งตอวินาที รองรับการคํานวณทางคณิตศาสตร และการประมวลสัญญาณทางดิจิตอล มีตัวแปลงสัญญาณอนาลอกเปนดิจิตอลขนาด 10 บิต ไทมเมอร และเคาทเตอรแบบ 16/32 บิต หนวยความจําแรม อีอีพรอม และหนวยความจําแบบแฟรชอยูภายในตัว สวนภาคอินพุตรับสัญญาณ BFI จากการปองกันหลัก และภาคเอาทพุตสงสัญญาณทริพเซอกิตเบรกเกอรสํารอง อัลกอริธึมที่ใชในงานวิจัยนี้มี 2 แบบคือ อัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมหนึ่งลูกคลื่น และอัลกอริธ ึมด ีสคร ีตฟูเร ียร ทรานฟอรมครึ ่งล ูกคลื ่น ใชคํานวณขนาดสัญญาณกระแส อัลกอริธึมที่สามารถคํานวณกระแสไดถูกตองที่สุดในสภาวะปกติ และสภาวะเกิดฟอลต คือ อัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมหนึ่งลูกคลื่น เมื่อเปรียบกับอัลกอริธึมทั้งสอง อัลกอริธึมดีสครีตฟูเรียรทรานฟอรมครึ่งคลื่น มีความรวดเร็วในการคํานวณ มีผลทําใหรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรทํางานไดรวดเร็ว แตการคํานวณกระแสอาจคลาดเคลื่อนเมื่อสัญญาณกระแสฟอลตมีผลของดีซีออฟเซท หรือการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส

Page 83: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

72

หลังจากมีการออกแบบรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร มีการทดสอบการทํางานดวยการสรางสัญญาณระดับต่ํา จําลองสัญญาณดานทุติยภูมิของหมอแปลงกระแสชวย โดยนําสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTPDC สรางสัญญาณแรงดันดวยโปรแกรม LabVIEW ผานทางการด DAQ 6024E การทดสอบโดยตอรีเลยปองกันหลัก รวมกับรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร และวัดสัญญาณลอจิกเอาทพุตดวยออสซิลโลสโคป โดยสัญญาณทดสอบจากโปรแกรม PSCAD/EMTPDC เปนสัญญาณกระแสฟอลตสภาวะเซอกิตเบรกเกอรหลักเครียรฟอลตไดสมบูรณ สภาวะเซอกิตเบรกเกอรหลักทํางานขัดของ และสภาวะสัญญาณกระแสเกิดการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส จากการทดสอบสามารถทดสอบการคํานวณสัญญาณกระแส และการทํางานของไทมเมอรในการหนวงเวลาได ทดสอบการทํางานรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร ความเร็วในการทํางานของรีเลย ขึ้นอยูกับอัลกอริธึมใชในการคํานวณ และแบบแผนการปองกันของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร จากการทดลองในหัวขอที่ 5.4 แบบแผนการปองกันแบบที่ 1 รีเลยทํางานไดรวดเร็ว และชวยใหคํานวณขนาดกระแสไดถูกตองมากขึ้น การทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรเมื่อสัญญาณกระแสฟอลตเกิดอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส จะเห็นวารีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรคํานวณขนาดสัญญาณกระแสไดต่ํากวาขนาดของกระแสฟอลตที่ไมเกิดการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแส แตในบางกรณีอาจเกิดการอิ่มตัวของหมอแปลงกระแสเพียงชั่วขณะในชวง 6 ไซเคิลแรก การใชแบบแผนการปองกันของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรแบบที่ 1 และแบบที่ 2 ทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร จะเห็นวาแบบแผนการปองกันแบบที่ 1 ไมสามารถตรวจสอบความขัดของของเซอกิตเบรกเกอรหลักในสภาวะกระแสฟอลตเกิดอ่ิมตัวช่ัวขณะได แตใชแบบแผนการปองกันแบบที่ 2 รีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรสามารถปองกันได การทดสอบการตรวจจับกระแสต่ํา ดวยการใชหนาสัมผัส 52a ของเซอกิตเบรกเกอรหลักชวยในการตรวจสอบการเคียรฟอลต สามารถใชกับการตรวจวัดในกรณีกระแสฟอลตมีขนาดต่ํากวากระแสพิคอัพของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร แตเซอกิตเบรกเกอรหลักเกิดการขัดของไมสามารถเคลียรฟอลตได การทดสอบการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร โดยทําการเปรียบเทียบการทํางานกับการจําลองดวยโปรแกรม PSCAD/EMTPDC จะเห็นวารีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรสามารถทํางานไดอยางถูกตองตรงกับผลที่จําลองจากโปรแกรม PSCAD/EMTPDC

Page 84: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

73

6.2 ขอเสนอแนะและงานในอนาคต 6.2.1 เนื่องจากรีเลย เบรกเกอรเฟลเลอรตองทํางานไดอยางรวดเร็ว ควรปรับปรุงตัวประมวลผลใหมีเปนขนาด 32 บิต และเพิ่มความเร็วในการประมวลผลมากขึ้น 6.2.2 เอดีซีควรเปนแบบไบโพลา รับแรงดันไดชวงบวก และลบ เพิ่มจํานวนบิตของเอดีซีมีจํานวนบิตสูงขึ้น เปน 12บิต หรือ 16บิต เพื่อความละเอียดของขอมูลสัญญาณกระแส ชวยใหการคํานวณขนาดสัญญาณกระแสไดถูกตองมากขึ้น 6.2.3 ปรับปรุงอัลกอริธึมในการคํานวณใหมีความถูกตองและรวดเร็วชวยเพิ่มความเร็วในการทํางานของรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอร 6.2.4 พัฒนาสวนติดตอกับระบบเครือขายเพื่อเพิ่มการทํางานของรีเลยสําหรับการปองกันสํารองระยะไกล 6.2.5 พัฒนารีเลยใหเปนรีเลยแบบมัลติฟงกชัน สามารถทํางานไดหลายหนาที่

Page 85: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

เอกสารอางอิง

1. Gangopadhyay, A. “A low cost microprocessor based relay for ground fault protection.”

Industry Applications Society Annual Meeting Conferecne Record of the 1991 IEEE. vol. 2. (28 Sept.-4 Oct.1991) : 1770-1775.

2. Rafa, A., Mahmod, N., Hassan, W.Z., and Mailah, N.F. “Protection of Power Transformer Using Microcontroller-Based Relay.” Research and Development 2002 SCOReD StudentConferenceon. (16-17 July 2002) : 224-227.

3. Vichitchot, M., and Ghandakly, A.A. “Microcontroller based impedance relay.” Industry Applications Society Annual Meeting Conference Record of the 1991 IEEE. vol. 2. (28 Sept.-4 Oct. 1991) : 1795-1801.

4. Gan, Z., Elangovan, S., and Liew, A.C. “Microcontroller Based Overcurrent Relay and Directional Overcurrent Relay with Ground Fault Protection.” Electric Power Systems Research. vol. 38. (1996) : 11-17.

5. Miao, S.H., Zou, L., and Cheg, S.J. “Study of WLB-2000 Digital Relay Based On DSP For High-VoltageTransmission Line.” International Journal of Power and Energy System 23. vol. 23. No. 3. (2003) : 158-162.

6. Sidhu, T.S., Sachdev, M.S., and Wood, H.C. “Microprocessor-based Relay for Protecting Power Transformer.” Generation Transmission and Distribution IEEE Proceedings. vol. 137. No. 6. (Nov. 1990) : 436–444.

7. Sidhu, T.S., Sachdev, M.S., Wood, H.C., and Nagpal, M. “Design Implementation and Testing Of A Microprocessor-Based High-Speed Relay For Detecting Transformer Winding Faults.” Transaction on Power Delivery. vol. 7. No. 1. (January 1992) : 108-117.

8. IEEE Std C37.119-2005, “IEEE Guide for Breaker Failure Protection of Power Circuit Breakers.” (2006) : 1-67.

9. Boyle, J.R. “Summary Update of Practices on Breaker Fail Protection.” IEEE Transaction on Power Apparatus and Systems. vol. 101. (Mar. 1982) : 555-563.

Page 86: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

75 10. Stringer, N.T., and Waser, D. “An Innovative Method of Providing Total Breaker Failure

Protection.” IEEE Transactions on Industry Applications. vol. 32. (Sep. 1996) : 1011-1016.

11. Rifaat, R.M. “Considerations in Applying Breaker Fail Protection Schemes to Industrial IPP Systems.” Industry Applications Conference 2005 Fourtieth IAS Annual Meeting Conference Record of the 2005. vol. 2. (2-6 Oct. 2005) : 837-842.

12. Hector, J.A., Michael, J.T., and Joe, M. “Advance in Breaker-Failure Protection.” SEL Technical Papers Schweitzer Engineering Laboratories Inc. Available from : URL : http://www.selinc.com/techpprs/TP6262_AdvancesBreaker-failure_20060913.pdf

13. วิโรจน บวังาม, ศิษฐา สุขสวัสดิ ์และ ธีรธรรม บณุยะกุล. “การออกแบบและสรางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยไมโครคอนโทรลเลอร.” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟาครั้งที่ 29. 9-10 พฤศจิกายน 2549.

14. Wood, H.C., Sidhu, T.S, Sachdev, M.S., and Nagpal, M. “A General Purpose Hardware For Micorprocessor Based Relays.” Proceeding of the International Conference on Power System Protection’89, Singapore. (1989) : 43-59.

15. McLaren, P.G., Swift, G.W., Neufeld, A., Zhang, Z., Dirks, E., and Haywood, R.W. “Open System Relaying.” IEEE Transactions on Power Delivery. vol. 9. (Jul. 1994) : 1316-1324.

16. Ransick, M.P. “Numerical Protective Relay Basics.” Industry Applications Conference 1998. Thirty-Third IAS Annual Meeting. The 1998 IEEE. vol. 3. (12-15 Oct. 1998) : 2342-2347.

17. James, R. C., and Mike, Y. “Commissioning Numerical Relays.” IEEE TRANSACTION ON INDUSTRY APPLICATIONS. vol. 38. No. 3. (May/June 2002).: 769 – 777.

18.. Sachdev, M.S. “Understanding Microprocessor-Based Techology Applied to Relaying.” Power System Relaying Committee. ( Feb. 2004) : 1-67.

19. Henville, C.F., Hydro, B., and Mooney, J.B. “Low level testing for protective relays.” Electrical and Computer Engineering 1996. Canadian Conference. vol. 2. (26-29 May 1996) : 724–728.

Page 87: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

76 20. Bunyagul, T., Crossley, P., and Gale, P. “Overcurrent protection using signals derived from

saturated measurement CTs.” Power Engineering Society Summer Meeting 2001. IEEE. vol. 1. (15-19 July 2001) : 103-108.

21. Suksawat, S., and Bunyagul, T. “Modeling and Improved Breaker Failure Relay and Protection Scheme Using PSCAD/EMTDC.” The 2006 ECTI International Conference.

22. Rasheek, M. R. “Considerations in Applying Power Bus Protection Schemes to Industrial and IPP System.” Industry Applications IEEE Transactions on. vol. 40. No. 6. (2004) : 1705-1711.

23. Pascual, H.O., and Rapallini, J.A. “Behaviour of Fourier Cosine and Sine Filtering Algorithms for Distance Protection under Severe Saturation of the Current Magnetic Transformer.” Power Tech Proceedings, 2001 IEEE Porto. vol. 4. (10-13 Sep. 2001) : 1-6.

Page 88: การออกแบบและ ... - gits. · PDF fileสัญญาณจากโปรแกรม PSCAD/EMTDC มาจําลอง ... A Breaker Failure ... protection

77

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ : นายวิโรจน บวังาม ช่ือวิทยานพินธ : การออกแบบและสรางรีเลยเบรกเกอรเฟลเลอรดวยไมโครคอนโทรลเลอร สาขาวิชา : วิศวกรรมไฟฟา ประวัต ิ ประวัติสวนตัว เกิดเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2519 ปจจุบันอยูบานเลขที่ 2/1 หมูที่ 7 ต. หินกอง อ.เมือง จ.ราชบุรี บิดาชื่อ นายเหลือ บัวงาม มารดาชื่อ นางศรี บัวงาม มีพี่นองทั้งหมด 2 คน เปนบุตรคนโต

ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมไฟฟา (วิศวกรรมไฟฟากําลัง) คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ปการศึกษา 2542 ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) สาขาชางไฟฟากําลัง วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี ปการศึกษา 2538 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) สาขาชางไฟฟากําลัง วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี ปการศึกษา 2536 มัธยมศึกษาตอนตน (ม.3) โรงเรียนเบญจมราชูทิศราชบุรี ปการศึกษา 2534 ประถมศึกษา (ป.6) โรงเรียนวัดหวยปลาดุก ปการศึกษา 2530 ปจจุบันทํางานที่โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม