การนำไฟฟ้า (conductivity)

27

Upload: somporn-laothongsarn

Post on 13-Jul-2015

15.943 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การนำไฟฟ้า (Conductivity)
Page 2: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

วัตถุใดที่ได้รับการถ่ายโอนอิเล็กตรอนแล้วอิเล็กตรอนท่ีถูกถ่ายโอนไป

สามารถเคลื่อนที่ไปตลอดเนื้อวตัถุได้ง่าย คืออิเล็กตรอนมีอิสระในการ

เคลื่อนที่ในวัตถุนั้น เรียกวัตถุที่มีสมบัติเช่นนั้นว่า ตัวน าไฟฟ้า (electrical conductor) หรือเรียกสั้นๆ ว่า ตัวน า (conductor) ดังนัน้การน าไฟฟ้า หมายถึง การที่วัตถุสามารถยอมให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผ่านเนือ้วัตถุได้ ซึ่ง

สมบัตินี้จะตรงกันข้ามกับฉนวน (insulator) ซึ่งไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้าไหลผ่าน (electrical insulator)

Page 3: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

1. การน าไฟฟ้าในโลหะ

เมื่อมีกระแสไฟฟ้าในตัวกลางใด เรากล่าวว่ามีการน าไฟฟ้าในตัวกลางนั้น

และเรียกตัวกลางนั้น ตัวน าไฟฟ้า การน าไฟฟา้ที่รู้จักดีที่สุด คือ การน าไฟฟ้า

ในโลหะ โลหะประกอบด้วยอะตอมที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 1-3 ตัว ซ่ึง

อิเล็กตรอนเหลา่นี้จะหลุดจากอะตอมง่ายและเคลื่อนที่โดยไมอ่ยู่เป็นประจ า

อะตอมหนึ่งอะตอมใด จึงเรียกว่า อิเล็กตรอนอิสระ (free electron) ตามปกติการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระในตวัน านัน้เป็นการเคลื่อนที่อย่าง

ไร้ระเบียบคือไม่มีทิศทางแน่นอน ดังรูป ก.

Page 4: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

รูป ก. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสสระในตัวน าโลหะ

แบบไร้ระเบียบไม่มีทิศทางแน่นอน

Page 5: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

แต่เมื่อท าให้มีสนามไฟฟ้า (E) ภายในโลหะนัน้ แรงเนื่องจากสนามไฟฟ้าจะท าให้อิเล็กตรอนอิสระมีการเคลื่อนที่ลัพธ์ในทิศทางตรงกันข้าม

กับสนามไฟฟ้า เรียกว่า ความเร็วลอยเลื่อน (drift velocity ; v) ดังรูป ข. ท าให้มีกระแสไฟฟ้าในโลหะ ดังนั้นกระแสไฟฟ้าในโลหะจึงเกิดการ

เคลื่อนที่ด้วยความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ

Page 6: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

รูป ข. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสสระในตัวน าโลหะ

ภายหลังกระตุ้นด้วยสนามไฟฟ้า

Page 7: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

1. การน าไฟฟ้าในโลหะ

ภาพตัวอย่างการน าไฟฟ้าในโลหะ

Page 8: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

2. การน าไฟฟ้าในหลอดสญุญากาศ

หลอดสุญญากาศ เป็นหลอดแก้วที่สูบอากาศภายในออกเกือบหมด ภายใน

หลอดมีขั้วส าหรับให้ เล็กตรอน เรียกว่า แคโทด (cathode) ส่วน

ขั้วส าหรับรับอิเล็กตรอน เรียกว่า แอโนด (anode) โดยปกติมัก

มีรูปร่างเป็นแผ่นโลหะธรรมดา เรียกว่า เพลต (plate)

Page 9: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

2. การน าไฟฟ้าในหลอดสญุญากาศ

การน าไฟฟ้าในหลอดสุญญากาศ ท าได้โดยการท าให้ศักย์ไฟฟา้

ของแอโนดสูงกว่า แคโทด การน าไฟฟ้าในหลอดสุญญากาศ ท าได้โดยการท า

ให้ศักย์ไฟฟ้าของแอโนดสูงกว่าแคโทดอิเล็กตรอนก็จะถูกเร่งจากแคโทดผ่าน

บริเวณสุญญากาศมายังแอโนด จึงมีกระแสไฟฟ้าในหลอดสุญญากาศ แต่ถ้า

ท าให้แคโทดมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าแอโนด ก็จะไม่มีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่จาก

แคโทดไปยังแอโนดเลย เรียกหลอดสุญญากาศน้ีว่า “หลอดไดโอด”

(diode tube) ดังนั้นกระแสไฟฟ้าในหลอดสุญญากาศเกิดจาก

การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนเทา่นั้น

Page 10: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

2. การน าไฟฟ้าในหลอดสญุญากาศ

กล่าวโดยสรุป กระแสไฟฟ้าในหลอดสุญญากาศ เกิดจากการเคลื่อนที่ของ

อิเล็กตรอนอสิระ

Page 11: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

2. การน าไฟฟ้าในหลอดสญุญากาศ

ภาพตัวอย่างการน าไฟฟ้าในหลอดสุญญากาศ

Page 12: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

3. การน าไฟฟ้าในอิเล็กโทรไลต์

สารละลายอิเล็กโทรไลต์ มีลักษณะดังนี้

1. อิเล็กโทรไลต์ เป็นสารละลายที่สามารถน าไฟฟ้าได้

2. อิเล็กโทรไลต ์ เป็นสารละลายของกรด เบส หรือเกลือ

3. การน าไฟฟ้าในอิเล็กโทรไลต์ ท าให้เกิดได้โดยการจุ่มแผ่น

โลหะ 2 แผ่น ลงในอิเล็กโทรไลต์ แล้วต่อเข้ากับขั้วของแบตเตอรี่ พบว่า

แผ่นโลหะท้ังสองจะท าหน้าที่เป็นขั้วไฟฟ้าบวก และขั้วไฟฟ้าลบ

Page 13: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

3. การน าไฟฟ้าในอิเล็กโทรไลต์

สนามไฟฟ้าระหว่างขั้วไฟฟ้าบวก และขั้วไฟฟ้าลบ จะมีผลท าให้

อิเล็กโทรไลต์ แตกตัวเป็นไอออนบวก และไอออนลบ ไอออนบวกเคลื่อนท่ี

ไปยังขั้วไฟฟ้าลบ และไอออนลบเคลื่อนที่ไปยังขั้วไฟฟ้าบวก แสดงว่า

กระแสไฟฟ้าในอิเล็กโทรไลต ์จะเกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าบวก

(ไอออนบวก) และประจุไฟฟ้าลบ (ไอออนลบ)

Page 14: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

3. การน าไฟฟ้าในอิเล็กโทรไลต์

กล่าวโดยสรุป กระแสไฟฟ้าในอิเล็กโทรไลต์ เกิดจากการเคลื่อนที่ของ

ไอออนบวกและไอออนลบ

Page 15: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

3. การน าไฟฟ้าในอิเล็กโทรไลต์

ภาพตัวอย่างการน าไฟฟ้าในอิเล็กโทรไลต์

Page 16: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

4. การน าไฟฟ้าในหลอดบรรจุแก๊ส

หลอดบรรจุแก๊ส (gas - filled tube) เป็นอุปกรณ์ที่

ท าให้อากาศหรือแก๊สน าไฟฟ้าได้กระแสไฟฟ้าในหลอดบรรจุแก๊ส เกิดจากการ

เคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระและไอออนบวก

Page 17: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

4. การน าไฟฟ้าในหลอดบรรจุแก๊ส

การน าไฟฟ้าในหลอดบรรจุแก๊ส มีลักษณะ ดังน้ี

1. หลอดบรรจุแก๊ส เป็นอุปกรณ์ที่สามารถท าให้แก๊ส ซึ่งปกติเป็นฉนวนไฟฟ้าที่ดีน าไฟฟ้าได้

2. หลอดบรรจุแก๊ส เป็นหลอดแก้วที่สูบอากาศภายในออก และบรรจุแก๊สบางชนิดเข้าไป เช่น ไฮโดรเจน นีออน อาร์กอนหรือไอปรอท ลงไปในปริมาณเล็กน้อย ท าให้ความดันของแก๊สในหลอดแก้วต่ ากว่า ความดันบรรยากาศมาก ท าให้โมเลกุลของแก๊สสามารถแตกตัวได้ง่าย เมื่อขั้วไฟฟ้าทั้งสองของหลอดบรรจุแก๊ส ต่อกับแหลง่ก าเนิดไฟฟ้ากระแสตรงความต่างศักย์สูง

Page 18: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

4. การน าไฟฟ้าในหลอดบรรจุแก๊ส

3. ถ้าต่อขั้วไฟฟ้าทั้งสองของหลอดบรรจุแก๊สกับแหล่งก าเนิดไฟฟ้า

กระแสตรงความต่างศักย์สูง จะเกิดสนามไฟฟ้าที่ท าให้โมเลกุลของแก๊สแตก

ตัวเป็นไอออนบวกและอิเล็กตรอนอิสระ โดยที่ไอออนบวกจะเคลื่อนที่ไปยัง

ขั้วไฟฟ้าลบ เพื่อรับอิเล็กตรอน และอิเล็กตรอนอิสระจะเคลื่อนที่ไปยัง

ขั้วไฟฟ้าบวก แสดงว่า กระแสไฟฟ้าในหลอดบรรจุแก๊ส จะเกิดจากการ

เคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอสิระและไอออนบวก

Page 19: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

4. การน าไฟฟ้าในหลอดบรรจุแก๊ส

กล่าวโดยสรุป กระแสไฟฟ้าในหลอดบรรจุแก๊ส เกิดจากการเคลื่อนที่ของ

อิเล็กตรอนอสิระและไอออน

Page 20: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

4. การน าไฟฟ้าในหลอดบรรจุแก๊ส

ภาพตัวอย่างการน าไฟฟ้าในหลอดบรรจุแก๊ส

Page 21: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

5. การน าไฟฟ้าในสารกึ่งตัวน า

การน าไฟฟ้าในสารกึ่งตัวน า มีลักษณะดังนี้

1. โครงสร้างของสารกึ่งตัวน าบริสุทธิ์ เช่น ซิลิคอนบริสุทธ์ิ พบว่า

เวเลนซ์อิเล็กตรอนของแต่ละอะตอมจะมีพันธะกับเวเลนซ์อิเล็กตรอนของ

อะตอมข้างเคียง จึงไม่มีอิเล็กตรอนอิสระ ดังรูป

Page 22: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

5. การน าไฟฟ้าในสารกึ่งตัวน า

โครงสร้างของสารกึ่งตัวน าบริสุทธิ์

Page 23: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

5. การน าไฟฟ้าในสารกึ่งตัวน า

2. ถ้าให้สนามไฟฟ้าที่มีความเข้มสูงมากพอแก่สารกึ่งตัวน าบริสุทธ์ จะท าให้

อิเล็กตรอนบางตัวใน พันธะหลุดออกมากลายเป็นอิเล็กตรอนอิสระ และเกิดที่

ว่าง เรียกว่า "โฮล (Hole)" โดยทีโ่ฮลจะมีพฤติกรรมคล้ายกับอนุภาคท่ีมี

ประจุบวก

Page 24: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

5. การน าไฟฟ้าในสารกึ่งตัวน า

อิเล็กตรอนอิสระ และ"โฮล (Hole)”

Page 25: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

5. การน าไฟฟ้าในสารกึ่งตัวน า

3. แรงเนื่องจากสนามไฟฟ้า ท าให้อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ในทิศตรงข้ามกับ

สนามไฟฟ้า และโฮล เคลื่อนที่ในทิศเดียวกับสนามไฟฟ้า แสดงว่า การน า

ไฟฟ้าในสารกึ่งตัวน า เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอสิระและโฮล

Page 26: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

5. การน าไฟฟ้าในสารกึ่งตัวน า

สรุปได้ว่า กระแสไฟฟ้าในสารกึ่งตัวน า เกิดจากการเคลื่อนที่ของ

อิเล็กตรอนอสิระและโฮล

Page 27: การนำไฟฟ้า (Conductivity)

หนังสือสารอ้างอิง

นิรันดร์ สุวรัตน์. ฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 1-2. ส านักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา : กรุงเทพฯ, 2552.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์

เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. โรงพิมพ์คุรุสภา : กรุงเทพ, 2554. http://weerajit15.blogspot.com/p/blog-page.html

http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1207