กรณีศึกษา บริษัท ไทยคราฟ แฟร์เทรด...

11
กรณีศึกษา บริษัท ไทยคราฟ แฟรเทรด จำกัด (ThaiCraft Fair Trade Co., Ltd) 1. ภาพรวมธุรกิจ 1.1 ประวัติ ความเปนมา การเริ่มตนธุรกิจมาจากกลุThe ThaiCraft Association เปนองคกรพัฒนาอิสระที่มีชื่อเดิมคือ Hilltribe Sales จัดตั้งขึ้นโดยอาสาสมัครของ International Church of Bangkok และมีงานแสดงสินคาซึ่งจัดขึ้นทีโรงเรียนนานาชาติกรุงเทพ (International School Bangkok) ระหวางป .. 1975-1992 โดยอาสาสมัคร เปนแมบานชาวตางชาติจะนำสินคาหัตถกรรมจากกลุมชางฝมือในตางจังหวัดมาขายทุกวันอาทิตย และสง รายไดกลับไปยังผูผลิต ในชวงปแรกของการจัดงานแสดงสินคา องคกรไดรับทุนจากองคกรของประเทศอังกฤษ คือ ODA/ Oxfamและของประเทศเนเธอรแลนด (ICCO) นอกจากนี้ยังใชเงินปนผลบางสวนจากการจัดงานในการ ดำเนินโครงการ จากนั้นไมนานไดเปลี่ยนชื่อเปน ThaiCraft Sales และกลายเปนองคกรที่สามารถรักษา ความเปนอยูทางการเงินไดดวยตนเอง (financially self sufficient) รูปแบบการจัดงาน ThaiCraft Sales คือตลาดสินคาหัตถกรรมครึ่งวัน โดยปหนึ่งจัดขึ้นแปดครั้ง ที่ศูนย ประชุมแหงชาติสิริกิติหลังจากนั้นไดใชโรงแรมแลนดมารค สุขุมวิท โรงแรมอิมพีเรียล ธารา สุขุมวิท และ โรงแรม แอมบาซาเดอร (Ambassador Hotel) เปนสถานที่จัด ตอมาในป ..2003 จึงจัดงานขึ้นแสดง สินคาเปนรายเดือน โดยรวมมือกับกลุมผูผลิตหัตถกรรมในทุกภาค ทั้งนีThaiCraft ไมตองการจำกัดเฉพาะ ชุมชนคริสเตียนอยางเดียว จึงเปนหุนสวนทางธุรกิจกับกลุมชางฝมือจากทุกภาคและศาสนา งาน ThaiCraft Sales ไดมีการเปลี่ยนชื่อเปน ThaiCraft Fairs ในเดือนเมษายน 2006 ซึ่งไดรับกระแส ตอบรับที่ดีจากผูบริโภค องคกรจึงตองการขยายฐานสูผูบริโภคใหกวางขึ้น มีการจัดงานในสถานที่อื่นๆ เชน โรงเรียนนานาชาติกรุงเทพ (International School Bangkok) จังหวัดนนทบุรี โรงพยาบาลบำรุงราษฐ สุขุมวิท และยังมีเปาหมายที่จะจัดงานยอยๆในพื้นที่ใหมๆ ในระยะเวลาตอมาองคกรอิสระภายใตชื่อ The ThaiCraft Association ถูกเปลี่ยนชื่อเปนบริษัทจำกัด (limited company) เพื่อความสะดวกในการพัฒนาตลาดใหกวางขึ้น ทางดานการสงออกนั้น บริษัทมีการสงออกตั้งแตตนแตในปริมาณนอย หลังจากไดรับความสนใจจากผูนำ เขา ประกอบกับการลดคาของเงินบาทในวิกฤติเศรษฐกิจป .. 1997-1998 องคกรจึงเปลี่ยนโครงสราง การทำงานใหม โดยจดทะเบียนเปนบริษัทจำกัด ภายใตชื่อ ThaiCraft Fair Trade Company Limited เพื่อ เพิ่มยอดขายในประเทศและตางและตางประเทศ และวาจางพนักงานชาวไทยใหทำงานโดยตรงดานการ คาขายทั้งในและนอกประเทศ ที่ผานมาบริษัทไดวาจางพนักงานเพิ่ม และเนนจางบุคลากรรุนใหมใหเปน

Upload: tumootto

Post on 27-Jul-2015

2.515 views

Category:

Documents


8 download

TRANSCRIPT

Page 1: กรณีศึกษา บริษัท ไทยคราฟ แฟร์เทรด จำกัด

กรณีศึกษา บริษัท ไทยคราฟ แฟรเทรด จำกัด(ThaiCraft Fair Trade Co., Ltd)

1. ภาพรวมธุรกิจ

1.1 ประวัติ ความเปนมาการเริ่มตนธุรกิจมาจากกลุม The ThaiCraft Association เปนองคกรพัฒนาอิสระที่มีชื่อเดิมคือ Hilltribe Sales จัดตั้งขึ้นโดยอาสาสมัครของ International Church of Bangkok และมีงานแสดงสินคาซึ่งจัดขึ้นที่โรงเรียนนานาชาติกรุงเทพ (International School Bangkok) ระหวางป ค.ศ. 1975-1992 โดยอาสาสมัครเปนแมบานชาวตางชาติจะนำสินคาหัตถกรรมจากกลุมชางฝมือในตางจังหวัดมาขายทุกวันอาทิตย และสงรายไดกลับไปยังผูผลิต

ในชวงปแรกของการจัดงานแสดงสินคา องคกรไดรับทุนจากองคกรของประเทศอังกฤษ คือ ODA/Oxfamและของประเทศเนเธอรแลนด (ICCO) นอกจากนี้ยังใชเงินปนผลบางสวนจากการจัดงานในการดำเนินโครงการ จากนั้นไมนานไดเปลี่ยนชื่อเปน ThaiCraft Sales และกลายเปนองคกรที่สามารถรักษาความเปนอยูทางการเงินไดดวยตนเอง (financially self sufficient)

รูปแบบการจัดงาน ThaiCraft Sales คือตลาดสินคาหัตถกรรมครึ่งวัน โดยปหนึ่งจัดขึ้นแปดครั้ง ที่ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิติ์ หลังจากนั้นไดใชโรงแรมแลนดมารค สุขุมวิท โรงแรมอิมพีเรียล ธารา สุขุมวิท และโรงแรม แอมบาซาเดอร (Ambassador Hotel) เปนสถานที่จัด ตอมาในป ค.ศ.2003 จึงจัดงานขึ้นแสดงสินคาเปนรายเดือน โดยรวมมือกับกลุมผูผลิตหัตถกรรมในทุกภาค ทั้งนี ้ThaiCraft ไมตองการจำกัดเฉพาะชุมชนคริสเตียนอยางเดียว จึงเปนหุนสวนทางธุรกิจกับกลุมชางฝมือจากทุกภาคและศาสนา

งาน ThaiCraft Sales ไดมีการเปลี่ยนชื่อเปน ThaiCraft Fairs ในเดือนเมษายน ป 2006 ซึ่งไดรับกระแสตอบรับที่ดีจากผูบริโภค องคกรจึงตองการขยายฐานสูผูบริโภคใหกวางขึ้น มีการจัดงานในสถานที่อื่นๆ เชน โรงเรียนนานาชาติกรุงเทพ (International School Bangkok) จังหวัดนนทบุร ี โรงพยาบาลบำรุงราษฐ สุขุมวิท และยังมีเปาหมายที่จะจัดงานยอยๆในพ้ืนที่ใหมๆ

ในระยะเวลาตอมาองคกรอิสระภายใตชื่อ The ThaiCraft Association ถูกเปลี่ยนชื่อเปนบริษัทจำกัด (limited company) เพ่ือความสะดวกในการพัฒนาตลาดใหกวางขึ้น

ทางดานการสงออกนั้น บริษัทมีการสงออกตั้งแตตนแตในปริมาณนอย หลังจากไดรับความสนใจจากผูนำเขา ประกอบกับการลดคาของเงินบาทในวิกฤติเศรษฐกิจป ค.ศ. 1997-1998 องคกรจึงเปลี่ยนโครงสรางการทำงานใหม โดยจดทะเบียนเปนบริษัทจำกัด ภายใตชื่อ ThaiCraft Fair Trade Company Limited เพ่ือเพิ่มยอดขายในประเทศและตางและตางประเทศ และวาจางพนักงานชาวไทยใหทำงานโดยตรงดานการคาขายทั้งในและนอกประเทศ ที่ผานมาบริษัทไดวาจางพนักงานเพ่ิม และเนนจางบุคลากรรุนใหมใหเปน

Page 2: กรณีศึกษา บริษัท ไทยคราฟ แฟร์เทรด จำกัด

trainee managers ทั้งนี้เพ่ือเนนการพัฒนาที่กาวไปขางหนาในอนาคต (forward looking future) นอกจากนั้นไดมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตอการคาและจัดเก็บขอมูล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใหบริการ และลดตนทุน ทำใหสามารถเสนอสินคาคุณภาพในราคายอมเยา

1.2 แนวคิดธุรกิจแนวคิดของบริษัทคือ เปนบริษัทประกอบการคาที่เปนธรรม(Fair Trade Company) ที่ใหชองทางการตลาดที่ย่ังยืน และใหการพัฒนาแกชางฝมือไทย และเปนทางเลือกที่ดีกวาใหแกผูบริโภคสินคาหัตถกรรม เพ่ิมทักษะใหกับผูผลิตในเรื่องของการผลิตและการประกอบธุรกิจ และทำใหกลุมชางฝมือตามทองถ่ิน สามารถพ่ึงพาตนเองได เพ่ือไมใหกลุมเหลานี้พ่ึงเงินบริจาค โดยสามารถนำผลิตภัณฑมาทำการคาไดดวนตนเอง

1.2.1 การจัดตั้งเปนนิติบุคคลประเภทบริษัท จำกัดThaiCraft เกิดจากการที่กลุมสมาคมแมบาน expat ตองการชวยเหลือชุมชนโดยการสรางรายไดใหกับชางฝมือในตางจังหวัด และตองการชวยรักษาวัฒนธรรมอันดีงามและฝมือหัตถกรรมของไทยไวใหย่ังยืน ดังนั้นจึงจัดตลาดจำหนายสินคาใหกับชาวตางชาต ิ และทำเชนนี้ในรูปแบบขององคกรอิสระ โดยมิไดคิดทำเปนธุรกิจตั้งแตแรก แตตอมาเมื่อกิจการขยายโดยมีผูตองการผลิตและผูตองการซื้อสินคาที่ชัดเจน เขาขายเปนกิจกรรมการคา จึงมีความคิดวาหากทำกิจกรรมเชนนี้ตอไป จำเปนตองวาจางทีมงานประจำที่ชวยดานการตลาดและการจำหนาย เมื่อมีรายไดและรายจายไปจนถึงกิจกรรมทางการคาที่ชัดเจน จึงเห็นสมควรวาตองเปลี่ยนโครงสรางสมาคมใหเปนนิติบุคคลที่จดทะเบียนอยางถูกตองประเภทบริษัทจำกัด

เหตุขางตนเปนเพราะวา ตามกฏหมายไทยนั้น องคกรในรูปแบบสมาคมไมสามารถทำการคาโดยใชรายไดจากการขายสินคา/ผลิตัณฑมาเปนรายไดขององคกร อีกทั้งกฎหมายไทยไมมีการจดทะเบียนนิติบุคคลที่รองรับกับการทำการคานอกเหนือจากการจดทะเบียนเปน หางหุนสวนจำกัด หรือ บริษัทจำกัด ดังนั้นการจดเปนบริษัทจำกัดจะ ทำใหองคกรสามารถประกอบธุรกรรมเชนบริษัทเอกชนทั่วไป แตสามารถรักษาวัตถุประสงคในการพัฒนาและสนับสนุนผูผลิตหัถกรรม ซึ่งเปนวัตถุประสงคหลัก

การทำธุรกิจในคราบนิติบุคคลที่เปนบริษัทนั้นจะตองจายภาษีใหกับรัฐโดยหักจากกำไรเฉกเชนบริษัทเอกชนทั่วไป ตางจากเมื่อจดทะเบียนเปนนิติบุคคลแบบสมาคม ซึ่งจะตองจายภาษีที่หักจากรายได รอยละสิบ (10% of revenue) Thaicraft จึงมีขอไดเปรียบเมื่อเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางนิติบุคคลมาเปนบริษัทจำกัด อีกทั้งการจดทะเบียนเปนบริษัทจำกัดจะเพ่ิมความเปนไปไดในการการขยายและการกระจายกิจการ เชน การขยายไปสูตลาดตางประเทศและการขอเอกสารอนุญาติการสงออก (export license) ซึ่งนิติบุคคลประเภทสมาคมอาสาสมัคร ไมสามารถทำได

1.3 วัตถุประสงควัตถุประสงคหลักของบริษัทคือการสรางรายไดใหแกชางฝมือในหมูบานและเพื่อรักษาประเพณีและสืบทอดงานฝมืออันมีคาของประเทศ สุดทายคือเพ่ือปรับใชและสนับสนุนหลักการคาที่เปนธรรมแบบ Fair Trade

Page 3: กรณีศึกษา บริษัท ไทยคราฟ แฟร์เทรด จำกัด

1.4 วิสัยทัศนวิสัยทัศนที่เกิดจากวัตถุประสงคขางตน คือการเปนผูนำตลาดสินคาหัตถกรรมคุณภาพสูง เพื่อสรางผลประโยชนทางเศรษฐกิจแกชุมชน และผูผลิตที่ดอยโอกาสในประเทศไทย

วิสัยทัศนดังกลาวสามารถแตกออกมาเปนพันธกิจ ดังน้ี:

• สามารถหาและพัฒนาชองทางการตลาดที่ย่ังยืนใหกับกลุมชางฝมือไทย

• เสนอทางเลือกใหมใหแกกลุมผูบริโภคสินคาหัตถกรรมรุนใหม

• ชวยพัฒนาศักยภาพในการผลิตและการจัดการของผูผลิต

• สามรถทำใหกลุมชางฝมือหมูบานสามารถพ่ึงพาตนเองได

• สรางโอกาสทางธรกิจใหกับกลุมชางฝมือ ทำใหไมตองพ่ึงพาการบริจาค

1.5 ขั้นตอนการเริ่มดำเนินการดานการหาผูผลิตนั้น บริษัทThaiCraftจะลงพ้ืนที่ไปหาเองโดยอาศัยผานเครือขายทองถ่ิน NGO และหนวยงานราชการในพื้นที่ เชนกรมพัฒนาชุมชน เปนหลักในการแนะนำแหลงชุมชนที่ทำงานหัตถธรรม โดยThaiCraft จะเขาไปเชิญชวนใหมาทำการคาผานTradeFair ทั้งนี้การเขาหาผูผลิตนั้นไมเจาะจงแคเฉพาะบางพ้ืนที่แตตองการเขาถึงทุกพ้ืนที่ ซึ่งหลังจากที่ThaiCraftเองมีชื่อเสียงเปนที่รูจักมากขึ้น จึงมีกลุมผูผลิต/ผูประกอบการบางรายที่มาเสนอผลิตภัณฑของตนใหพิจารณา

1.6 สรุปผลการทำงานท่ีผานมา ตลอดการทำงานของ ThaiCraft Fair Trade Co., Ltd มีประสบการณในการสงเสริมกลุมชางฝมือผูผลิตจำนวนมาก ซึ่งเปนเจาของผลิตภัณฑดานหัตถกรรม อาหาร และเครื่องอาบน้ำเปนตน ดังนี้:

• Aranyik

• Araya Clay & Craft

• Ban Chang Designs

• Bang Chao Cha

• Ban Nong Salap

• Ban Talae Nok

• Chachoengsao Crafts

• Chainat Baskets

• Doi Tao

• Fai Gam Mai

• Karen Silver

• Lanna Cafe

• Lao Song

• Nan Hattakam

Page 4: กรณีศึกษา บริษัท ไทยคราฟ แฟร์เทรด จำกัด

•Narathiwat Baskets

•Nong Takai

•Padang Coconut

•Panmai

•Pla Tapien

•Prae Pan

•Pru Teow Batik

•Saori Crafts

•Sarapee Lamps

•Sa Sri Moom

•Shadow Puppet

•Soap Carring

•Songkha Flowers

•Surin Silver

•Tai Song Dum

•Thai Tribal Craft

•Thai Loei

•U-thong Quilts

2. ผลิตภัณฑ/ บริการ

2.1 ภาพรวมผลิตภัณฑ/บริการThaiCraft ไมมีผลิตภัณฑ เปนของตัวเอง กลาวคือ ไมไดเปนผูผลิต และไมมีความเก่ียวของใดๆทั้งสิ้นกับการผลิตสินคาหัตถกรรมของชาวบาน ดังนั้น รายไดของ ThaiCraft มาจากการใหบริการจัดหาตลาดใหผูผลิตเหลานี้แสดงสินคา นอกจากนี ้ ThaiCraft ยังการใหบริการที่ปรึกษาเรื่องการตลาด การออกแบบผลิตภัณฑ และการผลิตใหตรงกับกลุมเปาหมาย

ตัวผลิตภัณฑนั้นมาจากกลุมผูผลิตที่เปนชาวบานโดยตรง และมีการขนสงเขามาตามโอกาสที่ไดแสดงตามงานแสดงสินคา (Trade Fair) ของ ThaiCraft โดยที่ ThaiCraft ไมไดเขาไปตรวจคุณภาพผลิตภัณฑทุกชิ้น แตจะประเมินจาก feedback ของลูกคาในงาน หลังจากนั้นจึงเสนอคำแนะนำใหผูผลิตปรับรูปแบบและวัถุดิบใหตรงกับความตองการของตลาด

ดังนั้น ThaiCraft จึงไมมีสวนเก่ียวของโดยตรงกับกระบวนการผลิต แตจัดใหเปนหนาที่ของผูผลิตเอง และหากวาผูผลิตไมสามารถปรับสูความพอใจของลูกคาได ก็จะไมสามารถทำยอดขายในตลาด และออกจากการเปน partnerในที่สุด ซึ่งเคยปรากฏในอดีตโดยที่ผูบริหารไมไดเปดเผยขอมูลผูผลิตดังกลาว

Page 5: กรณีศึกษา บริษัท ไทยคราฟ แฟร์เทรด จำกัด

ThaiCraft มีเกณฑในการแสดงสินคา โดยที่สินคาจะตองเปนสินคาหัตกรรมเทานั้น และตองตั้งราคาใหเหมาะสมกับกลุมผูบริโภคและคุณภาพของสินคา ซึ่งคุณภาพจะตองไดมาตรฐาน เชน ถาเปนเครื่องครัว หรือเครื่องประดับเงิน ตองมีเลขประทับบงชี้ความบริสุทธิของเงิน เปนตน ดานประเภทสินคา เจาหนาที่ของ ThaiCraftจะมีหนาที่ในการคัดสรรผลิตภัณฑตางๆเพื่อหาผลิตภัณฑที่เหมาะสมกับความตองการของตลาดชาวตางชาต ิ ผลิตภัณฑดังกลาวเชน สิ่งทอ สิ่งประดิษฐที่ทำจากธรรมชาต ิ สิ่งประดิษฐที่ทำจากขยะพลาสติก เครื่องครัว เครื่องประดับ และของตกแตงบาน เปนตน โดยที่ไมจำกัดชนิดของสินคาตอภูมิภาคใดโดยเฉพาะ

ประเภทผลิตภัณฑจากกลุมผูผลิตของ ThaiCraft มีดังน้ี:

• เครื่องประดับ

• เสื้อผา

• สิ่งทอ

• ของใชภายในบาน

• เครื่องสาน

• สินคาตกแตงบาน

• เครื่องเขียน

• เครื่องดนตรี

• ของเลนเด็ก

2.2 ศักยภาพและขอบเขตของผลิตภัณฑ/บริการในการจัดตั้งในรูปแบบของการเปนหุนสวนกับกลุมหัตถกรรมนั้น ThaiCraft จะทำ Memorandum of Understanding หรือ MOU (บันทึกความเขาใจ) เปนการตกลงรวมกัน แทนที่จะใชสัญญาที่มีเกณฑบังคับชัดเจน โดยThaiCraftคาดหมายวาหุนสวนตองมีคุณสมบัติที่เปนกลุมกอนของคนที่ทำธุรกิจอยูแลว และมีแผนธุรกิจและแผนการผลิตที่ชัดเจน

ขอบเขตการใหความชวยเหลือหุนสวนคือแนะนำเกี่ยวกับกระบวนการผลิตและการออกแบบใหตรงกับความตองการของตลาดเทานั้น ถาเปนกลุมชุมชนที่ไมมีสินคาที่พัฒนามาแลวชัดเจนThaiCraft จะไมพิจารณารวมธุรกิจดวย และการใหบริการของThaiCraft คือการเปนตลาดกลางสำหรับการคาระหวางกลุมผูผลิตในตางจังหวัดและผูบริโภค ซึ่งสวนใหญเปนชาวตางชาต ิ ซึ่งถือเปนบริการหลักของThaiCraft นอกจากนี้ยังชวยเรื่องการตลาด ซึ่งจุดเดนคือสามารถให feedbackจากตลาดไดโดยตรง

ปจจุบันเปนหุนสวนที่เปนผูผลิตประมาณ 70 รายทั่วประเทศ โดยมาจากทุกภูมิภาค ศาสนาและวัฒนธรรม/ภูมิหลัง ซึ่งประมาณรอยละ สี่สิบของผูผลิตทั้งหมด 70 รายคือผูผลิตที่เปนหุนสวนในระยะยาว

Page 6: กรณีศึกษา บริษัท ไทยคราฟ แฟร์เทรด จำกัด

กลุมผูผลิตเหลาน้ีไดแก:

• กลุมผูขาดแคลน groups with special needs

• กลุมผูดอยโอกาสทางสังคม การเมือง หรือกลุมที่ประสบปญหาเรื่องสิ่งแวดลอม

• สหกรณหมูบานในชนบท

• โครงการตางๆในสลัม (slum projects)

• โครงการในชุมชนขนาดเล็ก

โดยผูผลิตทุกรายที่ตองรับทราบและสามารถทำตามขอบังคับของการทำการคาที่เปนธรรม (Fair Trade) เพ่ือใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล ตั้งแตการวาจางแรงงาน กระบวนการผลิต จนถึงการตั้งราคา กอนที่จะทำการตกลงตาม MOU ในฐานะหุนสวนทางการคาของ ThaiCrafts Fair Trade Co.,Ltd ซึ่งมีระบุในหัวขอ 4.2.1

3. โอกาสทางธุรกิจ

3.1 แผนการตลาดเนื่องจากบริษัทเนนการใหบริการดานการตลาด กลาวคือจัดสถานที่และโอกาสใหกลุมผูผลิตไดจำหนายสินคา จึงจำเปนจะตองมีทีมงานดานการตลาดและPublic Relationsที่คอนขางแข็งแกรง อยางไรก็ตามการบริหารงานของThaiCraftpยังยึดแนวคิดวา บริษัทมีที่มาจากสมาคมอาสาสมัครชาวตางชาติ และมีผูบริโภคเปนชาวตางชาติในกรุงเทพมานับหลายสิบป ทำใหมีตลาดผูบริโภคหัตถกรรมที่เหนียวเนนชัดเจนและมีBrand Awareness พอสมควร ประกอบกับผูบริโภคมีกำลังซื้อสูง ซึ่งกลุมผูบริโภคนี้มีการหมุนเวียนตลอดเวลาเนื่องจากเปนกลุมชาวตางชาติที่เขามาพำนักประเทศไทย(expats)เปนระยะเวลาประมาณ2-4ป ดังนั้นThaiCraftจึงแสดงตำแหนงทางการตลาด Market Positioning ตนเองเปนTrade facilitator ในตลาดที่มีชัดเจนอยูแลว และเปนตลาดที่มีรายไดคอนขางดีกวาตลาดผูบริโภคชาวไทย

3.1.1 แผนการขายสงในประเทศและนอกประเทศความทายตอไปคือการขยายตลาดไปสูชาวตางชาติในตางประเทศและสูคนไทยภายในประเทศ เพื่อเพิ่มฐานผูบริโภค ขั้นตอนแรกคือใหชื่อของบริษัทเปนที่รูจักของผูบริโภคมากขึ้น ซึ่งแผนการพัฒนาการขายลักษณะ wholesale หรือ ขายสง เปนชองทางการทำการตลาดดังกลาว โดยที่ผานมาบริษัทไดมีการขายสงใหตางประเทศ แตในอัตราไมมาก cการขายสงใหตางประเทศ เปนไปในลักษณะที่หาตัวแทนจำหนายในตางประเทศ และจัดใหสินคาหัตถกรรมของผูผลิตไดแสดงใน งานแสดงสินคา trade expo และตาม Outletตางๆ ภายใตชื่อของ ThaiCraft Fair Trade Co.,Ltd สวนการขายภายในประเทศนั้น มุงเปาหมายไปที่บริษัทตางๆที่ตองการสินคาหัตถกรรมเปนของชำรวยใหแกลูกคาและพนักงาน

Page 7: กรณีศึกษา บริษัท ไทยคราฟ แฟร์เทรด จำกัด

3.1.2 Brandingในการขายสงในประเทศและตามงานแสดงสินคาของ ThaiCraft Fair Trade นั้น มีการติดปายระบุวาผลิตภัณฑเปนสินคา ThaiCraft ซึ่งบงชี้ใหเห็นวาเปนผลิตภัณฑคุณภาพที่คัดสรรมาแลว และเปนไปตามมาตรฐานFair Trade ของสากล ในขณะเดียวกัน ตัวผลิตภัณฑเองก็มี brand ของกลุมผูผลิตติดอยูเชนกัน แสดงใหผูบริโภคทราบวามิไดเปนการนำสินคาของกลุมผูผลิตหัตถกรรมมาขายตอแตอยางใด brand ของ ThaiCraft จึงเปน brandที่แทนตัวผูจัดงาน และไมใช brandของสินคา

3.2 ความสัมพันธกับผูผลิตดานความสัมพันธกับผูผลิตนั้นบริษัทเริ่มโดยเปนหุนสวนกับกลุมชางฝมือ 25 กลุมในหมูบานในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และตอมาในภาคใต ในป ค.ศ. 1995 ปจจุบันบริษัทเปนหุนสวน (partner) กับกลุมชางฝมือทั้งหมด 70 กลุมจากทุกภาคทั่วประเทศ โดยที่มีการพบปะสื่อสารระหวางตัวแทนจากแตละกลุมและอาสาสมัคร และระหวางกลุมกันเอง บนเวทีที่ทางบริษัทจัดขึ้นเพ่ือแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณในการทำธุรกิจรวมกัน นอกจากนี ้ บริษัทไดรับทุนจำนวนหนึ่งจากมูลนิธิ Ford Foundation และกองทุน Canada Fund เพ่ือการฝกอบรมและพัฒนาความสามารถการผลิตของกลุมฝมือในหมูบานเหลานี้อีกดวย

3.3 วิเคราะหตลาด และคูแขงการทำธุรกิจในลักษณะที่เปนหุนสวนกับกลุมชุมชนหัตถกรรมในชนบทนั้น มีองคกรและบริษัททำอยูจำนวนหนึ่ง และในกลุมนั้นก็มีจำนวนหนึ่งที่มีลูกคากลุมเปาหมายเปนชาวตางชาต ิ แตลักษณะการทำธุรกิจที่มีการคาโดยผาน Trade Fair โดยที่ใหกลุมชางฝมือนำสินคามาขายดวยตอนเองนั้น พบวาThaiCrafts Fair Trade ไมมีคูแขงทางการตลาดอยางแทจริง

3.3.1 กลุมลูกคาลูกคาเปาหมายของบริษัทคือผูบริโภคหัตถกรรมและผลิตภัณฑทองถ่ิน เปนผลิตภัณฑที่มีคุณคาทางความงามและมีประโยชนในการใชสอยควบคูกัน กลุมผูบริโภคมีความตองการสินคาที่มีที่มาทางวัฒนธรรมมีเรื่องราว กลุมผูบริโภคนั้นมีสำนึกในการชวยเหลือสังคม กลาวคือบริษัทตองการใหลูกคาแนใจวารายไดจากการขายนั้นจะมีผลกระทบใหเกิดการพัฒนารายไดแกชางฝมือ และไมเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม

ลูกคาสวนใหญเปนกลุมชาวตางชาติที่มีรายไดคอนขางสูง และมีกำลังในการซื้อมาก ในขณะเดียวกันก็มีกลุมลูกคาที่เปนชาวไทยก็เพ่ิมขึ้นจากอดีต

3.4 วิเคราะหการเติบโตของธุรกิจบริษัทวางแผนที่จะเติบโต ในตลาดภายในประเทศ ซึ่งยังคงยึดตลาดผูบริโภคจากงานแสดงสินคาเปนรายไดหลัก และมีความตองการขยายตลาด โดยการจัดงานแสดงสินคาในพ้ืนที่อื่นๆนอกเหนือจากกรุงเทพฯ และการจัดงานแสดงสินคาใหมีระยะถี่ขึ้นตามความเหมาะสมของกลุมลูกคาเปาหมาย โดยมุงเปาหมาย

Page 8: กรณีศึกษา บริษัท ไทยคราฟ แฟร์เทรด จำกัด

ไปตามโรงเรียนนานาชาติ โรงพยาบาลที่มีลูกคาชาวตางชาติจำนวนมาก และตามงานสัมมนาตางๆที่เก่ียวของกับผูแทนนานาประเทศ

รายไดรองลงมาคือการขยายตลาดขายตรงในตางประเทศ ซึ่งลูกคาหลักคือ ประเทศอเมริกาและกลุมประเทศยุโรป เชนอังกฤษ และ เนเธอแลนด เปนตน โดย ในป ค.ศ. 2008 ลูกคาในตลาด wholesale ตางประเทศของ Thaicraft ไดแก ประเทศในทวีปยุโรป (อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน เนเธอแลนด) สี่สิบเปอรเซ็นต ตามดวย อเมริกา (สามสิบเปอรเซ็นต) ญ่ีปุน (ย่ีสิบปอรเซ็นต) และ ออสเตรเลีย ซึ่งมีเปอรเซ็นตของตลาด สิบเปอรเซ็นต โดยประมาณ การขายตรงในตางประเทศนั้นเนนที่การขายใหราน wholesale เชนใน เนเธอแลนด และผูขาย online เปนสวนมาก

รายไดอันดับสามของบริษัทมาจากการขอยตรงในประเทศไทย ซึ่งเปนตลาดใหมและกำลังขยับขยาย ตลาดนี้มุงเนนขายกับบริษัทตางๆในงานเทศการ เพื่อเปนผลิตภัณฑสัมมนาคุณใหกับลูกคา และ/หรือ พนักงาน

4. ผลทางสังคม/สิ่งแวดลอม

4.1 การใชอาสาสมัครในการทำงานดานการใชอาสาสมัคร ThaiCraft Fair ใชทั้งรายบุคคลและเปนกลุมเพ่ือสนับสนุนใหเกิดความเชื่อมโยงอันใกลชิดระหวางผูจัดและผูผลิต ถือเปนเอกลักษณที่โดดเดนของธุรกิจนี้ โดยองคกรพยายามใชอาสาสมัครจากหลายพ้ืนที่หลายเชื้อชาติ ซึ่งสิ่งที่อาสามัครไดรับตอบแทนมาคือประสบการณตรงดานการทำงาน ไดสัมผัสกับวัฒนธรรมพ้ืนบานของประเทศไทย โดยThaiCraftจัดทัวรเย่ียมผูผลิตและชางฝมือตามหมูบานในภูมิถาคตางๆของประเทศไทย นอกจากนี้มีอาสาสมัครที่เปนนักเรียนของโรงเรียนนานาชาติกรุงเทพ (International School Bangkok)มาชวยงาน Fair ซึ่งเปนสวนหนึ่งของหลักสูตรการศึกษา คือ การทำงานชวยเหลือสังคม

4.2 การใชหลัก Fair Tradeในการทำการคาสาเหตุของการตั้งสมาคมในชวงแรก คือความตองการที่จะเปนตลาดสำคัญใหกับชุมชนผูผลิตหัตถกรรมที่เปนธรรมทั้งในและนอกประเทศ เนื่องจากพบวาผูผลิตไมไดรับการเปนธรรมเพราะโดนนายทุนเอาเปรียบ ดังนั้นในการทำงานกับผูผลิตจึงเปนจุดยืนของบริษัทตลอดมาวาบริษัทจะเขาหาผูผลิตในฐานะที่เปนผูรวมการทำการคาแตเปนการคาอยางเปนทำ

ตามความจำกัดคำของ Fair Trade ซึ่งเปนแนวคิดสากล มีเครือขายของบริษัททั่วโลกที่ปฏิบัติภายใตบรรทัดฐานขององคกรชื่อ Fair Trade ซึ่ง Fair Trade มีความหมายโดยรวมวา การทำการคาที่เปนธรรม ซึ่งคำจำกัดความนี้บรรยัติขึ้นโดยสี่เครือขายองคกรนานาชาติเพื่อการคาที่เปนธรรม (Fairtrade Labelling Organizations International, World Fair Trade Organization, Network of European Worldshops

Page 9: กรณีศึกษา บริษัท ไทยคราฟ แฟร์เทรด จำกัด

และ European Fair Trade Association) แนวคิดของ Fair Trade คือการคาที่โปรงใสและการทำธุรกิจดวยความเคารพซึ่งกันและกันและเพ่ือความเทาเทียมทางการคาสากล ซึ่งสงผลใหเกิดการคาที่ย่ังยืน และการปกปองสิทธิของผูผลิตและแรงงาน โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา การคาที่เปนธรรมนี้กอตั้งขึ้นเพ่ือเปนขอพิสูจนวาธุรกิจสามารถประสบความสำเร็จไดดวยการใหความสำคัญที่ตัวบุคคลเหนือผลประโยชนอื่นใด1

ThaiCrafts Fair Trade Co.,Ltdนั้นเปนสมาชิกขององคกรการคาที่เปนธรรมทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค (International and Regional Fair Trade Organizations) ไดแก:

• WFTO - World Fair Trade Organization (ชื่อเดิมคือ IFAT)

• WFTO-Asia (ชื่อเดิมคือ AFTF-Asia Fair Trade Forum)

4.2.1 ยุทธศาสตรการทำการคาท่ีเปนธรรม ตามมาตรฐานสากลขององคกร Fair Trade 1) การสรางโอกาส (Create Opportunity)

• เจาะจงที่จะทำงานรวมกับผูผลิตและแรงงานเพ่ือชวยใหพนจากสภาพที่เปราะบางไปสูสภาวะที่มั่นคงและคงอยูไดดวยตนเอง(security and self-sufficiency)

2) เสริมสรางการจางงาน (Enable Empowerment)

• สงเสริมผูผลิต แรงงาน ตลอดจนผูมีสวนไดสวนเสียในองคกร

• สรางการจูงใจ (Promote Influence)

• แสดงบทบาทที่กวางขึ้นในเวทีโลกในการผลักดันใหเกิดการคาที่เปนธรรมในระดับสากล

หลักการขางตนน้ีสามารถแปลเปนหลักการทำงานของ ThaiCraft ไดดังน้ี:

• รักษาราคาที่เปนธรรมใหกับกลุมชางฝมือผูผลิต

• สนับสนุนผูผลิตที่ดอยโอกาส

• มีสำนึกตอคนและสิ่งแวดลอม

• สรางตลาดใหมใหแกกลุมผูผลิต

• เสริมสรางความแข็งแกรงทางการตลาดใหแกชางฝมือ

• มีความโปรงใสกับผูผลิตและลูกคา

4.3 กิจกรรมการอบรมและพัฒนาชางฝมือ

• จัดการฝกอบรมและใหคำปรึกษาดานการออกแบบผลิตภัณฑ การบริหารและประกอบกิจกรรมทางธุรกิจ

1 "Fair Trade is a trading partnership, based on dialogue, transparency and respect, that seeks greater equity in international trade. It contributes to sustainable development by offering better trading conditions to, andsecuring the rights of, marginalized producers and workers – especially in the South."

Page 10: กรณีศึกษา บริษัท ไทยคราฟ แฟร์เทรด จำกัด

• สำรวจ และดูแลความเขาใจเรื่องมาตรฐานการคาที่เปนธรรม (Fair Trade) สำหรับผูผลิตและของตัวบริษัทThaiCraft Fair Trade Co.,Ltd เอง ซึ่งขยายความไปถึงการมีสภาพแวดลอมการทำงานที่ดี มีมตารการเรื่องสุขภาพและความปลอดภัย การไมใชแรงงานเด็ก การรักษาสิ่งแวดลอม เปนตน

• สรางเครือขายใหกับกลุมชางฝมือ เชน จัดงานสัมมนาและ workshop ทั้งในพ้ืนที่และระดับประเทศ เพ่ือใหขาวสารเก่ียวกับกระแสผลิตภัณฑและการตลาดของโลก

• รับฟงความเห็นและใหการปรึกษากลุมชางฝมือ และใหมีสวนรวมในการวางแผนธุรกิจ ตลอดจนการจัดกิจกรรมและการประเมินผลตางๆ ตามเห็นสมควร

5. แผนการบริหารจัดการ

5.1 ขอมูลบริษัท

ชื่อ:c c ThaiCraft Fair Trade Co., Ltd.ที่อยู: c c 242 ถนน อาคารสงเคราะห สาย 15 แขวงทุงวัดดอน เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120โทรศัพท:c +66 (0)2 676-0636แฟกซ: c c +66 (0)2 286-0675Email:c c [email protected] Website: c www.thaicraft.org

Page 11: กรณีศึกษา บริษัท ไทยคราฟ แฟร์เทรด จำกัด

5.2 แผนผังบริษัท

ขอมูลท่ีใชประกอบการเขียนท้ังหมด มีท่ีมาดังน้ี:

• การสัมภาษณ ผูจัดการดานธุรกิจ บริษัท ThaiCraft Fair Trade Co., Ltd• Website: www.thaicraft.org

• ขอมูลจากเอกสารและ brochure จากบริษัท ThaiCraft Fair Trade Co., Ltd