˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 ·...

40

Upload: others

Post on 09-Jan-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ
Page 2: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

บุคคล องคกร หรือหนวยงานใด ตองการส่ังซื้อหนังสือเลมนี้จำนวนมากในราคาพิเศษ สั่งซื้อโดยตรงไดที่สำนักพิมพโพสตบุกส

136 ถนน ณ ระนอง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0-2240-3700 ตอ 1655, 1459

อีเมล : [email protected]

Page 3: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

ไสว บุญมา, นภาพร ลิมปปยากร

เขียน

Page 4: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ
Page 5: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

หากงานนี้มีผล เปนกุศลอุทิศได เรากราบอุทิศให พอแมเราทั้งสองคน

Page 6: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

มหาเศรษฐีข้ีไมเหนียว • ไสว บุญมา, นภาพร ลิมปปยากร เขียน

เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ ISBN 978-616-7061-90-0

พิมพครั้งท่ี 1 : โพสตบุกส, กุมภาพันธ 2554

ขอมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแหงชาติ ไสว บุญมา. มหาเศรษฐีขี้ไมเหนียว-- กรุงเทพฯ : โพสตบุกส, 2554. 432 หนา. 1. นักธุรกิจ. 2. การจัดการธุรกิจ. l. นภาพร ลิมปปยากร, ผูแตงรวม. ll. ชื่อเรื่อง. 658.4092

ISBN 978-616-7061-90-0

ราคา 230 บาท

บรรณาธิการบริหาร : ภานี ลอยเกตุ ผูชวยบรรณาธิการบริหาร : จันทรพร รักทวม

บรรณาธิการพิเศษ : เพชรภี ปนแกว พิสูจนอักษร : ระวิน ลืมพลู

ศิลปกรรม : พิมพสวัสดิ์ ฑิฆัมพร

ผูจัดการธุรกิจสำนักพิมพ : สุพร พรฤกษงาม ฝายจัดการธุรกิจสำนักพิมพและการตลาด : สิทธิชัย อิงคุลานนท, พรพิมล วังอินทร, กฤษณี เตชะวิศิษฐพงษ, สงกรานต พสุธาสถิตย

จัดพิมพโดย

บริษัท โพสต พับลิชชิง จำกัด (มหาชน) 136 ถนน ณ ระนอง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

แยกสีและพิมพท่ี แผนกงานพานิชย

บริษัท โพสต พับลิชชิง จำกัด (มหาชน) 136 ถนน ณ ระนอง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

โทรศัพท 0-2240-3700 ตอ 3021, 3022 จัดจำหนายท่ัวประเทศโดย

บริษัท ซีเอ็ดยูเคช่ัน จำกัด (มหาชน) อาคารเนช่ันทาวเวอร ชั้นท่ี 19 เลขท่ี 1858/87-90

ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท 0-2739-8222,0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8356-9 http://www.se-ed.com

สงวนลิขสิทธ์ิโดย บริษัท โพสต พับลิชชิง จำกัด (มหาชน)

Page 7: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

สารบัญ

คำนำสำนักพิมพ : 12 คำนำผูเขียน : 14

I

จากสมองของนักธุรกิจผูคิดเยี่ยงปราชญ

ห นึ่ ง Warren Buffett

The Essays of Warren Buffett ลำนำผูทำเงิน

22

ส อ ง Bill Gates

The Road Ahead มองตามสายตามหาเศรษฐี

42

ส า ม George Soros

The New Paradigm for Financial Markets วิกฤติสาหัสกับกระบวนทัศนใหม

68

Page 8: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

II ใชเสนหปลายจวักสรางอาณาจักรธุรกิจ

สี่

Ray Kroc Grinding It Out

ทำแมคโดนัลดใหเปนอาหารชาวโลก 92

ห า William Rosenberg

Time to Make the Donuts สรางตำนานการทำโดนัท

108

ห ก Howard Schultz

Pour Your Heart into It รินสตารบัคสใสถวยดวยหัวใจ

128

เ จ็ ด Martha Stewart The Martha Rules

มนตของสตรีผูมีเสนห 154

Page 9: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

III สรางธุรกิจแบบคิดนอกกรอบ

แ ป ด

Richard Branson Business Stripped Bare เลือกกะเทาะเปลือกธุรกิจ

174

เ ก า Herb Kelleher

The Southwest Airlines Way การบินตนทุนต่ำผูนำรอง

196

สิ บ Sam Walton

Made in American สรางรานคายักษใหญในอเมริกา

216

สิ บ เ อ็ ด Steve Jobs

Inside Steve’s Brain เปดสมองอัจฉริยะ

238

Page 10: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

IV พัฒนาสูการเปนจาฝูง

สิ บ ส อ ง

David Packard The HP Way

ทางสรางธุรกิจเทคโนโลยี 262

สิ บ ส า ม Thomas J. Watson, Jr.

Father, Son & Co. ตำนานการปกธงไอบีเอ็ม

282

สิ บ ส่ี Michael Dell Direct from Dell สงตรงจากเดลล

306

สิ บ ห า Sergey Brin/Larry Page

The Google Story คนหาอะไรก็ไดหมด

326

Page 11: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

V จากปากกาของมืออาชีพ

สิ บ ห ก

Michael Eisner Work in Progress

ขยายอาณาจักรมิกกี้ เมาส 352

สิ บ เ จ็ ด Louis V. Gerstner, Jr.

Who Says Elephants Can’t Dance? สอนชางเตนระบำ

374

สิ บ แ ป ด Jack Welch

Winning สูการเปนผูกำชัย

398

ภาคผนวก

Giving Pledge คำมั่นสัญญาจะบริจาค

422

ประวัติผูเขียน 430

Page 12: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

12

คำนำสำนักพิมพ

นกัธรุกจิในโลกนีม้อียูมากมาย หากแตมไีมกีค่น ทีส่ามารถกาวขึน้

สูความสำเร็จระดับสูงสุด กลายเปนมหาเศรษฐี และเปนตำนานให

ผูคนไดจดจำ ประสบการณและแนวคิดของนักธุรกิจเหลานั้นเปนเชนไร

จึงทำใหพวกเขาประสบความสำเร็จได

”มหาเศรษฐีข้ีไมเหนียว„ เลมนี้ไดรวบรวมแนวคิดของนักธุรกิจ

ชั้นนำระดับมหาเศรษฐี ผูพลิกโฉมหนาเศรษฐกิจโลกในยุคโลกาภิวัตน

โดยคัดยอมาจากหนังสือ 18 เลมที่นักธุรกิจน้ันๆ เขียนขึ้นจากประสบ-

การณของตนเอง และจากผูเขียนอื่นที่ไดศึกษาเรื่องราวของนักธุรกิจ

นั้นมาอยางดี โดยคัดเลือกมาจากหลากหลายวงการ ไดแก วอรเรน

บัฟเฟตต (Warren Buffett), บิลล เกตส (Bill Gates), จอรจ โซรอส

(George Soros), เรมอนด คร็อก (Raymond Kroc) ผูสราง Mc

Donaldûs, วิลเลียม โรเซนเบิรก (William Rosenberg) ผูกอตั้ง

Dunkinû Donuts, โฮวารด ชุลท (Howard Schultz) ผูรวมกอตั้ง

Starbucks, มารธา สจวต (Martha Stewart) ผูกอตั้ง Martha

Stewart Living Omnimedia, ริชารด แบรนสัน (Richard Branson)

ผูกอตั้ง Virgin Group, Southwest Airlines ผูบุกเบิกธุรกิจการบิน

ตนทุนต่ำ, แซม วอลตัน (Sam Walton) ผูกอตั้ง Wal-Mart รานคา

ปลีกอันดับหนึ่งของโลก, สตีฟ จอบส (Steve Jobs) ผูรวมกอตั้งและ

สรางตำนานบริษัท Apple, วิลเลียม ฮิวเล็ตต (William Hewlett) และ

เดวิด แพ็กคารด (David Packard) ผูกอตั้งบริษัท Hewlett-Packard

(HP), สองพอลูกตระกูล ”วัตสัน” (Watson) ผูสรางตำนาน ”IBM„,

ไมเคิล เดลล (Micheal Dell) ผูกอตั้งบริษัท Dell, เซอรเกย บริน

(Sergey Brin) และ ลารรี เพจ (Larry Page) ผูใหกำเนิด Google,

Page 13: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

13

ไมเคิล ไอสเนอร (Michael Eisner) ผูบริหาร Disney, หลุยส เกิรส-

เนอร (Louis Gerstner) ผูบริหาร IBM และ แจค เวลช (Jack Welch)

ผูบริหาร GE

นักธุรกิจเหลานี้ลวนเปนสุดยอดนักธุรกิจ ที่มีแนวคิดอันเฉียบ

แหลม บวกกับความมุงมั่น ทุมเท ทั้งรางกาย จิตใจ และมันสมอง

จนกาวไปสูความสำเร็จสูงสุด สามารถสรางอาณาจักรธุรกิจของตนเอง

ใหยิ่งใหญ สรางรายไดใหกับตนเองและประเทศชาติไดอยางมหาศาล

รวมท้ังยังแบงปนใหกับผูดอยโอกาสในสังคม ดวยการบริจาคเงินปละ

นับพันลานดอลลาร แนวความคิดของพวกเขาจึงเปนบทเรียนที่ดีทั้งใน

แงของการทำธุรกิจและการแบงปนเพื่อสังคม

สำนกัพมิพหวงัเปนอยางยิง่วา ”มหาเศรษฐีข้ีไมเหนียว„ เลมนี ้จะ

เปนประโยชนสำหรับผูที่กำลังมองหาแนวคิดเพื่อเปนแนวทางในการ

ทำธุรกิจของตนเอง รวมท้ังผูที่กำลังแสวงหาความสำเร็จในชีวิตทุกคน

โพสตบุกส

Page 14: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

14

คำนำผูเขียน

หนังสือเลมนี้เปนเลมที่ 3 ของเรา เลมแรกชื่อ ”กะลาภิวัตน” และเลมที่ 2 ชื่อ ”ธาตุ 4 พิโรธ” เฉกเชนสองเลมแรก เลมนี้รวมบทคัดยอ

ของหนังสือที่มีชื่อเสียงและตนฉบับเปนภาษาอังกฤษ เราเห็นวาหนังสือ

ที่เรานำมาคัดยอนาจะมีประโยชนตอคนไทย จึงไดนำมาเสนอ

กะลาภิวัตน ครอบคลุมวิวัฒนาการหลายดาน จากอดีตจนถึง

ปจจุบันเพื่อปูฐานสำหรับอานเหตุการณโลกในวันนี้ และแนวโนมที่อาจจะ

เกิดในวันขางหนา ธาตุ 4 พิโรธ ครอบคลุมวิวัฒนาการดานสิ่งแวดลอม

อันเปนผลมาจากกิจกรรมของมนุษยเราโดยยึดเอาธาตุ 4 ซ่ึงมีดิน น้ำ

ลมและไฟเปนแกนดำเนินเรื่อง

สำหรับ ”มหาเศรษฐีข้ีไมเหนียว„ เรานำแนวคิดของนักธุรกิจ

ระดับมหาเศรษฐี 18 คนมาเสนอ แนวคิดเกือบทั้งหมดมาจากหนังสือ

ที่ผูทำธุรกิจเขียนขึ้นจากประสบการณของตนเอง หนังสือสวนใหญอยู

ในรูปของการเลาเร่ืองจากความทรงจำ เนื้อหาจึงครอบคลุมทั้งแนวคิด

ในการทำธุรกิจและเร่ืองสวนตัวของแตละคน บางเลมมีเรื่องสวนตัว

เพียงเล็กนอย แตบางเลมมีคอนขางมาก ในการทำบทคัดยอ เราเนน

ดานแนวคิดในการทำธุรกิจเปนหลัก ฉะนั้นเรื่องสวนตัวจึงมักมีเพียง

จำกัด

เราแบงเนื้อหาออกเปน 5 ภาคดวยกัน ภาคแรกเปนการมองโลก

แบบกวางๆ ในเชิงปรัชญาของนักธุรกิจช้ันลายคราม 3 คนคือ วอรเรน

บัฟเฟตต (Warren Buffett), บิลล เกตส (Bill Gates) และ จอรจ

โซรอส (George Soros) ภาคสองเนนธุรกิจเกี่ยวกับอาหารโดยเฉพาะใน

รูปของสัมปทาน หรือแฟรนไชส ซ่ึงเปนที่นิยมของชาวโลกท่ัวไปใน

ปจจุบัน ภาคสามเปนการทำธุรกิจตามแนวคิดชนิดคอนขางแหวกแนว

Page 15: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

15

โดยเฉพาะในชวงบุกเบิก ภาคสี่พูดถึงอุตสาหกรรมการทำคอมพิวเตอร

และธุรกิจสารสนเทศ อันเปนหัวใจของโลกยุคโลกาภิวัตน ภาคสุดทาย

เปนการเลาเร่ืองราวของนักบริหารซ่ึงไมไดเปนเจาของกิจการของตนเอง

แตประสบความสำเร็จจากการเปนผูบริหารใหบริษัทขนาดยักษคือ

ไมเคิล ไอสเนอร (Michael Eisner) ของ ดิสนีย (Disney), หลุยส

เกิรสเนอร (Louis Gerstner) ของ ไอบีเอ็ม (IBM) และ แจค เวลช

(Jack Welch) ของ จีอี (GE)

หลังจากอานหนังสือ 18 เลมนี้ เรามีความประทับใจกวางๆ สอง

อยางคือ

1) ทางสูความสำเร็จมีหลากหลายตามคำพังเพยของฝร่ังท่ีวา

”การถลกหนังแมวทำไดหลายวิธี” (There’s more than one way to

skin a cat.) และ

2) ทามกลางความหลากหลายนั้น รากฐานของแนวคิดมีสวน

ประกอบเดียวกัน เชน ความซื่อตรง ความยุติธรรม ความเสมอตนเสมอ

ปลาย และการยึดความพึงพอใจของลูกคาเปนหัวจักรขับเคลื่อน

เราหวังเปนอยางยิ่งวาแนวคิดที่เรานำมาเสนอทั้งหมดนี้จะมี

ประโยชนสำหรับผูที่จะนำไปประยุกตใชในการทำธุรกิจและผูที่ตองการ

จะใชเปนฐานของการศึกษาคนควาตอ

ดวยความปรารถนาดี

ไสว บุญมา นภาพร ลิมปปยากร

3 มกราคม 2554

Page 16: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ
Page 17: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ
Page 18: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

จากสมองของนักธุรกิจ

ผูคิดเยี่ยงปราชญ

Page 19: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

วอรเรน บัฟเฟตต (Warren Buffett)

Page 20: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

บิลล เกตส (Bill Gates)

จอรจ โซรอส (George Soros)

Page 21: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

ห น่ึ ง

THE ESSAYS OF WARREN BUFFETT

ลำนำผูทำเงิน

Page 22: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

23

ไสว บุญมา • นภาพร ลิมปปยากร

เปนเวลาหลายปทีช่ื่อของวอรเรน บฟัเฟตต (Warren Buffett) ปรากฏใกลกับของบิลล เกตสเมื่อนิตยสารฟอรบส (Forbes) เสนอรายชื่อ

อภิมหาเศรษฐีประจำปของนิตยสาร แตบัฟเฟตตไมมีบริษัทเทคโนโลยี

ขนาดยกัษเปนหวัจักรขบัเคลือ่นการสรางความรำ่รวยในยคุโลกไรพรมแดน

เชน บิลล เกตส (Bill Gates) หากเปนนักลงทุนและถือหุนสวนใหญ

ในบริษัทเบิรกไชร แฮธาเวย (Berkshire Hathaway : BH) ซ่ึงกอตั้ง

ขึ้นมา 170 ปแลวเพื่อทำธุรกิจดานสิ่งทอ บัฟเฟตตใช BH ซ่ึงเขากับ

หุนสวนรวมกันซื้อและเปนประธานผูบริหารเมื่อป 2508 เปนทางผาน

ของการลงทุน จนทำใหราคาหุนเพิ่มจาก 4 ดอลลารเมื่อป 2508 เปน

75,000 ดอลลารเมื่อป 2548 หรือเพิ่มขึ้นปละ 28%

แมการลงทุนโดยการซื้อหุนในบริษัทอ่ืนจะมีกำไรดี แต BH จาย

เงินปนผลเพียงครั้งเดียวเมื่อป 2510 ในจำนวนหุนละ 10 เซนต

บัฟเฟตตตั้งคาตอบแทนใหตัวเองต่ำมากหากเทียบกับผูบริหาร

บริษัทขนาดใหญที่มีคาตอบแทนปละหลายสิบลานดอลลาร ขอมูลบงวา

คาตอบแทนของเขาเมื่อป 2549 เทากับ 100,000 ดอลลาร ฉะนั้นความ

เปนอภิมหาเศรษฐีของเขาสวนใหญจึงวัดจากคาหุนที่เขาถืออยูใน BH ซ่ึง

Page 23: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

24

มหาเศรษฐีขี้ไมเหนียว

เมื่อตนป 2551 มีคาเกินกวา 6 หมื่นลานดอลลาร สงผลใหเขาเขาไป

แทนท่ีบิลล เกตส ในฐานะอภิมหาเศรษฐีหมายเลข 1 ของโลกหลังจาก

เกตสครองติดตอกันมาเปนเวลา 13 ป

จากป 2513 บัฟเฟตตเขียนจดหมายถึงผูถือหุนใน BH เปน

ประจำ จดหมายเหลานั้นพูดถึงปรัชญาและแนวคิดดานการทำธุรกิจของ

เขา เมือ่ป 2539 ลอเรนซ เอ. คนันงิแฮม (Lawrence A. Cunningham)

ไดนำจดหมายเหลานั้นมาเรียบเรียงเปนหนังสือชื่อ The Essays of Warren Buffett : Lessons for Corporate America ซ่ึงไดรับการ

ปรับปรุงคร้ังลาสุดเมื่อป 2551 เปนหนังสือหนา 291 หนา โดยแยก

นำเสนอเปน 7 ภาค เสริมดวยบทสงทาย

ภาคแรกพูดถึงหลักธรรมาภิบาลของการทำธุรกิจ (Corporate

Governance) บัฟเฟตตมองวาผูบริหารคือผูพิทักษเงินทุนของผูถือหุน

และผูบริหารท่ีดีที่สุดตองทำตัวเสมือนเปนเจาของบริษัทไมวาจะตัดสินใจ

ทำอะไร แตบางคร้ังผลประโยชนของผูบริหารกับของเจาของบริษัทก็อาจ

ขัดกันได บัฟเฟตตจึงเนนการมองหาทางเพื่อลดการขัดกันพรอมกับ

ทางท่ีจะเอ้ือใหผูบริหารทำงานจนบรรลุเปาหมาย ซ่ึงประกอบดวยปจจัย

หลายอยาง ปจจัยแรกไดแกความตรงไปตรงมาของผูบริหารในการ

สื่อสารกับผูถือหุน ตามหลักขอนี้รายงานประจำปของเขาจึงไมใชจำพวก

ใชกระดาษเงาวับพิมพออกมาอยางงดงาม หากเนนขอมูลและคำอธิบาย

งายๆ เพื่อใหผูอานเขาใจในเร่ืองราวท่ีเขาตองการสื่อไดทันที นอกจากนั้น

บัฟเฟตตยังเล่ียงการคาดการณในอนาคตซึ่งเขาเชื่อวามักนำไปสูการ

ตกแตงตัวเลข

อีกปจจัยหนึ่ง บัฟเฟตตไมเนนเรื่องโครงสรางของการบริหารตาม

ตำราซึ่งเขามองวาไมคอยมีประโยชน สำหรับเขา สิ่งท่ีสำคัญที่สุดไดแก

Page 24: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

25

ไสว บุญมา • นภาพร ลิมปปยากร

การเลือกคนที่มีความสามารถ ซ่ือสัตยและทุมเทโดยเฉพาะตัวประธาน

ผูบริหาร หรือ CEO เนื่องจากเขามองวาประธานผูบริหารตางจากพนัก-

งานท่ัวไป 3 ขอคือ ขอแรก ผลงานของประธานผูบริหารวัดยากเนื่องจาก

มาตรฐานที่ใชกันขาดประสิทธิภาพและงายตอการปรุงแตง ขอสอง ไมมี

ใครอยูเหนือประธานผูบริหาร ฉะนั้นผลงานของผูอยูเหนือนั้นก็วัดไมได

และขอสาม คณะกรรมการบริษัทก็ไมมีบทบาทของผูอยูเหนือผูบริหาร

อยางแทจริง เนื่องจากตามปกติความสัมพันธระหวางสองฝายจะเปน

แบบกันเอง

โดยท่ัวไปการทำใหผลประโยชนของผูบริหารและของผูถือหุนเปน

ไปในแนวเดียวกันมักอาศัยมาตรการเชนการใหสิทธิซ้ือหุน การแยก

หนาที่ระหวางประธานกรรมการบริษัทและประธานผูบริหาร และการแตง

ตั้งคณะกรรมการเฉพาะดาน เชน ดานตรวจบัญชีและดานคาตอบแทน

นอกจากนั้นสิ่งท่ีมักนิยมทำกันมาก ไดแกการเชิญคนนอกมาเปน

กรรมการบริษัท แตบัฟเฟตตมองวา วิธีเหลานั้นแกปญหาไมได ซ้ำราย

อาจทำใหสถานการณแยลงเสียอีก ทางออกของเขาคือ การเลือกเฟน

ประธานผูบริหารท่ีสามารถทำงานไดดีแมจะอยูทามกลางโครงสรางท่ี

ออนแอ และตองมีการประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อประเมินการ

ทำงานของประธานผูบริหารบอยๆ โดยที่ไมมีเขารวมประชุมดวย

สำหรับการบริหารบรรดาบริษัทลูก หรือบริษัทท่ี BH เปนผูถือหุน

สวนใหญ ประธานผูบริหารของบริษัทลูกเหลานั้นไดรับคำสั่งใหยึดหลัก

การ 3 อยางคือ ทำตัวเสมือนเขาเปนเจาของเพียงคนเดียว บริษัทนั้นเปน

ทรัพยสินเพียงอยางเดียวที่เขามีอยู และเขาไมสามารถขาย หรือควบรวม

กับใครไดภายในเวลา 100 ป บัฟเฟตตมองวา หลักการเหลานี้แกปญหา

อันเกิดจากผูบริหารยึดเฉพาะตัวเลขผลกำไรในระยะสั้นเปนเกณฑโดย

Page 25: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

26

มหาเศรษฐีขี้ไมเหนียว

ปราศจากการพิจารณาปจจัยในระยะยาว ผูบริหารท่ีดีจะตองมีความ

สามารถในการหาความสมดุลระหวางผลกำไรในระยะสั้นกับผลที่จะเกิด

ขึ้นไดในระยะยาว บัฟเฟตตเองก็เคยประสบเหตุการณที่ตองเลือกตัดสิน

ใจในสภาพท่ีผลกำไรในระยะส้ันขัดกับวิวัฒนาการในระยะยาวเม่ือเขา

ตองปดกิจการดานสิ่งทอเมื่อป 2525 เนื่องจากเขามองวากิจการดาน

สิ่งทอในอเมริกาหมดอนาคตแลว เขาเนนย้ำเรื่องการไมเขาไปยุงเกี่ยวกับ

ธุรกิจท่ีไมมีความสามารถแขงขันไดอยางยั่งยืน

บางคร้ังการขัดกันระหวางผลประโยชนของผูบริหารกับของ

ผูถือหุนยากแกการมองเห็น เชน เรื่องการกุศล โดยทั่วไปผูบริหารจะจัด

ผลกำไรสวนหนึ่งไวเพื่อการกุศลและเลือกองคกรที่จะไดรับผลนั้น แต

การเลือกองคกรของผูบริหารมักไมตรงกับผลประโยชนของกิจการและ

ของผูถือหุน BH เองไมทำเชนนั้น หากจะใหบริษัทลูกทำตามท่ีเคยทำมา

กอนที่ BH จะเขาไปซ้ือกิจการ นอกจากนั้นจะใหผูถือหุนของ BH บอก

วาจะใหบริษัททำการกุศลกับองคใดและในจำนวนเทาไร

สำหรับเร่ืองการใหสิทธิซ้ือหุนแกผูบริหาร บัฟเฟตตมองวา

นอกจากมันจะไมมีผลในดานการทำใหผลประโยชนของผูบริหารกับของ

ผูถือหุนเปนไปในแนวเดียวกันแลว มันยังจะปกปดความแตกตาง

ระหวางประโยชนของท้ังสองฝายนี้อีกดวย เชน บางบริษัทวัดผลงานและ

ใหรางวัลสิทธิการซ้ือหุนแกผูบริหารซ่ึงคาของหุนนั้นเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเก็บผลกำไรเอาไวในบริษัท ไมใชเพราะการนำเงินไปใชใหเกิดผลกำไรสูง

ขึ้นเปนพิเศษ นั่นหมายความวา การใหสิทธิซ้ือหุนมักทำใหผูถือหุนเสีย

ประโยชนในขณะที่ผูบริหารไดประโยชนโดยไมตองทำอะไรเลย นอกจาก

นั้น การใหสิทธิซ้ือหุนมักไมมีเง่ือนไข ยกเลิกไมไดและไมวางอยูบนผล

ของการปฏิบัติงานของผูบริหารเลย ฉะนั้น เขาแนะนำใหผูถือหุนตรวจ

Page 26: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

27

ไสว บุญมา • นภาพร ลิมปปยากร

ตราเร่ืองการใหสิทธิซ้ือหุนอยางถี่ถวน

บัฟเฟตตเนนเรื่องผลปฏิบัติงานควรเปนฐานของการคำนวณคา

ตอบแทนใหแกผูบริหารซ่ึงวัดโดยผลกำไรสุทธิ หากจะใชสิทธิซ้ือหุน

ตองคำนวณจากการปฏิบัติงานของผูบริหาร ไมใชผลงานของบริษัท ทาง

ที่ดีที่สุดคือไมใชสิทธิซ้ือหุนเลยเชนเดียวกับ BH เพราะผูบริหารท่ีเกง

กาจสามารถซื้อหุนไดจากเงินโบนัส ซ่ึงจะทำใหเขาทำตัวเสมือนเปน

เจาของจริงๆ

สำหรับกรรมการซึ่งมีหนาที่ดานการตรวจบัญชีตองทำใหผูตรวจ

บัญชีภายนอกตระหนักวาเขาทำงานเพ่ือกรรมการ ไมใชทำเพื่อผูบริหาร

และตองตอบคำถาม 4 ขอนี้ใหเปนที่ประจักษคือ 1) หากผูตรวจบัญชี

เปนผูรับผิดชอบรายงานโดยลำพัง เขาจะรายงานอะไรแตกตางออกไป

หรือไม 2) หากเขาเปนผูลงทุน รายงานนั้นใหขอมูลสำคัญๆ เพื่อการ

เขาใจในผลงานของบริษัทหรือไม 3) หากเขาเปนประธานผูบริหาร เขา

จะเปลี่ยนกระบวนการตรวจบัญชีภายในหรือไม และ 4) เขารูไหมวามี

การโยกยายรายได หรือรายจายจากชวงเวลาหนึ่งไปยังอีกชวงเวลาหนึ่ง

หรือไม การกระทำเชนนี้จะทำใหความใกลชิดระหวางประธานผูบริหาร

และผูตรวจบัญชีซ่ึงไมมีผลดีตอผูถือหุนยุติลง

ภาคสองพูดถึงการเงินและการลงทุนของบริษัท (Corporate

Finance and Investing) แนวคดิของบัฟเฟตตในดานนีส้วนใหญไดมา

จากอาจารยของเขาตั้งแตครั้งท่ีเขายังเรียนอยูในมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย

และอยูคนละขั้วกับแนวคิดกระแสหลัก ซ่ึงนักลงทุนโดยทั่วไปมักใชเปน

ฐานของการลงทุน แนวคิดกระแสหลักมักอางถึงทฤษฎีการเงินสมัยใหม

ซ่ึงเสนอวา อยาเสียเวลาศึกษาหุนแตละตัวในตลาดหลักทรัพยเพื่อมอง

หาโอกาสการลงทุนเลย การทำเชนนั้นสูกระท่ังการสุมเลือกซื้อหุนก็ไมได

Page 27: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

28

มหาเศรษฐีขี้ไมเหนียว

แนวคิดนี้นำไปสูทฤษฎีการจัดกลุมหลักทรัพยสมัยใหมซ่ึงวางอยูบนฐาน

ของความเชื่อที่วา ตลาดมีประสิทธิภาพสูงเนื่องจากขอมูลเกี่ยวกับหุนที่

ซ้ือขายอยูในตลาดหลักทรัพยถูกถายทอดและนำไปสูการปรับราคาหุน

อยางรวดเร็ว ฉะนั้นราคาหุนสะทอนคามูลฐานของหุนนั้นอยางแมนยำ

และการแยกถือหุนในหลายบริษัทเปนการหลีกเลี่ยงความเสี่ยงท่ีเกิดจาก

การขึ้นๆ ลงๆ ของราคาไดเปนอยางดี

บัฟเฟตตมองวา ตลาดไมมีประสิทธิภาพมากตามที่ทฤษฎีนั้น

เชื่อและการคิดวาความเสี่ยงหลักมาจากการขึ้นๆ ลงๆ ของราคานั้น

ผิดถนัด ในชวงเวลาสองทศวรรษที่ผานมา ทฤษฎีนั้นไมสามารถอธิบาย

ปรากฏการณในตลาดหลักทรัพยได สงผลใหเกิดการถกเถียงกันอยาง

กวางขวาง การถกเถยีงกนันัน้นำไปสูการตัง้ขอสงัเกตเรือ่งความสำเรจ็ของ

บัฟเฟตตซ่ึงสามารถทำกำไรไดในอัตราสูงถึงสองเทาของตลาดติดตอกัน

มาเปนเวลาถึง 40 ป ทั้งท่ียึดหลักการลงทุนและการทำธุรกิจแบบเกา

ที่เขาร่ำเรียนมาตั้งแตสมัยอยูในมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย และหากยอน

กลับไปดูผูใชหลักเกาแกนั้นก็จะพบวา เขาประสบความสำเร็จมากอน

บัฟเฟตตแลวถึง 20 ปดวย แตนักลงทุนรุนใหมยังพากันเชื่อวาบัฟเฟตต

เพียงโชคดี หรือไมก็มีขอมูลภายในซึ่งไมมีใครรู

สวนบัฟเฟตตเพียงแตหัวเราะและเสนอใหนักลงทุนพิจารณา

ลงทุนเปน 2 แนวคือ ลงทุนระยะยาวผานกองทุนรวมซึ่งแยกซื้อหุนของ

บริษัทที่เปนฐานของการสรางดัชนีชี้วัดภาวะของตลาด (index funds)

และซ้ือหุนของบริษัทที่ตนเองสามารถวิเคราะหไดอยางถี่ถวนวานาซื้อ นั่น

คือ วิเคราะหทั้งการบริหารจัดการ ผลิตภัณฑ คูแขง ระดับของหน้ีสิน

ผลประกอบการและระดับของภาษีทั้งในปจจุบันและในอนาคต ตามหลัก

และการปฏิบัติของเขา แทนท่ีจะใชวิธีกระจายการถือหุน บัฟเฟตตเสนอ

Page 28: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

29

ไสว บุญมา • นภาพร ลิมปปยากร

ใหพิจารณากระจุกเงินทุนสวนใหญไวในหุนของสองถึงสามบริษัทซ่ึง

ผูลงทุนมีความรูอยูบางและแนใจวามีการบริหารจัดการชั้นเยี่ยม

บฟัเฟตตเรียนการลงทนุจากอาจารยชือ่ เบน แกรม (Ben Gram)

และจากการทำงานกับบริษัทที่อาจารยผูนั้นเปนหุนสวนซึ่งมีแนวคิด

หลกัๆ อยู 3 ขอคอื ขอแรก ตองแยกใหออกระหวาง ”ราคา” กบั ”มลูคา” ของหุน ราคาเปนสิ่งท่ีซ้ือขายกันในตลาด สวนมูลคาเปนสิ่งท่ีผูซ้ือไดไป

แตคนสวนใหญมักมองไมเห็นและคิดวาสองสิ่งนั้นเทากัน ขอสอง ซ้ือเฉพาะหุนที่มี ”สวนเผื่อความปลอดภัย” (margin of safety) สูงมากๆ

เทานั้น สวนเผื่อความปลอดภัยหมายถึงมูลคาหุนที่สูงกวาราคาหุนซึ่ง

ซ้ือขายกันอยูในตลาด บัฟเฟตตชี้วาการลงทุนที่ไมยึดความแตกตาง

ของสองอยางนี้มีคาเทากับการเก็งกำไร ไมใชการลงทุน เขาหลีกเลี่ยงการ

เก็งกำไร แตอาจใชเงินสดที่มีอยูในมือซ้ือขายในตางตลาดเมื่อพบวา

ราคาของสิ่งนั้นตางกัน (arbitrage) หลักของการตัดสินใจวาจะใชเงินสด

แบบนั้นหรือไมขึ้นอยูกับปจจัย 4 อยางซ่ึงวางอยูบนฐานของขอมูล ไมใช

ขาวลือ นั่นคือ ความเปนไปไดของเหตุการณ ระยะเวลาท่ีจะใชเงินนั้น

ทำอยางอ่ืนไมได คาเสียโอกาสของเงิน และความเสียหายในกรณีที่

เหตุการณนั้นไมเกิดขึ้น ขอสาม ลงทุนเฉพาะในกิจการท่ีผูลงทุนมีความรู

ความเขาใจเทานั้น อยาลงทุนตามกระแสในตลาด

ภาคสามพูดถึงการลงทุนทางเลือกนอกเหนือจากหุนสามัญ

(Alternatives to Common Stock) บัฟเฟตตนำหลักของเขาไป

ประยุกตใชในดานนี้ใน 4 ทางเลือกคือ หุนกูที่มีความเสี่ยงสูง หรือ

พันธบัตรขยะ (junk bonds) หุนกูที่ไมมีดอกเบี้ย (zero-coupon

bonds) อนุพันธและเงินตราตางประเทศ

นักลงทุนที่เชื่อในหุนกูที่มีความเสี่ยงสูงมักอางถึงภาวะพื้นฐาน

Page 29: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

30

มหาเศรษฐีขี้ไมเหนียว

เรื่องการมีกริชจี้อกอยู นั่นคือ ผูขับรถจะใชความระมัดระวังมากขึ้นเปน

พิเศษในภาวะที่มีกริชผูกอยูกับพวงมาลัยโดยใหปลายชี้ไปท่ีหนาอกของ

เขา ฉะนั้นการมีหนี้สินมากจะทำใหผูบริหารมีความระมัดระวังมากขึ้น

นักลงทุนเหลานี้อางถึงผลการวิจัยที่ยืนยันวา ดอกเบี้ยสูงท่ีไดจากหุนกู

จำพวกน้ีใหผลตอบแทนเกินกวาอัตราการเบ้ียวหนี้ที่ทำใหนักลงทุนสูญ

เงิน แตบัฟเฟตตชี้ใหเห็นความผิดพลาดของพวกเขาทั้งจากทางปฏิบัติ

และทางทฤษฎีโดยอางถึงการลมละลายในอัตราสูงมากของบริษัทท่ีมีหนี้

สินสูงในชวงเศรษฐกิจถดถอยเมื่อสิบกวาปที่ผานมา สำหรับในดาน

ทฤษฎีที่นักลงทุนอางถึงซ่ึงวางอยูบนสมมติฐานที่วาภาวะรอบดานที่เกิด

ขึ้นในอดีตจะเกิดขึ้นอีกนั้น บัฟเฟตตแยงวามันเปนไปไมได

สำหรับดานหุนกูที่ไมมีดอกเบี้ย บัฟเฟตตชี้ใหเห็นวา ในประวัติ-

ศาสตรของหุนกูชนิดนี้ ผูซ้ือสามารถกำหนดอัตราคาตอบแทนไดในอัตรา

ที่สูงกวาดอกเบี้ยของหุนกูปกติ ในขณะเดียวกันมันก็เอื้อใหผูออกหุนกู

สามารถกูเงินไดมากกวาในกรณีที่จะตองจายดอกเบี้ยดวยเงินสดเปน

ระยะๆ แตปญหาเกิดขึ้นเมื่อกิจการท่ีออกหุนกูเปนผูที่มีความออนแอ

ทางการเงินเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดก็ถึงผูที่มีหนี้สินลนพนตัวซ่ึงชำระ

หนี้ไมได

อนุพันธเปนตราสารใหมที่สรางข้ึนจากความเคลื่อนไหวของดัชนี

ตางๆ และไดรับความนยิมอยางกวางขวาง เนือ่งจากนักลงทนุจำนวนมาก

เชื่อวามันเปนวิธีบริหารจัดการความเสี่ยงท่ีดี ทั้งท่ี BH ซ้ืออนุพันธบาง

เปนครัง้คราวในจำนวนไมมากนกั เมือ่เหน็วาการตัง้ราคาตางไปจากมูลคา

ที่แทจริงของมันอยางแจงชัด แตบัฟเฟตตตอตานเพราะโดยพื้นฐานแลว

เขาเชื่อวาไมมีใครสามารถประเมินความเสี่ยงของมันได และซ้ำรายมัน

อาจกอใหเกิดการเพิ่มความเสี่ยง เนื่องจากมันโยงไปถึงหลายส่ิงหลาย

Page 30: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

31

ไสว บุญมา • นภาพร ลิมปปยากร

อยางและสถาบันการเงินจำนวนมาก ดวยเหตุนี้ ปญหาท่ีเกิดขึ้นในสวน

เดียวอาจแพรขยายไปสูภาคสวนอื่นอยางรวดเร็ว ยังผลใหทั้งระบบประสบปญหารายแรงถึงข้ันวิกฤติ จริงอยูบัฟเฟตตยอมรับวา ทัศนคติ

ของเขาเกี่ยวกับความเสี่ยงของอนุพันธอาจเกิดขึ้นจากความพยายามที่จะ

หลีกเลี่ยงความเสี่ยงแบบขนานใหญที่จะทำใหบริษัทของเขาสูญสถานะ

ของผูมีประวัติแหงความมั่นคงสูง แตเขามีประสบการณตรงจากการซ้ือ

บริษัทประกันภัยมาแลว บริษัทนั้นขายยากเนื่องจากมีหนี้สินระยะยาว

ที่สลับซับซอนจำนวนมากที่ใชเวลานานกวาจะสะสางสำเร็จ

ในดานเงินตราตางประเทศ ตนตอของปญหามาจากการขาดดุล

ชำระเงินจำนวนมากอยางตอเนื่องของสหรัฐอเมริกา จนทำใหคาของเงินดอลลารตกต่ำเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่น บัฟเฟตตมองวา การขาดดุลเชน

นั้นมีคาเทากับการโยกยายความมั่งคั่งของสหรัฐฯ ไปใหชาวตางประเทศ

รายยิ่งกวานั้น นักลงทุนจากตางประเทศท่ีลงทุนในสหรัฐฯ เริ่มไดผล

ตอบแทนในอัตราท่ีสูงกวาการลงทุนในตางประเทศของชาวอเมริกัน

แลวและท่ีสำคัญมากอีกอยางหน่ึงคือ การขาดดุลนี้เกิดจากการบริโภค

เกินพอดีของชาวอเมริกัน ซ่ึงรังแตจะนำไปสูวิกฤติเศรษฐกิจจนนำไปสู

วิกฤติการเมืองในสหรัฐฯ ได สภาพเชนนี้มีผลตอการลงทุนของ BH ซ่ึง

มีทรัพยสินที่ถือไวหลายหมื่นลานดอลลาร เพื่อลดความเสี่ยงตอการ

ตกต่ำของคาเงินสกุลดอลลาร บัฟเฟตตเริ่มเขาไปทำธุรกรรมในตลาด

เงินตราเปนครั้งแรกเมื่อป 2545 นอกจากนั้น BH ยังซ้ือหุนที่ตีคาเปน

เงินตราสกุลอื่นนอกจากดอลลารสหรัฐฯ มากขึ้นเรื่อยๆ อีกดวย

ภาคสี่พูดถึงหุนสามัญ (Common Stock) ซ่ึงเร่ิมดวยคำพูดที่

บัฟเฟตตใชกระเซานายหนาคาหุนผูติดตามเรื่องราวของ BH เมื่อวันที่

หุนของ BH เปดขายในตลาดหลักทรัพยเปนวันแรกในป 2531 วา เขา

Page 31: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

32

มหาเศรษฐีขี้ไมเหนียว

จะคิดวานายหนาประสบความสำเร็จใหญหลวง ถาเขาสามารถขายหุน

ของ BH ครั้งตอไปไดในเวลาอีกสองป คำพูดนั้นสะทอนปรัชญาพื้นฐาน

ในการซ้ือขายหุนของบัฟเฟตต นั่นคือ ซ้ือเพื่อเก็บไว มิใชซ้ือเพื่อขายตอ

ซ่ึงกอใหเกิดความสูญเปลาสูงมากในรูปของคานายหนา คาบริหาร และ

คาคำแนะนำของนักวางแผนการเงินและที่ปรึกษาทางธุรกิจ ในระยะ

หลังๆ นี้ยังมีคาบริหารจัดการของอุตสาหกรรมใหมเพิ่มเขาไปในรูป

ของกองทุนเพื่อซ้ือหุนเอกชนและกองทุนเพื่อเก็งกำไร ซ่ึงรวมกันแลว

เทากับราว 20% ของผลกำไรทั้งหมดที่บริษัทในสหรัฐฯ ทำไดปละ

ประมาณ 7 แสนลานดอลลาร

ในขณะท่ีประธานผูบริหารคนอื่นๆ มักตองการใหหุนในบริษัท

ของตนซ้ือขายในราคาท่ีสูงกวามูลคาจริงของหุนมากที่สุด บัฟเฟตต

ตองการเห็นหุนของ BH ซ้ือขายกันในราคาเทาๆ กับมูลคาจริงของมัน

การซ้ือขายกันในราคาท่ีเทาๆ กับมูลคาหุนจริงแบบน้ันหมายถึงผล

ประกอบการในชวงหน่ึงตกกับผูถือหุนในชวงนั้น ซ่ึงสะทอนปรัชญาที่วา

ผูถือหุนซื้อหุนเพื่อการลงทุนระยะยาว ไมใชเพื่อมองหากำไรในระยะส้ัน

บัฟเฟตตเชื่อวา การซ้ือขายเพื่อหวังผลในระยะส้ันสรางปญหาตอผล

ประกอบการในระยะยาว ฉะนั้นเขาจะหลีกเลี่ยง

ดังท่ีกลาวถึงในตอนตน ราคาหุนของ BH ขึ้นจาก 4 ดอลลาร

เปน 75,000 ดอลลาร แต BH จายเงินปนผลครั้งเดียวเพียง 10 เซนต

ตอหุนและไมเคยแตกหุนเลย นั่นเปนการสะทอนแนวคิดดานการใชผล

กำไรของบัฟเฟตต กฎเกณฑในการตัดสินใจของเขาวาจะจายเงินปนผล

หรือจะเก็บผลกำไรไวเพื่อนำไปลงทุนตอมีอยูขอเดียวคือ เงินทุนที่เก็บ

ไวจะตองทำผลกำไรไดไมต่ำกวาอัตราที่นักลงทุนทั่วไปสามารถทำได

ผูบริหารสวนใหญมกัไมทำตามกฎขอนี ้และเกบ็ผลกำไรไวเพือ่จดุมุงหมาย

Page 32: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

33

ไสว บุญมา • นภาพร ลิมปปยากร

อื่นที่ไมสะทอนผลประโยชนของผูถือหุน เชน การสรางอาณาจักรของ

ตัวเองและเพ่ือความสะดวกสบายในการหยิบมาใช

สำหรับในดานการซ้ือหุนคืน เขาเห็นดวยถาราคาหุนในตลาด

หลักทรัพยต่ำกวามูลคาจริงของหุนมากๆ ในอดีตการซื้อหุนคืนไมเกิดขึ้น

บอยนัก นอกจากโดยผูบริหารบางคนซ่ึงมองเห็นวา ถามูลคาหุนสูงกวา

ราคาหุนในราวสองเทาจริงๆ ไมวาจะใชเงินทำอะไรจะไมไดคาตอบแทน

สูงกวาการซื้อหุนคืน แตในระยะหลังน้ี ผูบริหารมักซื้อหุนคืนดวยราคาที่

สูงกวามูลคาหุนจริงเสียอีกเพื่อหวังจะอุมราคาหุนที่ซบเซา หรือไมก็เพื่อ

ใหไดหุนมาแทนหุนที่ออกไปในการออกตราสารสิทธิซ้ือหุนซึ่งผูบริหาร

ใชซ้ือหุนดวยราคาต่ำกวาตลาดมาก

ในดานการแตกหุน บัฟเฟตตเสนอใหผูถือหุนติดตามอยางใกลชิด

เพราะการแตกหุนมีผล 3 อยางคือ มันทำใหเกิดความสูญเปลามากขึ้น

เนื่องจากมันกระตุนใหเกิดการซื้อขายบอยขึ้น มันดึงดูดนักซื้อหุนเพื่อ

หวังผลกำไรในระยะส้ันซึ่งเนนเรื่องราคาหุนเกินความจำเปน และสอง

ปจจัยที่กลาวมานำไปสูความแตกตางอยางมีนัยสำคัญระหวางราคาและ

มูลคาจริงของหุน หากไมมีผลประโยชนอยางอื่นเขามาแทนอยางคุมคา

การแตกหุนเปนการกระทำที่สะทอนความเขลา สำหรับ BH การกระทำ

เชนนั้นจะเปนการร้ือฐานของปรัชญาท่ีบริษัทใชมาตลอดเพื่อดึงดูด

นักลงทุนที่ซ้ือหุนเก็บไวในระยะยาว

นโยบายเกี่ยวกับการปนผลและราคาหุนที่สูงมากของ BH มี

ผลพวง 2 อยางไดแก ผูถือหุนยกหุนใหผูอื่นไดยากมาก และมีนักธุรกิจ

หัวใสใชผลประกอบการของ BH ออกหลักทรัพยเทียมออกมาขายใน

ตลาด เพื่อแกปญหาเหลานี้ เมื่อตอนกลางป 2539 BH ปรับโครงสราง

ทุนดวยการขายหุนชั้น B ซ่ึงมีคาเทากับ 1 ใน 30 หุนชั้น A ที่บริษัท

Page 33: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

34

มหาเศรษฐีขี้ไมเหนียว

มีอยูแลว แตในดานการออกเสียงมีคาเพียง 1 ใน 200 ของชั้น A

เนื่องจากหุนชั้น A สามารถเปลี่ยนเปนชั้น B ได ผูที่ตองการแยกยกหุน

ใหผูอื่นสามารถแตกหุนดวยตัวเองจากชั้น A เปนชั้น B เพื่อบรรลุ

จุดมุงหมายนั้นได และท่ีสำคัญกวานั้นก็คือ มันทำใหนักสรางหลักทรัพย

เทียมหัวใสหมดโอกาสทำเงินไดจากผูไมคอยรูเรื่องราวของ BH อยาง

ลึกซึ้งและกอใหเกิดความแตกตางระหวางราคาและมูลคาจริงของหุน

เพื่อสรางความเชื่อมั่นในตลาดและเพื่อแสดงวา การออกหุนชั้น

B นั้นมีจุดมุงหมายที่จะใหผูตองการถือหุนไวในระยะยาวเปนผู ซ้ือ

บัฟเฟตตเองประกาศวา เขาจะไมซ้ือทั้งหุนชั้น A ตามราคาในตลาด

และหุนชั้น B ตามราคาที่เสนอขายอยางเด็ดขาด การประกาศเชนนั้น

มีผลตามที่เขาตองการ เนื่องจากตอมาการซื้อขายหุนของ BH ในตลาด

หลักทรัพยไมคอยเกิดขึ้นบอยนัก

นักวิจารณพากันสงสัยวาเพราะอะไรบัฟเฟตตจึงทำเชนนั้น

เพราะโดยทัว่ไปผูบริหารจะประกาศวาบริษัทขายหุนใหมในราคานาซ้ือมาก

แตเนื่องจากการประกาศเชนนั้นสงสัญญาณวาหุนออกใหมขายในราคาต่ำ

กวามูลคาจริงของมัน และการขายหุนเชนนั้นมีคาเทากับการปลนผูที่มีหุนอยูแลว บัฟเฟตตจึงถือวามันเปนอาชญากรรม

ภาคหาพูดถึงการควบรวม (Mergers and Acquisitions)

นโยบายในดานนี้ของ BH มีชื่อวาวิธี ”ลูกซองแฝด” นั่นคือ จะซ้ือบริษัท

สวนหนึ่งหรือทั้งหมดเมื่อบริษัทนั้นมีทั้งลักษณะทางเศรษฐกิจท่ีดีและมี

ผูบริหารท่ีบัฟเฟตตชอบ เชื่อใจและเล่ือมใส บัฟเฟตตเชื่อวาการซ้ือบริษัท

ไมจำเปนตองซ้ือดวยราคาสูงเปนพิเศษ ยกเวนในสองกรณีซ่ึงไมมีโอกาส

ใหซ้ือบอยนัก นั่นคือ กรณีที่บริษัทมีธุรกิจชนิดผูกขาดซ่ึงสามารถข้ึน

ราคาไดโดยไมกระทบตอการขายสินคา และกรณีที่มีผูจัดการซึ่งมีความ

Page 34: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

35

ไสว บุญมา • นภาพร ลิมปปยากร

สามารถเปนพิเศษท่ีจะทำกำไรไดอยางงดงามเกินธรรมดา แตเนื่องจาก

โอกาสเชนนีม้เีกดิขึน้ไมบอยนกั การซ้ือกจิการมาควบรวมดวยราคาแพงๆ

ซ่ึงเกิดขึ้นอยูตลอดเวลา จึงมักเกิดจากปจจัยที่อยูในหัวของผูบริหาร 3

ดานดวยกันคือ ความตื่นเตนจากการไดควบรวม ความตื่นเตนจากการ

มีขนาดใหญขึ้น และการสรางวิมานในอากาศ

ในการซ้ือบริษัทอื่น BH จะออกหุนใหมในกรณีเดียวคือ เมื่อ

แนใจวาสิ่งท่ีไดรับกับสิ่งท่ีใหมีมูลคาเทากัน แตเรื่องนี้นับวันจะทำยากขึ้น

เนื่องจาก BH ซ้ือบริษัทไวมากมาย การจะใหกิจการใหมเพิ่มมูลคาใหแก

สิ่งท่ีมีอยูแลวนั้นยากมาก นอกจากนั้นการออกหุนใหมก็เปรียบเสมือน

การตัดสวนหนึ่งของส่ิงท่ีมีอยูแลวใหผูอื่นไป โดยทั่วไปแลว บัฟเฟตต

มองวาการควบรวมแบบออกหุนใหมทำไดยาก เนื่องจากการตีคาหุนให

ตรงกับมูลคาจริงของกิจการของฝายผูซื้อและผูขายทำไดยาก

บัฟเฟตตตอตานพฤติกรรมสำคัญในวงการธุรกิจท่ีมีคาเทากับการ

กรรโชกทรัพย (green-mail) นั่นคือ ผูบริหารถูกกดดันใหซ้ือคืนหุนของ

บริษัทท่ีอยูในมือของผูถือหุนบางคนดวยราคาแพงเปนพิเศษ และถูกขูวา

ถาไมซ้ือ ผูถือหุนนั้นจะซ้ือบริษัทท้ังหมดแลวตะเพิดผูบริหารออกไป จริง

อยูพฤติกรรมชนิดนี้มีผลทำใหราคาหุนของผูถือหุนทั้งหมดเพิ่มขึ้น แต

บัฟเฟตตถือวามันเปนการปลนกันชัดๆ ในทำนองเดียวกันเขาตอตานการ

เขายึดครองบริษัทดวยการใชเงินกูที่มีชื่อเรียกวา leveraged buy-out

ซ่ึงมีผลทำใหบริษัทออนแอลง ตองดิ้นรนเปนพิเศษเพื่อหาเงินสดมา

ชำระหนี้ และทำใหการควบรวมมีตนทุนสูงเกินความจำเปน

บัฟเฟตตมองวา การหากิจการมาควบรวมเพ่ือใหบริษัทของตน

มูลคาสูงข้ึนนั้นทำยากมาก และสวนใหญการควบรวมทำใหมูลคาจริงของ

บริษัทลดลง ในการพิจารณาซ้ือกิจการมาควบรวม ผูซ้ือจะตองคำนวณ

Page 35: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

36

มหาเศรษฐีขี้ไมเหนียว

เปรียบเทียบดวยวา ถาจะใชเงินทุนนั้นทำอยางอ่ืนจะไดผลสูงกวาหรือไม

โดยเฉพาะการแยกทุนไปซ้ือหุนของบริษัทดีๆ ที่มีขายอยูในตลาด

หลักทรัพยหลายๆ บริษัท ในการแสวงหากิจการมาควบรวม BH มักได

เปรียบผูอื่น เนื่องจากมีหุนที่มีคาสูงและมีประวัติในการใหอิสระสูงแก

ผูบริหารจัดการของบริษัทท่ี BH ซ้ือมาควบรวม

ภาคหกพดูถงึการบัญชแีละการประเมินมลูคา (Accounting and

Valuation) ซ่ึงบัฟเฟตตตองการช้ีใหเห็นถึงความสำคัญและขอจำกัด

ของหลักการบัญชีที่ไดรับการยอมรับโดยทั่วไปในการสรางความเขาใจ

และการประเมินมูลคาของกิจการและการลงทุน เขาใหความกระจางดาน

ความแตกตางระหวางมูลคาทางบัญชีกับมูลคาทางเศรษฐกิจและแนวคิด

ตางๆ เพื่อแกปญหาโดยเนนเรื่องพ้ืนฐานที่สำคัญท่ีสุด ซ่ึงทุกคนควร

เขาใจเกี่ยวกับบัญชี นั่นคือ มันเปนเพียงรูปแบบ ฉะนั้นมันอาจถูก

ตกแตงได เขานำขอเขียนของอาจารยของเขาที่เขียนเมื่อราว 70 ปกอน

มาเสนอเพื่อชี้ใหเห็นวา การตกแตงบัญชีแบบรายแรงน้ันทำกันมานาน

แลว และในสมัยนี้ก็ยังมีบริษัทตางๆ ทำกันอยู บัฟเฟตตย้ำวา รายงาน

ทางการเงินที่ดีจะตองใหความกระจางใน 3 เรื่องคือ มูลคาของบริษัท

ความสามารถในการรักษาพันธสัญญาในอนาคตของบริษัท และผลการ

ปฏิบัติงานของผูบริหาร บัฟเฟตตเสนอแนวคิดหลายอยางเพื่อทำให

รายงานทางการเงินมีประโยชนอยางแทจริงตอนักลงทุนและผูบริหาร

โดยเฉพาะการใหรายละเอียดมากขึ้นเกี่ยวกับผลกำไรท่ีเก็บไวในบริษัท

ที่ถูกซื้อ

บัฟเฟตตพูดถึงความแตกตางระหวางคาความนิยมทางบัญชี

(accounting goodwill) และคาความนิยมทางเศรษฐกิจ (economic

goodwill) อยางละเอียด ทั้งท่ีเรื่องนี้มักเปนที่รูกันทั่วไปแลว คาความ

Page 36: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

37

ไสว บุญมา • นภาพร ลิมปปยากร

นิยมทางบัญชีหมายถึงสวนตางระหวางราคาซ้ือกิจการกับสินทรัพยสุทธิ

ของกิจการน้ัน สวนตางน้ีถูกลงบัญชีงบดุลไวเปนสินทรัพยซ่ึงจะคอยๆ

ทยอยตัดคาเสื่อมสิ้นออกตามชวงเวลาที่กำหนด ฉะนั้นคาความนิยมทาง

บัญชีจะคอยๆ ลดลงตามสัดสวนที่ถูกตัดออก สวนคาความนิยมทาง

เศรษฐกิจหมายถึงสินทรัพยที่เปนนามธรรม เชน เครื่องหมายการคาซ่ึง

เปนที่รับรูอยางกวางขวางวาบงบอกถึงคุณภาพสูง สินทรัพยชนิดนี้มี

บทบาททำใหบริษัทสรางกำไรไดเกินอัตราเฉลี่ย ปริมาณของคาความ

นิยมไดมาจากการประเมินสวนเกินนั้นซึ่งมักจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเวลา

ผานไปในอัตราไมต่ำกวาอัตราเงินเฟอ กิจการที่มีคาความนิยมทาง

เศรษฐกิจสูงจะไดรับผลกระทบจากภาวะเงินเฟอนอยกวากิจการที่มีคา

ความนิยมทางเศรษฐกิจต่ำ

การวิเคราะหความแตกตางระหวางคาความนิยมสองชนิดนี้นำไปสู

ขอเสนอเรื่องการปรับเปลี่ยนการทำบัญชีที่มีการโตเถียงกันมาเวลานาน

นั่นคือ การควบรวมของบริษัทอาจทำบัญชีไดในสองรูปแบบ จะทำแบบ

ไหนขึ้นอยูกับการมองวาบริษัทหนึ่งซ้ืออีกบริษัทหน่ึง หรือมองวาทั้งสอง

เขามารวมตัวกัน หากมองวาเปนการซื้อ ผลประกอบการจะตองถูกหัก

ออกดวยคาเสื่อมสิ้นเปนเวลานาน ดวยเหตุนี้ผูบริหารจึงนิยมมองวามัน

เปนการรวมตัวกันซ่ึงจะไมทำใหผลประกอบการถูกลด แตนักการบัญชี

ที่แทจริงเห็นวาไมนาใหทำได บัฟเฟตตเสนอทางออกวา ใหบันทึก

คาความนิยมไวในบัญชี แตไมตองบังคับใหหักคาเสื่อมสิ้นออกจาก

ผลประกอบการในอนาคตโดยอัตโนมัติ ขอเสนอนี้ไมเพียงแตจะทำให

สองฝายพอใจ มันยังจะทำใหเกิดบัญชีที่ตรงกับความเปนจริงอีกดวย

ขอเสนอนี้ในที่สุดไดรับการยอมรับในวงการบัญชี

บัฟเฟตตใหความสำคัญตอมูลคาในตัว (intrinsic value) ซ่ึง

Page 37: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

38

มหาเศรษฐีขี้ไมเหนียว

ตางกับมูลคาตามบัญชีและราคาซื้อขายในตลาด ความแตกตางนี้ยาก

แกการคำนวณ ทั้งนี้เพราะการคำนวณหาคาในตัวนั้นยากมาก ทั้งท่ีมันมี

คำจำกัดความแนนอนวา ”คาปจจุบันของเงินสดที่จะนำออกไปจากกิจการ

ไดในชวงเวลาที่กิจการนั้นยังดำรงอยู” ความยากเกิดจากการประเมิน

เงินสดที่จะไดมาในอนาคตและความเปลี่ยนแปลงของดอกเบี้ย ในการ

ประเมินคา บัฟเฟตตยึดหลักที่อีสปสอนไวตั้งแตสมัยโบราณกาลที่วา

”นกหนึ่งตัวในมือมีคาเทากับนกสองตัวในปา” นั่นคือ การประเมิน

เปนการนับเงินสด ไมใชนับความหวังหรือความฝนซึ่งคนในยุคนี้มักนิยม

ทำกันจนนำไปสูการเกิดฟองสบูเปนระยะๆ อยางไรก็ตามดูจะยังไมมีใคร

ไดบทเรียนในเรื่องนี้

ภาคเจ็ดพูดถึงนโยบายทางการบัญชีและเร่ืองภาษี (Accounting

Policy and Tax Matters) ตามธรรมดาหลักการบัญชีที่ยอมรับกัน

ทั่วไปก็มีปญหามากพออยูแลว แตยังมีคนจำนวนหนึ่งซ่ึงสรางปญหา

เพิ่มขึ้นดวยวิธีตางๆ รวมทั้งการต้ังใจโกงดวย ฉะนั้นขอเสนอที่จะปรับ

เปลี่ยนวิธีทำบัญชีที่จะนำไปสูความซื่อตรงจึงเกิดขึ้นตลอดเวลา ลาสุดมี

ขอเสนอที่ชื่อวา ”การปรับเปลี่ยนโครงสราง” ซ่ึงรวมหลายสิ่งหลายอยางไวโดยเฉพาะการทำสิ่งท่ีมีคาเทากับการตกแตงบัญชี ดวยเหตุนี้บางทีผูที่

มีความซื่อตรงตองใหขอมูลนอกเหนือจากสวนที่ถูกบังคับซ่ึงบัฟเฟตตเอง

ทำเปนประจำ เชน การแยกแยะขอมูลอยางละเอียดซึ่งตามหลักการ

ไมจำเปนตองทำ แตเขาทำเพราะถาเขาเปนผูดูบัญชีของผูอื่น เขาตองการ

เห็นขอมูลเหลานั้น บัญชีที่แนบไปกับการจายภาษีของเขาเมื่อ 2546 จึงมี

เกือบ 9,000 หนา

การปฏิบัติเกินเชนนี้บางทีก็นำไปสูการยอมรับกันโดยทั่วไป เชน

การบันทึกพันธสัญญาท่ีจะใหผลประโยชนแกพนักงานเกษียณซ่ึงไมเคย

Page 38: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

39

ไสว บุญมา • นภาพร ลิมปปยากร

ตองทำมากอน เกี่ยวกับประเด็นนี้ บัฟเฟตตเลาวาเขาพยายามหลีกเลี่ยง

บริษัทที่มีพันธสัญญามากๆ แมพันธสัญญานั้นจะไมปรากฏในบัญชี

ก็ตาม ครั้งหนึ่งเขาเกือบจะซ้ือบริษัทหนึ่งซ่ึงมีพันธสัญญาที่จะตองจาย

ในอนาคตจำนวนมาก เขาโชคดีที่การซื้อบริษัทนั้นประสบอุปสรรคเสีย

กอน ตอมามีบริษัทอื่นยื่นมือเขามาซื้อ และเพียงไมนานก็พบวาสิ่งท่ีซ้ือ

ไปไมมีคาเพราะตองลมละลาย ดวยเหตุผลเดียวกัน เขาตอตานการ

ประกันตัวเองเนื่องจากผลประกอบการในบัญชีวันนี้อาจดูดี หากเมื่อถึง

วันตองจายความเสียหายอาจใหญหลวงเกินคาด ทั้งท่ีบัญชีมีขอจำกัด

แตบัฟเฟตตเชื่อวามันมีความสำคัญอยางยิ่งยวดและขอมูลทางการเงิน

มีประโยชนตอนักลงทุนสูง

ในตอนสุดทาย บัฟเฟตตพูดถึงประโยชนทางภาษีที่เกิดจากการ

ลงทุนระยะยาวเน่ืองจากภาษีกำไรสวนทุนจะถูกเก็บก็ตอเมื่อเขาขาย

กิจการท่ีซ้ือมา อยางไรก็ตาม เนื่องจากกิจการของเขามักทำกำไรไดอยาง

งดงาม ในป 2546 บริษัทของเขาตองจายภาษีถึง 3.3 พันลานดอลลาร

ซ่ึงคิดเปนราว 2.5% ของภาษีเงินไดที่บริษัทในสหรัฐฯ ทั้งหมดจาย นั่น

เปนการจายในอัตราสูงกวาบริษัทอื่นๆ แตเขาเต็มใจเพราะเขามองวาเขามี

โอกาสทำเงินไดมากกวาผูอื่นทั้งท่ีใชความพยายามพอๆ กัน

ในบทสงทาย บัฟเฟตตบอกวาเขาจะทำสิ่งท่ีเขาทำมาแลวตอไป

นั่นคือ ถือครองทุกอยางไวเพื่อผลในระยะยาว แตเขาบอกผูถือหุนใน

BH วา ในอนาคตโอกาสที่จะเติบโตตอไปในอัตราของอดีต ยอมเปนไป

ไมไดเนื่องจากมันผิดธรรมชาติที่บริษัทเดียวจะขยายตัวสูงกวาผูอื่น

ตลอดกาล เขายกตัวอยางวา ตามอัตราการขยายตัวของแบคทีเรีย หาก

มันไมตาย ภายในสองวันน้ำหนักของพวกมันรวมกันจะเทากับน้ำหนัก

ดวงอาทิตย ฉะนั้นหากมันไมตายดวยตัวเอง จะตองมีเหตุการณที่ทำให

Page 39: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

40

มหาเศรษฐีขี้ไมเหนียว

พวกมันตาย เขาจะรักษาทรัพยสินสวนใหญไวในรูปของหุนใน BH ตอ

ไปและไดระบุไวในพินัยกรรมของเขาวา หลังเขาตายใหนำทรัพยสินของ

เขาสวนใหญไปใชในการกุศลภายใน 10 ป

ขอสังเกต : จดหมายที่นำมารวมไวในหนังสือเลมนี้เขียนขึ้นกอน

วันที่บัฟเฟตตจะตกลงใหมูลนิธิของบิลล เกตส เปนผูนำทรัพยสินของ

เขาไปใชเพื่อการกุศล และกอนที่จะมีการขับเคลื่อนใหบรรดาอภิมหา-

เศรษฐีสละทรัพยสินอยางนอย 50% เพื่อการชวยเหลือเพื่อนมนุษย การ

ขับเคลื่อนนี้มีวอรเรน บัฟเฟตต และ บิลล เกตส เปนหัวจักรใหญโดย

ใชชื่อวา Giving Pledge ซ่ึงคงแปลวา ”คำมั่นสัญญาจะบริจาค” (กรุณา

ดูรายละเอียดในภาคผนวก) เพื่อเปนตัวอยางแกผูอื่นวาเขาพูดจริงทำจริง

บัฟเฟตตไดเร่ิมบริจาคเงินเพื่อการกุศลแลวปละนับพันลานดอลลาร และ

ไดใหคำมั่นสัญญาวาจะบริจาคอยางนอย 99% ของทรัพยสินทั้งหมด

บานของวอรเรน บัฟเฟตต ซึ่งเปนบานแบบของ คนอเมริกันชั้นกลาง ซึ่งไมมีกระท่ังรั้วหนาบาน

Page 40: ˛ˇ ! + 2 @ ( # ) 5postbooksonline.com/media/pdf_files/post_book_153.pdf · 2011-03-03 · พิมพ ครั้งที่ 1 : ... และต นฉบับเป นภาษาอังกฤษ

41

ไสว บุญมา • นภาพร ลิมปปยากร

บิลล เกตสเคยพูดวา การใชเงินใหเกิดประโยชนตามจุดมุงหมาย

นั้นยากกวาการทำเงิน ตองคอยดูตอไปวาอะไรจะเกิดขึ้นหลังบัฟเฟตต

จากโลกนี้ไป

เนื้อหาของหนังสือเลมนี้มาจากคำพูดของบัฟเฟตตเอง ผูตองการ

ขอมูลเกี่ยวกับชีวิตและแนวคิดของเขาเพิ่มข้ึนอาจไปอานเรื่อง The

Snowball : Warren Buffett and the Business of Life โดย

อลิส ชโรเดอร (Alice Schroeder) ซ่ึงพิมพเมื่อเดือนกันยายน 2551

และมีความหนาสมกับความร่ำรวยของเขาคือเกือบ 1,000 หนา นอกจาก

นั้นยังมีการรวบรวมขอคิดของเขาออกมาในรูป ”บัญญัติ 10 ประการ” โดย ไมเคิล บรัช (Michael Brush) เผยแพรไปตามสื่อตางๆ เมื่อ

ตนเดือนมกราคม 2552 แมบริบทของเน้ือหาจะเปนวงการธุรกิจใน

สหรัฐอเมริกา แตแนวคิดของบัฟเฟตตสวนใหญนาจะนำไปประยุกต

ใชไดในทุกสังคม

ความโดดเดนเปนพิเศษของบัฟเฟตตที่สื่อมักพูดถึงบอยๆ คือ

ความมัธยัสถของเขา แมจะร่ำรวยจนถึงขั้นเปนอันดับ 1 ของโลก แตเขา

ยังอาศัยอยูในบานหลังเดิมซ่ึงเขาซื้อไวตั้งแตสมัยเพิ่งกอรางสรางตัว บาน

ไดรับการตอเติมบางเปนบางสวน แตก็ไมถึงกับใหญโตหรือโออาเฉกเชน

ของมหาเศรษฐีสวนใหญ การดำเนินชีวิตแบบน้ีคอนขางยอนยุค แตจาก

ขาวที่พอหาอานได เขาก็ดูจะมีความสุขไมนอยกวาผูอื่น แนละ สิ่งท่ีนา

ชื่นชมเปนพิเศษของบุคคลผูนี้ก็คือ ความมีน้ำใจที่จะอุทิศทรัพยสมบัติ

เกือบทั้งหมดใหแกการแกปญหาของมนุษยชาติ