seminar at singapore

33
รายงานการศึกษาดูงานดานการจัดการและบริการหองสมุดในประเทศสิงคโปร วันที5 - 7 กรกฎาคม 2552 บุคลากรศูนยสารนิเทศมนุษยศาสตรและสถาปนิก ------------------------------------- ชื่อคณะผูดูงาน : บุคลากรศูนยสารนิเทศมนุษยศาสตรและสถาปนิก วันเวลาดูงาน : 5-7 กรกฎาคม 2552 กําหนดการดูงาน : 1. หอจดหมายเหตุแหงชาติของประเทศสิงคโปร (National Archives) 1.1 ฟงบรรยายสรุปลักษณะการใหบริการขอมูลตางๆ แกสาธารณะ 1.2 ชมวีดีทัศนประวัติความเปนมา 1.3 ชมนิทรรศการเกี่ยวกับแมลงที่เปนสาเหตุทําใหเอกสารตางๆ ทรุดโทรมเร็วขึ้น 1.4 ชมการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ในสวนการรักษาสภาพของเอกสารเกาแก 1.5 ชมการสาธิตการใชเครื่องสแกนเอกสารในรูปตางๆ ที่เหมาะสมกับเอกสาร 1.6 เยี่ยมชมหองผลิตและรักษาสภาพสื่อมัลติมีเดีย 2. หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยแหงชาติสิงคโปร (NUS) 2.1 ชมวีดีทัศนประวัติความเปนมาและฟงบรรยายสรุปลักษณะการใหบริการทีเขาถึงผูรับบริการในชองทางการสื่อสารในรูปแบบตางๆ 2.2 เยี่ยมชมบริการคืนหนังสือดวยตนเองและบริการทรัพยากรที่อยูในลักษณะชั้นปด 2.3 เยี่ยมชมลักษณะการจัดเรียงหนังสือและการลดขั้นตอนในการเก็บหนังสือ 2.4 เยี่ยมชมมุมใหบริการตางๆ อาทิ หองสําหรับคุยโทรศัพท หองอานหนังสือเดี่ยว 2.5 เยี่ยมชมหองพักตามอัธยาศัยของผูรับบริการ (Perk Point) 2.6 เยี่ยมชม Info Commons ซึ่งแบงสวนการบริการออกเปน 2 สวน 2.6.1 สวนบริการสืบคนสารนิเทศออนไลน 2.6.2 สวนบริการการทํารายงานของผูรับบริการ 3. หองสมุดจูรง (Jurong Regional Library) 3.1 ฟงบรรยายสรุป 3.2 เยี่ยมชมกิจกรรมตางๆ ระหวางผูใหบริการและผูรับบริการ 3.3 เยี่ยมชมหองสมุดเคลื่อนที(Mobile Library) 4. หองสมุดเอสพลานาด (Library@Esplanade) 4.1 ฟงบรรยายสรุป 4.2 เยี่ยมชมบริการในสวนตางๆ จัดเปนสัดสวนตามประเภทของการแสดง

Upload: humanities-information-centre

Post on 12-Nov-2014

1.591 views

Category:

News & Politics


0 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: Seminar At Singapore

รายงานการศึกษาดูงานดานการจัดการและบริการหองสมุดในประเทศสิงคโปร วันที่ 5 - 7 กรกฎาคม 2552

บุคลากรศูนยสารนิเทศมนุษยศาสตรและสถาปนิก -------------------------------------

ชื่อคณะผูดูงาน : บุคลากรศูนยสารนิเทศมนุษยศาสตรและสถาปนิก วันเวลาดูงาน : 5-7 กรกฎาคม 2552 กําหนดการดงูาน : 1. หอจดหมายเหตุแหงชาติของประเทศสิงคโปร (National Archives)

1.1 ฟงบรรยายสรุปลักษณะการใหบริการขอมูลตางๆ แกสาธารณะ 1.2 ชมวีดีทัศนประวัติความเปนมา 1.3 ชมนิทรรศการเกี่ยวกับแมลงที่เปนสาเหตุทําใหเอกสารตางๆ ทรุดโทรมเร็วข้ึน 1.4 ชมการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีในสวนการรักษาสภาพของเอกสารเกาแก 1.5 ชมการสาธิตการใชเคร่ืองสแกนเอกสารในรูปตางๆ ท่ีเหมาะสมกับเอกสาร 1.6 เยี่ยมชมหองผลิตและรักษาสภาพส่ือมัลติมีเดีย

2. หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยแหงชาติสิงคโปร (NUS) 2.1 ชมวีดทัีศนประวัติความเปนมาและฟงบรรยายสรุปลักษณะการใหบริการท่ี

เขาถึงผูรับบริการในชองทางการส่ือสารในรูปแบบตางๆ 2.2 เย่ียมชมบริการคืนหนังสือดวยตนเองและบริการทรัพยากรที่อยูในลักษณะช้ันปด 2.3 เยี่ยมชมลักษณะการจัดเรียงหนังสือและการลดข้ันตอนในการเก็บหนังสือ 2.4 เย่ียมชมมุมใหบริการตางๆ อาทิ หองสําหรับคุยโทรศัพท หองอานหนังสือเด่ียว2.5 เยี่ยมชมหองพักตามอัธยาศัยของผูรับบริการ (Perk Point) 2.6 เยี่ยมชม Info Commons ซ่ึงแบงสวนการบริการออกเปน 2 สวน 2.6.1 สวนบริการสืบคนสารนิเทศออนไลน 2.6.2 สวนบริการการทํารายงานของผูรับบริการ

3. หองสมุดจรูง (Jurong Regional Library) 3.1 ฟงบรรยายสรุป 3.2 เยี่ยมชมกจิกรรมตางๆ ระหวางผูใหบริการและผูรับบริการ 3.3 เยี่ยมชมหองสมุดเคล่ือนท่ี (Mobile Library)

4. หองสมุดเอสพลานาด (Library@Esplanade) 4.1 ฟงบรรยายสรุป 4.2 เยี่ยมชมบริการในสวนตางๆ จัดเปนสัดสวนตามประเภทของการแสดง

Page 2: Seminar At Singapore

2

5. หอสมุดแหงชาติ (National Library) 5.1 ฟงบรรยายสรุป 5.2 เยี่ยมชมบริการในสวนตาง ๆ อาทิ หองทํางานนักวจิัย หองเอกสารอางอิง หองหนังสือบริจาค หองหนังสือหายาก ฯลฯ

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

การไปศึกษาดูงานหองสมุดในประเทศสิงคโปร ระหวางวันท่ี 5-7 กรกฎาคม 2552 ของบุคลากรศูนยสารนิเทศมนุษยศาสตร คณะอักษรศาสตร และสถาปนิก ในครั้งนี้ มีจุดประสงคเพื่อศึกษาการบริหาร จัดการ ตกแตง และการบริการสารสนเทศสมัยใหม ซ่ึงประเทศสิงคโปรเปนประเทศที่ไดรับการยกยองในเร่ืองการจัดการระบบหองสมุดใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชนในชาติ วาทําไดอยางเปนระบบโดยมีรูปแบบท่ีทันสมัย มีชีวิตชีวา เชิญชวนใหเขาใช ท้ังดวยกายภาพและกิจกรรมท่ีจัดข้ึนอยางตอเนื่อง เพื่อจะนํามาเปนแนวทางการจัดศูนยสารนิเทศฯ ท่ีจะไดเนื้อท่ีเพ่ิมข้ึนในอาคารมหาจักรีสิรินธร และปรับปรุงพ้ืนท่ีเดิมใหไดประโยชนใชสอยอยางเต็มท่ี และเพื่อเตรียมบุคลากรท่ีจะตองพัฒนา เพิ่มศักยภาพของตนเองใหพรอมรับส่ิงใหม ๆ ท่ีจะเกิดข้ึน

ในครั้งนี้ไดเลือกท่ีจะดูงานหองสมุดหลากหลายประเภท คือ หอจดหมายเหตุ หองสมุดมหาวิทยาลัย หองสมุดประชาชน หองสมุดเฉพาะ และหอสมุดแหงชาติ เพ่ือใหบุคลากรไดมุมมอง ทัศนคติ และวิธีการทํางานเชิงกลยุทธท่ีมีแนวคิดทางการตลาดเชิงรุกเขาหาผูรับบริการ

การดําเนินการจัดการหองสมุดของประเทศสิงคโปร ทําอยางเปนระบบภายใตการกํากับดูแลของ National Library Board ซ่ึงจัดต้ังข้ึนเม่ือป 1995 มีการแตงต้ังคณะกรรมการข้ึนคณะหนึ่งเพื่อศึกษาสภาพหองสมุดและวางแนวทางการพัฒนาระบบหองสมุด ภายใตโครงการ Library 2000 มุงขยายขีดความสามารถในการเรียนรูของชาติ ดวยการบริการท่ีสะดวก เขาถึงไดงาย และมีสารประโยชน

NLB ไมไดหยุดเพียงแคความสําเร็จของ Library 2000 เทานั้น แตหลังจากการดําเนินตามแผนท่ีจัดทําไวใน Library 2000 ไดสําเร็จลุลวงอยางสวยงามเปนท่ีประจักษแกชาวโลก แมบรรดาประเทศมหาอํานาจตะวันตก ก็ยังตองยอมรับอยางช่ืนชมและยกยอง ถึงกับนําแผนการจัดการระบบหองสมุดนี้ไปเปนกรณีศึกษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยฮารเวิรด ก็ยังคงมุงม่ันเดินหนาตอไปดวยแผน Library 2010 : Library for Life, Knowledge for Success – หองสมุดคือชีวิต ความรูคือความสําเร็จ ซ่ึงจากการไดไปเยี่ยมชม ศึกษาระบบงาน เห็นไดชัดวา เขาทําไดสําเร็จแลว กอนป 2010 เสียดวยซํ้า ชาวสิงคโปรไดรับเอาหองสมุดเขาเปนสวนหนึ่ง และเปนสวนสําคัญของชีวิตของเขา จากระยะเร่ิมตนท่ีหองสมุดเปนเพียง Lifestyle บัดนี้แมจะยังไมถึง 2010 พวกเขาก็รับหองสมุดเขามาเปนชีวิตของเขาแลว ดวยกิจกรรมตาง ๆ ท่ีรวมกันสรางอยางจริงจังและยั่งยืน

Page 3: Seminar At Singapore

3

หอจดหมายเหตุแหงชาติ (National Archive of Singapore - NAS)

จัดต้ังข้ึนโดยรัฐสภา ในป 1968 ในช่ือวา National Archive & Record Center (NARC) ในป 1979

ไดผนวกเอาแผนกประวัติศาสตรบอกเลาไวดวยกัน จึงเปล่ียนช่ือเปน National Archive & Oral History ป 1993 ไดรับการยกฐานะข้ึนเปนสถาบันภายใต The National Heritage Board

หอจดหมายเหตุแหงชาติทําหนาท่ีเปนArchival Repository เพื่อจัดเก็บ รวบรวม บันทึก ความทรงจํา

ของชาติไว เพือ่ใหคนรุนตอไปไดเรียนรู เขาใจวัฒนธรรมอันหลากหลายท่ีกอรางสรางชาติข้ึนมาจนเปนสิงคโปรเชนทุกวันนี ้

เพื่อใหสามารถทําหนาท่ีไดครบถวนสมบูรณตามบทบาท หอจดหมายเหตุ จึงรวบรวม แสวงหา และ

รับบริจาคจากหนวยงานตาง ๆ ในประเทศ ท้ังภาครัฐและเอกชน และใหคําแนะนํา อบรม หนวยงานรัฐใหดําเนินการจัดเก็บ และใหบริการไปในแนวทางเดียวกัน

นอกจากการบันทึกเหตุการณปจจุบันเพื่ออนาคตแลว หอจดหมายเหตุมีภารกิจในการอนุรักษ

บํารุงรักษาส่ิงพิมพ เอกสาร จดหมายเหตุประวัติศาสตรดั้งเดิมดวยวิธีการ และเคร่ืองมือท่ีลํ้ายุค ไมเพียงทําหนาท่ีเปน Archival Repository เทานั้น แตหอจดหมายเหตุแหงชาติ ไดจัดการเผยแพร

ใหประชาชนในชาติไดเขาถึงบันทึกความทรงจําเหลานั้นไดอยางไมนาเบ่ือ เขาใจงาย และสนุกในการเรียนรู ดวยการจัดต้ังพิพิธภัณฑข้ึน 2 แหง คือ Reflections at Bukit Chandu และ Memories at Old Factory ซ่ึงแสดงเปนเร่ืองราวในลักษณะเลาเร่ืองประวัติศาสตรยุคสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ท่ีสิงคโปรถูกยึดครองโดยญ่ีปุน

นับเปนแนวคิดการบริหารจัดการจดหมายเหตุของชาติ ท่ีใหประโยชนแกประชาชนอยางยิ่งใหญ

หอประวัติจุฬาลงกรณนาจะทําหนาท่ีเชนเดียวกัน ในการจัดเก็บ ทะนุบํารุงรักษา แปลงผันใหนิสิต นักศึกษา คณาจารย นักวิจัย ไดเขาถึงเอกสารสําคัญของมหาวิทยาลัย โดยไมกอใหเกิดความเสียหาย หรือสูญหายแกเอกสารทรงคุณคาเหลานั้น และพิพิธภัณฑท่ีกําลังจัดสรางอยู ควรเปนท่ีจัดแสดง นําเสนอเร่ืองราว ประวัติจุฬาฯ ซ่ึงเปรียบเสมือนประวัติศาสตรของชาติ แกประชาคม และสังคมอยางเปนรูปธรรมและตอเนื่อง เพื่อใหประชาคมไดภูมิใจและ “หยิ่ง” ในความเปนจุฬาฯ

สิงคโปรเปนประเทศเล็ก มีประวัติศาสตรส้ัน แตขวนขวาย ไขวควา รวบรวม เก็บรักษาไวเพื่อคนรุน

ตอไป ทุมเทกําลังปญญา และกําลังทรัพยท่ีมีอยูอยางลนเหลือ บริหารจัดการดวยวิสัยทัศน นโยบายท่ีชัดเจน แนวแน และตอเนื่องอยางยั่งยืน

Page 4: Seminar At Singapore

4

รายละเอียดท่ีสําคัญ

National Archive of Singapore รับผิดชอบในการเกบ็รวบรวมและจัดการเก่ียวกบับันทึกทางประวัติศาสตร การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ นอกจากนี้ยงัเก็บบันทึกเร่ืองราวสําคัญ ๆ เกื่ยวกับประเทศสิงคโปรท้ังจากเอกสารในประเทศและตางประเทศอีกดวย

Page 5: Seminar At Singapore

5

การบํารุงรักษาเอกสาร หอจดหมายเหตุ มีหองบํารุงรักษาเอกสารที่เกิดจากการสึกหรอทางกายภาพ กรดในกระดาษ เช้ือรา และแมลงรบกวนตาง ๆ เชน แมลงสาบ ปลวก โดยจัดลําดับงานเปนข้ันตอนอยางมีประสิทธิภาพ

ข้ันตอนการทํางาน

Page 6: Seminar At Singapore

6

Page 7: Seminar At Singapore

7

การจัดการภาพถาย ใชวิธีการบันทึกภาพถายเขาสูระบบดิจิทัล และฟลมขนาดเล็ก เพื่อการเก็บรักษาในระยะยาว มีเคร่ืองสแกนเนอรท่ีทันสมัย และมีประสิทธิภาพในการใชงานสูง ชวยในการรักษาสภาพของหนังสือ และเอกสารไมใหขาด หรือชํารุด ภาพท่ีไดจึงมีลักษณะคมชัด สวยงาม

Page 8: Seminar At Singapore

8

การสแกนหนังสือ โดยไมทําใหหนังสือชํารุด

ภาพท่ีไดจากการสแกน คมชัด สวยงาม เหมือนจริง ดวยเครื่องสแกนเนอรที่ทันสมัย

Page 9: Seminar At Singapore

9

การสแกนกฤตภาค จัดเก็บในรูปแบบดิจิทัล เพื่อสะดวกแกการสืบคนขอมูล

การผลิตและเก็บรักษาส่ือมัลติมีเดีย รวบรวม ผลิต และเก็บรักษาส่ือบันทึกเสียง และภาพเคล่ือนไหวท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อเปนหลักฐานแสดงใหเห็นถึงประวัติศาสตรของสิงคโปร

Page 10: Seminar At Singapore

10

Oral History Centre เปนศูนยท่ีใหขอมูลทางประวัติศาสตรของสิงคโปรผานการบอกเลาปากเปลา และบันทึกความทรงจําของผูท่ีมีอิทธิพล ผูมีสวนรวมในประวัติศาสตรของสิงคโปรผานการสัมภาษณ

หองบริการการอาน

มีบริการหนังสือ ภาพถาย ท่ีเกี่ยวของกับประวัติศาสตรของสิงคโปร และมีคอมพิวเตอรใหคนคืนขอมูล เพื่อความสะดวกของผูใชบริการดวย

Page 11: Seminar At Singapore

11

มหาวิทยาลัยแหงชาติสิงคโปร ( National University of Singapore) มหาวิทยาลัยแหงชาติสิงคโปร ไดรับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกวาเปนอันดับ 6 ของเอเชีย และ

135 ของโลก หองสมุดไดรับการยอมรับวามีบทบาทสําคัญในการสนับสนุนการเรียน การสอน และการวิจัย มีการพัฒนาการใหบริการอยางตอเนื่อง ท้ังดานกายภาพท่ีจัดแบงสัดสวน เอ้ืออํานวยความสะดวก ท้ังสถานท่ีและอุปกรณอํานวยความสะดวกตาง ๆ อยางเหลือเฟอ เพื่อการคนควา วิจัย มีแนวนโยบายท่ีชัดเจน โดยเนนการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาบริหารจัดการและบริการ เชน มีการใชโปรแกรมการระบุท่ีอยูของหนังสือบนช้ันในรูปแบบ 3D(imension), BLOG เพื่อเปนชองทางส่ือสารกับผูรับบริการ, WIKI ในการบริหารภายใน ใชแนวนโยบายการตลาดเชิงรุก ดึงผูรับบริการโดยเฉพาะนักศึกษาเขามามีสวนในการบริหารจัดการ เชน ในเร่ืองของการประชาสัมพันธ บริการ และการจัดกิจกรรมตาง ๆ มีท่ีสําหรับการจัดแสดงผลงานของนักศึกษา(Arts Buzz) โดยใหมีสวนรวมในการจัดหรือแสดง หรือแมแตการจัด Info Commons ซ่ึงเปนศูนยการเรียนรูแบบ Computer-based Learning ท่ีมีบริการแบงเปนสัดสวน คือ สวนเพื่อการสืบคนสารนิเทศออนไลนตาง ๆ สวนการสืบคนฐานขอมูล CD-Rom สวนของการจัดทํารายงาน การบาน และสวนท่ีใหบริการการ print ดําเนินการจัดทําตารางกําหนดระยะเวลาการใชงาน การคิดราคา และเก็บคาบริการ ลวนเปนงานท่ีมอบใหสโมสรนักศึกษาเปนผูดําเนินการ นับเปนกลยุทธการดึงนักศึกษามามีสวนรวมในงานหองสมุดอยางชาญฉลาด เพราะ นอกจากเปนการฝกงานใหกับนักศึกษา แลวในขณะเดียวกันก็แบงเบางานของเจาหนาท่ีท่ีมีภาระงานอ่ืน ๆ ตองดูแล ไมเพียงแตนักศึกษาปจจุบันเทานั้นท่ีถูกเรียกใช แมแตในยามที่ตองการใชการบริการจากภายนอก NUS ก็เลือกท่ีจะใชบริการจากธุรกิจของนักศึกษาเกาของตน เพ่ือผูกใจ รักษาสัมพันธ สรางความประทับใจแกทุกผูทุกนาม เชิญชวนใหมา “คนหาเพื่อคนพบองคความรู แรงบันดาลใจและชีวิต” ท่ีจะใหได ณ จุดเดียวกัน คือ หองสมุด ซ่ึงทุกคนมีสวนรวมเปนเจาของ

รายละเอียดท่ีสําคัญ

หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยแหงชาติสิงคโปร เปนหองสมุดมหาวิทยาลัยท่ีใหญท่ีสุดของประเทศ จัดเปนหองสมุดขนาดใหญท่ีทันสมัยท่ีสุดแหงหนึ่งของโลกท่ีนําเทคโนโลยีคล่ืนความถ่ีวิทยุ หรือ Radio Frequency Identification (RFID) มาใชในการควบคุมการยืมคืนหนังสือ ทําใหผูใชสามารถยืมคืนหนังสือไดดวยตนเอง และใหความสะดวกรวดเร็วในการตรวจและสํารวจหนังสือของหองสมุด สวนการจัดการระบบหองสมุดอัตโนมัติใช INNOPAC ในการจัดการและปจจุบันซ่ึงไดเพิ่มชองทางการส่ือสารออนไลนดวย BLOG ไดเปดโอกาสใหผูใชสามารถเพ่ิมคําสําคัญใหรายการหนังสือและส่ือตางๆท่ีคิดวาเหมาะสมเขาไปในรายการได

Page 12: Seminar At Singapore

12

หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยแหงชาติสิงคโปร มีจุดเดนท่ีนาสนใจอยูหลายประการ ไดแก การจัดใหมีบริเวณ Perk Point สําหรับพักผอนและนัดพบ มีบริเวณ Chat Point สําหรับใชโทรศัพทมือถือทุกช้ัน มีแมกระท่ังท่ีชารจ แบตเตอร่ีมือถือและโนตบุค มีบริเวณสําหรับใชอินเทอรเน็ต มีหองถายเอกสารขนาดใหญใหผูใชสามารถถายเอกสารไดดวยตนเองโดยใชวิธีหยอดเหรียญหรือตัดเงินจากบัตร และทุกช้ันมีบริเวณท่ีจัดไวสําหรับใหใชโนตบุคได

บริเวณ Info Commons

Page 13: Seminar At Singapore

13

บริเวณที่น่ังอาน ใชงานโนตบุคไดทุกจุด

บริเวณจัดแสดงนิทรรศการ

เจาะชองเสาไวสําหรับ จัดแสดงหนังสือใหม แยกแตละ

สาขาวิชา บริเวณใกลเคียง มีที่น่ังอานสีสันสะดุดตา

Page 14: Seminar At Singapore

14

หองบริการถายเอกสารดวยตนเอง โดยตัดยอดเงินจากบัตร Cash Card

บริเวณหองศึกษาคนควาเด่ียว

บริเวณ Self Service

Page 15: Seminar At Singapore

15

หองวารสาร

บริเวณ Perk Point

บริเวณ Chat Point

หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยแหงชาติสิงคโปร จัดหองวารสารใหดูโปรง โลงสบาย มีท่ีนั่งอานไวให บริการมากมาย การจัดช้ันวารสารจะจัดโดยนําวารสาร ใสกลอง แยกเปนช่ือ เรียงตามอักษรไวใหบริการ

Page 16: Seminar At Singapore

16

หองหนังสือ ใชการจัดหมวดหมูหนังสือดวยระบบการจัดหมูของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC) ท่ีช้ันหนังสือจะจัดช้ันวาง ๆ ไว 1 ช้ัน สําหรับใหผูใชบริการวางหนังสือท่ีใชเสร็จแลว หรือหยิบออกมาแตไมตองการใช เปนการลดปญหาผูใชบริการเก็บหนังสือเอง ซ่ึงอาจจะไมถูกตองตามหมวดหมู

บริเวณชั้นหนังสือ

บริเวณชั้นพักหนังสือ

ปายบอกเลขหมูหนังสือ

Page 17: Seminar At Singapore

17

หองสมุดประชาชน Jurong Regional Library

หองสมุดประชาชนท่ีใหญท่ีสุดในประเทศ ตั้งอยูในเขตอุตสาหกรรม Jurong จัดต้ังข้ึนเพื่อบริการผูคนท่ีอาศัยและทํางานอยูในแถบภาคตะวันตกของประเทศ กลุมผูใชเปาหมายจึงมีตั้งแตเด็กไปจนถึงผูท่ีทํางานแลว มีการแบงประเภทกลุมผูใชอยางชัดเจน โดยมุงใหเปน one stop ของการบริการสารสนเทศ เพื่อการอางอิงและการพักผอน มีจุดท่ีนาสนใจท่ีตองช่ืนชมคือ เนนบริการเด็ก ตั้งแตแรกเกิด ซ่ึงจัดไวท่ีช้ันใตดิน มีบริการหนังสือรูปแบบตาง ๆ มุมแสดง เลานิทานใหเด็กเล็ก มุมใหคําปรึกษา เลือกหนังสือใหเหมาะกับเด็กวัยตาง ๆ สําหรับเด็กวัยรุนท่ีจัดไวช้ันบนสุดนั้น การออกแบบตกแตงช้ันวางหนังสือ ท่ีนั่งอาน สีสัน ลวนเปนผลงานของเด็กวัยรุนแทบท้ังส้ิน เพ่ือใหเกิดความรูสึกมีสวนรวม และเปนไปตามแนวคิด ความตองการของรุนท่ีอยูในวัยคนหา แสดงออกอยางไรขีดจํากัด หองสมุดเพียงช้ีนําและสอดสอง สําหรับผูใหญ และผูท่ีทํางานแลว มีบริการขอมูลขาวสาร อางอิง เพื่อการประกอบอาชีพ คนควา วิจัยท่ีออกมาในหลากหลายรูปแบบ มีหนังสือหลากหลายภาษาไวใหบริการ มีนิทรรศการสงเสริมการอานและการใชสารนิเทศ และมีบริการหองสมุดเคล่ือนท่ี เพื่อกลุมคนพิเศษตาง ๆ ซ่ึงอันท่ีจริงไมใชของใหมสําหรับประเทศเรา เพราะเรามีหองสมุดรถ เรือ และรถไฟ และแมแตหองสมุดแบบพกพา คือ หองสมุดกระเปาท่ีสงไปใหบริการตามโรงเรียนในทองถ่ินทุรกันดารในตางจังหวัดมานานนับหลายสิบปแลว รายละเอียดท่ีสําคัญ

Jurong Regional Library เปนหองสมุดประชาชนท่ีใหญท่ีสุดในสิงคโปร ออกแบบมาเพื่อสงเสริมใหเด็ก และวัยรุนเขามาใชเปนแหลงคนควาหาความรู มีท้ังหมด 4 ช้ัน และช้ันใตดิน แตละช้ันแบงแยกประเภทกลุมผูใชอยางชัดเจน คือ Children, Lifestyle, Adult, Reference และ VergingAllTeens

Page 18: Seminar At Singapore

18

VergingAllTeens อยูท่ีช้ัน 4 ของหองสมุด ซ่ึงไดจัดพืน้ท่ีไวใหกลุมวยัรุนไดใชสอยตามความพอใจ ไมวาจะเปนท่ีนั่งอานท่ีแปลกตา มุมแสดงความสามารถ มีพื้นท่ีสําหรับทํากิจกรรมไดหลากหลาย นอกจากนีห้องสมุดยังรวบรวมหนังสือและการตนูท่ีวยัรุนนยิมไวอยางมากมายอีกดวย

บริเวณสําหรับจัดกิจกรรม

บริเวณท่ีนั่งอาน

Page 19: Seminar At Singapore

19

Reference อยูท่ีช้ัน 3 ของหองสมุด ใหบริการหนังสืออางอิง และวัสดุท่ีใชในการอางอิง เชน ไมโครฟลม ส่ือมัลติมีเดีย และยังมีสถานท่ีสําหรับการสนทนากลุมจดัไวใหบริการอีกดวย

สวนจัดแสดงนิทรรศการ อยูท่ีช้ัน 1 ของหองสมุด มีการจัดรูปแบบนิทรรศการไดอยางสวยงาม นาชม และวัสดุท่ีใชก็แข็งแรง ทนทาน

สวนวารสารและหนังสือพิมพ

ในสวนของการใหบริการวารสารและหนังสือพิมพ จะจัดไวท่ี ช้ัน 1 (Lifestyle) โดยจัดวางวารสารไวบนช้ัน เรียงตามลําดับอักษร สวนหนังสือพิมพฉบับใหมจะวางบนช้ัน ฉบับลวงเวลาจะจัดเก็บไวในตูกระจก ซ่ึงผูใชบริการสามารถหยิบใชไดเองอยางสะดวก ใกล ๆ กันนั้นจะมีมุมอาหารและเคร่ืองดื่ม (Cafe) และมีหองสําหรับใชจัดกิจกรรมอ่ืน ๆ ดวย

Page 20: Seminar At Singapore

20

Children Section

จัดพื้นท่ีไวบริเวณช้ันใตดนิของหองสมุด ใหคําปรึกษา และแนะนําในการเลือกหนังสือและวัสดุท่ีเหมาะสําหรับเด็ก ใหบริการทรัพยากรสารนิเทศสําหรับเด็ก และมีเวทีสําหรับใหเดก็แสดงความสามารถอีกดวย

Page 21: Seminar At Singapore

21

บริการใหคําปรึกษา

Page 22: Seminar At Singapore

22

มุมหนังสือตางประเทศ มีการจัดทําสัญลักษณตาง ๆ ใหแกหนังสือ เพื่อบอกถึงประเภทของหนังสือ และมีการตกแตงช้ันหนังสืออยางสวยงามดวยรูปภาพท่ีเกี่ยวของกับประเทศเจาของหนังสือ

Jurong Regional Library มีการนําเทคโนโลยีเขามาชวยในการประหยัดพลังงาน คือใชแผนอะลูมิเนียมกลม ขนาดใหญ เพื่อชวยในการสองสวาง ซ่ึงสามารถลดการใชพลังงานไฟฟา ไดถึง 50%

Page 23: Seminar At Singapore

23

บริการหองสมุดเคล่ือนท่ี รถบริการหองสมุดเคล่ือนท่ี มีหนังสือหลากหลายประเภทไวใหบริการ โดยจะมี Library E-kiosk ไวสําหรับใหผูใชสามารถยืมคืนไดดวยตนเอง

Page 24: Seminar At Singapore

24

Library@Esplanade เปนหองสมุดเฉพาะทางดานศิลปะการแสดง มีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวมสารสนเทศทุกรูปแบบ ท้ังส่ิงตีพิมพ ไมตีพิมพ เกี่ยวกับศิลปะการแสดงไวในท่ีเดียวกัน เพื่อใหบริการขอมูลท่ีจะจุดประกาย ความริเร่ิมสรางสรรคนําไปสูนวัตกรรมการแสดง สงเสริม เสริมสราง ความรัก รูคุณคาของวัฒนธรรมการแสดง

หองสมุดต้ังอยูในศูนยศิลปะการแสดง จัดแบงเปน 4 สวน โดยเรียกแตละสวนนี้วา village ประกอบดวย ดนตรี เตนรํา การละคร ภาพยนตร การจัดการเพื่อสรางบรรยากาศ สภาพแวดลอมใหเกิดความคิดสรางสรรค เรียนรู และจรรโลงใจใหท้ังกับคนทั่วไป และศิลปน มีหองซอมดนตรี หองฉายภาพยนตร หองท่ีจัดเตรียมสําหรับการซอมเตนรําและการแสดงตาง ๆ มีรานกาแฟท่ีมีเวทีขนาดเล็ก ซ่ึงสามารถจัดเสวนา บรรยาย หรือการแสดงเล็ก ๆ นอย ๆ หรือแมแตสังสรรคกันเองได รายละเอียดท่ีสําคัญ

Library@Esplanade เปนหองสมุดเฉพาะทางดานศิลปะการแสดง ท่ีรวบรวมหนังสือ ซีดี ดีวีดี ทางดานศิลปะ ดนตรี ละคร และภาพยนตร ไวอยางมากมาย นอกจากนี้ยังมีวารสาร encyclopedia และ directory ไวสําหรับการอางอิงดวย

การจัดวางวารสารจะวางเฉพาะวารสารเลมลาสุดบนช้ัน เรียงตามลําดับอักษร ซ่ึงช้ันวางวารสารมีท้ังหมด 4 ช้ัน ช้ัน 1-3 ใชสําหรับแสดงวารสารใหม ใน 1 ช้ัน จะวางวารสารได 3 ช่ือ สวนช้ันลางสุดจะเปดโลงสําหรับวางวารสารฉบับลวงเวลา

Page 25: Seminar At Singapore

25

ช้ันจัดแสดงหนังสือและสื่อมัลติมีเดีย

Page 26: Seminar At Singapore

26

หอสมุดแหงชาติสิงคโปร

หอสมุดแหงชาติสิงคโปร ทําหนาท่ีเปน National Depository ซ่ึงหมายความวาจะตองรับผิดชอบการจัดเก็บ บํารุงรักษา และเผยแพรส่ิงพิมพทุกชนิดท่ีนับเปนวรรณกรรม บันทึกภูมิปญญา หรืองานใดใดก็ตามท่ีเขียน ผลิต ตีพิมพโดยชาวสิงคโปร ลวนถือเปนมรดกทางวรรณกรรมทั้งส้ิน

ดวยหนาท่ีความรับผิดชอบดังกลาว โดยมีกฎหมายรองรับ หอสมุดแหงชาติจึงไดรับส่ิงพิมพทุกช้ิน และงานทุกชนิด ไมวาจะเปนในรูปแบบตีพิมพ หรือโสตทัศนวัสดุ หรือส่ืออิเล็กทรอนิกสใดใด นับต้ังแตรายงานประจําป นามานุกรม แผนพับ โปสเตอร แผนท่ี รายงานการสัมมนา วารสาร จํานวนเร่ืองละ 2 ช้ิน นอกจากจะไดรับตามกฎหมายแลว หอสมุดฯ ยังประชาสัมพันธ กระตุนใหผูคนในชาติบริจาคส่ิงท่ีมีคุณคาสมควรเก็บรักษาไวเปนมรดกทางปญญาของชาติ เพื่อใหลูกหลานไดศึกษาคนควาตอไป

Page 27: Seminar At Singapore

27

หอสมุดแหงชาติท่ีไปเยี่ยมชมนี้ มีช่ือวา Lee Kong Chian Reference Library เปนอาคารท่ีสรางแทนหอสมุดเดิมบนถนนแสตมฟอรด ซ่ึงเปดใชมาต้ังแตป 1844 สถานท่ีใหมนี้ตั้งอยูบนถนนวิคตอเรีย เปนอาคาร 16 ช้ัน ซ่ึงสรางดวยแนวคิดเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม เปนอาคารท่ีไดรับรางวัลตาง ๆ มากมาย นับตั้งแตเปดใหบริการมาเม่ือวันท่ี 22 กรกฎาคม 2005 ไดรับยกยองวาเปน “A Smart Green and Windy Building”

ในอาคาร 16 ช้ันนี้ หอสมุดฯ ใชพื้นท่ีช้ันท่ี 7-13 เปนท่ีใหบริการสารนิเทศ เพื่อการอางอิง คนควาวิจัย มีเคร่ืองอํานวยความสะดวกดวยเทคโนโลยีสารสนเทศช้ันสูงอยางมากมาย และเพียบพรอมดวยทรัพยากรสารสนเทศจํานวนมหาศาล ทั้งในรูปแบบส่ิงตีพิมพ ไมตีพิมพ ส่ืออิเล็กทรอนิกส ฐานขอมูลออนไลนตาง ๆ ท่ีจัดอยางเปนระบบ เขาถึงไดสะดวก ดวยภูมิทัศนและบรรยากาศท่ีโปรง แสงนุมนวลสวยงาม ไมระคายตาดวยระบบเซ็นเซอร มากมายดวยบริการหลากหลายท่ีมีเทคโนโลยีสารสนเทศชวยสนับสนุน ลดกําลังคนในเร่ืองการจัดการช้ันหนังสือ สถานท่ี

Collection สุดยอดท่ีถือเปนเพชรยอดมงกุฎ คือ ทรัพยากรที่เกี่ยวกับสิงคโปรและเอเชียอาคเนย บน

ช้ัน 11 ซ่ึงรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศของสิงคโปรอยางครบครัน และของเอเชียอาคเนยอยางหลากหลาย สวนช้ันท่ี 10 จัดเปนช้ันของทรัพยากรสารสนเทศท่ีไดรับบริจาคจากผูมีช่ือเสียง ชุดหนังสือหายาก มีการจัดวางไวอยางสวยงามสมคุณคา นาช่ืนชม นาภูมิใจท้ังผูใหและผูรับสมบัติเหลานั้น บนช้ันเดียวกันนี้มีสวนท่ีจัดเปนนิทรรศการถาวรในลักษณะของ Hall of Fame ท่ีรวบรวมภาพถายขนาดใหญ พรอมประวัติของผูมีช่ือเสียงทางดานการศึกษาและวรรณกรรม ท่ีมีสวนในการสรางหอสมุดแหงชาติไวอยางสงางาม

เนื่องจากเปนหอสมุดแหงชาติ จึงไมมีบริการใหยืม แตไดอํานวยความสะดวกในดานอุปกรณคอมพิวเตอร พื้นท่ีใหใชศึกษาคนควาอยางลนเหลือ ท้ังท่ีนั่งรวม ท่ีนั่งเดี่ยว และหองทํางานสวนตัวท่ีจองใชตามระยะเวลากําหนด

ดวยแนวคิดท่ีจะจัดหองสมุดใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิตของชาวสิงคโปร หอสมุดแหงชาติจึงใหบริการโดยยึดม่ันท่ีจะทําองคความรูใหมีชีวิต (Bringing Knowledge Alive) ดวยการเปนแหลงสะสม ทะนุบํารุงรักษา เผยแพร องคความรูทุกรูปแบบดวยบริการท่ีเหมาะสมสําหรับทุกผูทุกคน ทุกรุนทุกวัย ทุกอาชีพ ทุกชนชั้น ใหอยางตอเนื่อง เพื่อจุดประกายจินตนาการ (Sparkling Imagination) โดยจัดหาพืน้ท่ีท่ีจะใชเปนท่ีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมกันคิดคนนําไปสูความคิดสรางสรรค ดวยการจัดหองสมุดประชาชนข้ึน กระจายไปตามสวนตาง ๆ ของประเทศ โดยมีนโยบายและจุดประสงค กลุมเปาหมายท่ีชัดเจน ในแตละแหงดวยจุดหมายเดียวกันท่ีจะสรางความสํานึกแหงการเรียนรูใหกับคนในชาติ รวมกัน สรางความเปนไปได (Creating Possibility) หองสมุดจะไมมีเพียงเทคโนโลยีสารสนเทศช้ันเยี่ยมท่ีจะกอเกิดนวัตกรรมเทานั้น แตจะเปดโอกาส สรางความเปนไปไดใหกับคนในชาติ

Page 28: Seminar At Singapore

28

รายละเอียดท่ีสําคัญ

หอสมุดแหงชาติสิงคโปร บริเวณช้ัน 1 จัดเปน Central Lending Library ซ่ึงเปนหัองสมุดประชาชนท่ีใหญท่ีสุด และอยูใจกลางเมือง มีบริเวณไวสําหรับจดัการแสดง (Drama Centre) ท่ีช้ัน 3-5 สวนช้ัน 7-13 เปนหองสมุดอางอิง (Lee Kong Chian Reference Library) ช้ันที ่16 เปนจุดชมวิวสิงคโปร สวนสํานักงานใหญของหอสมุดต้ังอยูบนช้ัน 14 หอสมุดแหงนี้ เปดใหประชาชนเขาใชบริการ หนังสือ เอกสาร ส่ิงพิมพ วีดีโอ ไมโครฟลม และส่ืออ่ืนๆ ผานระบบเครือขายท่ีเช่ือมโยงกับหองสมุดชุมชน หองสมุดของสถานศึกษา หองสมุดเยาวชน มีการใชเทคโนโลยีและระบบอิเล็กทรอนิกส ทําใหประชาชนสามารถยืมหนังสือ คืนหนังสือ จายคาปรับ ผานระบบไดไมวาจะอยูท่ีใด โดยผานเคร่ือง Library E– kiosk ท่ีอยูตามสถานท่ีตาง ๆ ไดทุกเครื่อง และทุกเวลา โดยการใชบัตรประจําตัวหองสมุด หรือบัตรประจําตัวประชาชน เชน การจายเงินผานระบบบัตรเดรดิต และ การคนขอมูลผานเว็บไซด ชั้นวางหนงัสือขนาดใหญ

Page 29: Seminar At Singapore

29

ชั้นหนงัสือพมิพ หนังสือพิมพท่ีใหบริการจะถูกจัดวางไวตามช้ัน เรียงตามลําดับอักษร โดยมีการใชพลาสติกคลองเปนหวงท่ีสันของหนังสือพมิพ เพื่อใหงายตอการหยิบใช และช้ินสวนของหนังสือพิมพไมกระจัดกระจาย

ชั้นวารสารและนิตยสาร วารสารและนิตยสารจัดเก็บโดยเรียงใสกลองพลาสติก แลววางตามช้ัน กลองพลาสติกจะจัดเรียงตามเลขหมูของวารสารหรือนิตยสารนั้น ๆ

Page 30: Seminar At Singapore

30

ชั้นรายงานประจําป รายงานประจําป หรือ Annual Report จะถูกจัดเรียงตามอักษรของหนวยงานท่ีเปนเจาของรายงานประจําปนั้น ๆ

บริเวณจัดแสดงหนงัสือหายาก

Page 31: Seminar At Singapore

31

บริเวณจัดแสดงของขวัญตางๆ

บริเวณจัดแสดงส่ิงของบริจาค

บริเวณจัดแสดงนิทรรศการถาวร

Page 32: Seminar At Singapore

32

บริเวณจัดแสดงทรัพยากรสารสนเทศในเอเชียอาคเนย

National Library มีวิธีประหยัดพลังงานไฟฟา โดยสรางตัวอาคารเปนกระจกใส แลวใชมานกั้น

แสง ชวยในการลดปริมาณของแสงท่ีจะสาดสองเขามาในตัวอาคาร โดยมานกั้นแสงนี้จะสามารถสลับปด-เปดไดตามแสงท่ีสองเขามาในตัวอาคาร ช้ันหนังสือช้ันบนสุดจะเปนรู (Polka Dots) เพื่อใหแสงผานทะลุได นอกจากนี้ยังมีปลองลม และมีการจัดแตงสวนไวท้ังภายนอกและภายในอาคารอยางสวยงาม เพื่อลดความรอนภายในอาคาร

Page 33: Seminar At Singapore

33

สรุป หองสมุดในสิงคโปร ไดรับการพัฒนาอยางเปนระบบและตอเนื่อง มีวิสัยทัศน และพันธกิจท่ีสอดคลองกันและมุงม่ันท่ีจะไปสูจุดหมายเดียวกัน มีการรวมสรางวัฒนธรรมการอาน การใชหองสมุดกันอยางจริงจัง ดวยการสรางกิจกรรม และส่ิงอํานวยความสะดวกตาง ๆ ไวในหองสมุด จนกลายเปนวัฒนธรรม เชน มุมกาแฟในหองสมุด ใหเปน Café Culture หองสมุดเปนสถานท่ีท่ีนาไปใชชีวิตอยูอยางสดใส ไมนาเกรงขาม มีบรรณารักษท่ีเต็มใจใหบริการ มีความรู มีพลัง มีความภาคภูมิในงานที่ตนเองทําอยู ซ่ึงเปนส่ิงท่ีเจาหนาท่ีของศูนยฯ ทุกคนเห็นและช่ืนชมวาจะนํามาเปนแบบอยางในการพัฒนาตนเอง งานท่ีทํา และหนวยงาน มีแนวคิดท่ีจะใหนิสิตเขามามีสวนรวมกับหองสมุดใหมากข้ึน โดยจะจัดรวมกับฝายกิจการนิสิต ใหมีท้ังกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน การใชหองสมุด และการฝกอบรม การเรียนรูสารสนเทศ (Information Literacy) ท้ังในรูปการสอนในช้ันเรียน และทําเปนแบบเรียนออนไลน พยายามสรางเคร่ืองมือสืบคนตาง ๆ ไวบน Website เพื่อใหนิสิตรูจัก คุนเคยกับบริการสารสนเทศออนไลนตาง ๆ ซ่ึงจะเปนประโยชนกับการเรียนรูตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ดวย การไปศึกษาดูงานคร้ังนี้ จึงเปนประโยชนท้ังในดานการไดพัฒนาแงคิด มุมมอง ศักยภาพของบุคลากร ไดเห็นวาหองสมุดสมัยใหมในโลกแหงการเรียนรู ท่ี เศรษฐกิจอาศัยองคความรูในการพัฒนาควรจะเปนอยางไร บุคลากรควรมีคุณลักษณะ คุณสมบัติอยางไร สถาปนิกผูออกแบบไดเห็นภาพชัดวา การบริการหองสมุดสมัยใหมมิใชเพียงเนนเร่ืองส่ิงตีพิมพ หรือมีเพียงบรรดาส่ืออิเล็กทรอนิกสและออนไลนเทานั้น แตจะตองเปนการผสมกลมกลืนกันอยางลงตัว เหนือส่ิงอ่ืนใด คือขวัญและกําลังใจของบุคลากรท่ีไดมาพรอมกับความเขาใจ เต็มใจท่ีจะปรับตัวใหรับกับความตองการบริการสารสนเทศยุคใหม ของการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยท่ีมุงจะเปนมหาวิทยาลัยแหงการวิจัย เพื่อเปนแหลงอางอิงแหงแผนดิน