Transcript
Page 1: คู่มือการใช้ dialux

คูมือการออกแบบและคาํนวณระบบไฟฟาแสงสวาง โดยโปรแกรม DIALux

USER MANUAL OF LIGHTING SYSTEM DESIGN AND CALCULATION BY PROGRAM DIALux

สุริยปกร งามสรรพศิร ิ

ปริญญานิพนธน้ีเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑติ ภาควิชาวศิวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร

มหาวิทยาลยับูรพา ปการศึกษา 2551

Page 2: คู่มือการใช้ dialux

คูมือการออกแบบและคาํนวณระบบไฟฟาแสงสวาง โดยโปรแกรม DIALux

USER MANUAL OF LIGHTING SYSTEM DESIGN AND CALCULATION BY PROGRAM DIALux

สุริยปกร งามสรรพศิร ิ

ปริญญานิพนธน้ีเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตบณัฑิต ภาควิชาวศิวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร

มหาวิทยาลยับูรพา ปการศึกษา 2551

Page 3: คู่มือการใช้ dialux

USER MANUAL OF LIGHTING SYSTEM DESIGN AND CALCULATION BY PROGRAM DIALux

SURIYAPAKORN NGAMSUPSIRI

A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF REQUIREMENT FOR THE DEGREE OF BACHELOR OF ENGINEERING

DEPARTMENT OF ELECTRICAL ENGINEERING BURAPHA UNIVERSITY 2008

Page 4: คู่มือการใช้ dialux

ปริญญานิพนธ คูมือการออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวางโดยโปรแกรม DIALux โดย นายสุริยปกร งามสรรพศิร ิอาจารยที่ปรึกษา ผูชวยศาสตราจารยปราณี วงคจันทรตะ จํานวนหนา 100 หนา ปการศึกษา 2551 ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา อนุมัติปริญญานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา ...................................................ประธานกรรมการสอบปริญญานพินธ (อาจารย ดร. โกวิท มาศรัตน) ...................................................กรรมการสอบปริญญานพินธ (อาจารย ณัฐพันธ ถนอมสัตย) ...................................................อาจารยที่ปรึกษา (ผูชวยศาสตราจารยปราณี วงคจันทรตะ) ...................................................หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา (ผูชวยศาสตราจารย ดร. ณยศ คุรุกิจโกศล)

Page 5: คู่มือการใช้ dialux

i

บทคัดยอ ในปจจุบันคูมือการใชโปรแกรมไดอะลักซไมมีในรูปแบบภาษาไทย ทําใหการใชโปรแกรมนี้ไมประสบผลสําเร็จตามความคาดหวัง ดวยเหตุผลดังกลาวจึงไดเสนอโครงงานนี้ขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาทักษะและสรางผลงานโดยใชโปรแกรมไดอะลักซไดดวยตนเอง โดยจัดทําคูมือการใชโปรแกรมในรูปแบบภาษาไทยเพื่อออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวางภายในอาคารเทานั้น ซึ่งแบงเนื้อหาที่อธิบายออกเปน 5 บท คือ การลงโปรแกรม, ไดอะลักซวิซารด, เครื่องมือภายในโปรแกรม , การแสดงผล และ ตัวอยางการใชโปรแกรม จากนั้นทําการทดสอบโดยการกําหนดคาความสองสวางของหองปฏิบัติการ 500 ลักซ, ขนาดของหอง, สัมประสิทธิ์การสะทอนแสง, ชนิดของโคมและหลอดไฟฟาเพื่อหาจํานวนของหลอดไฟฟา ทําการคํานวณโดยวิธีลูเมนเปรียบเทียบกับการคํานวณดวยโปรแกรมไดอะลักซ ผลของการคํานวณพบวาวิธีลูเมนไดจํานวนหลอด 68 หลอด สวนโปรแกรมไดอะลักซไดจํานวนหลอด 72 หลอด พบวาจํานวนหลอดมีคาใกลเคียงกันจึงสรุปไดวาการคํานวณโดยโปรแกรมไดอะลักซมีความนาเชื่อถือและสามารถใชเปนเครื่องมือในการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางได จากนั้นทําการประเมินผลของคูมือการใชโปรแกรมไดอะลักซที่จัดทําขึ้นเพื่อวัดประสิทธิภาพของคูมือ โดยใหกลุมตัวอยางผูประเมินทดลองใชโปรแกรมไดอะลักซตามขั้นตอนภายในคูมือที่จัดทําขึ้น สรุปไดวาคูมือการใชโปรแกรมไดอะลักซมีประสิทธิภาพรอยละ 87 คําสําคัญ : ไดอะลักซ, ไดอะลักซวิซารด, การแสดงผล, วิธีลูเมน

Page 6: คู่มือการใช้ dialux

ii

Abstract In the present, the User Manual of lighting system design and calculation by program DIALux have not been in thai language. The user did not success to used program following the expectation. The objective of this project have written User Manual of program DIALux in thai language for indoor lighting system design and calculation only, and developing the user’s skill and design lighting system. The substance are distributed to five chapters, installation, DIALux WIZARD, Tools, outputs and the example. The configuration of illumination at 500 lx, size of the room, reflect coefficient of room surface, lamp and lluminaire type. The calculation in Lumen method to compare with program DIALux. As the result, there are 68 lamps in Lumen method and 72 lamps in program DIALux. Therefore, program DIALux has the reliability to use in lighting system design. After that to estimate the User Manual by choose the sample user to practical this program, As the result, the User Manual of lighting system design and calculation by program DIALux have 87 percent efficient. Keywords : DIALux , DIALux WIZARD, outputs, Lumen method

Page 7: คู่มือการใช้ dialux

iii

กิตติกรรมประกาศ โครงงานคูมือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวางDIALUX ขอขอบคุณ คุณปญจรัตน เดชกุญชร และคุณมธุรส อภัยจิต ที่ไดชวยใหคําแนะนําเกี่ยวกับเรื่องเทคนิคการพิมพรูป เลมคูมือ ขอขอบคุณ คุณดิษฐพงศ ประพันธวัฒนะ ที่ไดชวยใหคําแนะนําเกี่ยวกับขอมูลเชิงลึกของโปรแกรม DIALUX นอกจากนี้ยังมีบุคคลอีกหลายทานที่ไมสามารถกลาวนามไดทั้งหมด ที่มีสวนชวยในการจัดทําโครงงานนี้ใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ผูจัดทําโครงงาน จึงขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ดวย

Page 8: คู่มือการใช้ dialux

iv

สารบัญ

หนา บทคัดยอ………………………………………………………………………..………………………... i Abstract……………………………………………………………………………..…………………… ii กิตติกรรมประกาศ…………………………………………………………………..…………………… iii สารบัญ……………………………………………………………………………..…………………….. iv สารบัญรูป……………………………………...…………………………………………..…………….. vii สารบัญตาราง…………………………………………………………………………………..………... x รายการสัญลักษณและคํายอ.......................................................................................................... xi บทที่ 1 บทนํา………………………………………………………………………………...………….. 1 1.1 หลักการและเหตุผล..............................…….………………………………………......... 1 1.2 วัตถุประสงค……………………………………………………………………………....... 1 1.3 ขอบเขตของการทําโครงงาน…………………………………………………………........ 2 1.4 แผนการดําเนินงาน..............................................................................……………….. 2 1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ...…………………….……………………………………........ 3 บทที่ 2 ทฤษฎี...................................………………………...……………………………………...... 4 2.1 ทฤษฎี………………………………………………………………………...………...…... 4 2.1.1 ความหมายของการเขียน...........................................................……………...... 4 2.1.2 จุดมุงหมายของการเขียน..................………..……………………….…….…....... 4

1. การเขียนเพือ่อธิบายความ............................................................................ 4 2. การเขียนเพือ่จูงใจ……………………………………………………………..… 4

2.1.3 ประเภทของการเขียน...............…….…………..………………………...……….. 4 2.1.4 บทความทางวิชาการ (Technical papers)……………………………………….... 4

1. ความหมายของบทความทางวิชาการ............................................................ 4 2. รูปแบบของการเขียนงานทางวิชาการ............................................................ 5

3. สวนประกอบของบทความทางวิชาการ.......................................................... 5 2.1.5 ลักษณะของบทความทางวิชาการที่ดี.................................................................. 6

2.1.6 ขั้นตอนการทําหนังสือ........................................................................................ 6 2.1.7 ไมโครซอฟทเวิรด (Microsoft Word)……………………………………………... 7 2.1.8 โฟโตสเคป (PhotoScape)……………………………………………………..…… 8

2.1.9 ดวงโคมไฟฟา (Luminaire)……………………………………………………..….. 13

Page 9: คู่มือการใช้ dialux

v

สารบัญ (ตอ)

หนา 2.1.10 ทฤษฎีพื้นฐานของแสง..................................................................................... 16 2.1.11 การออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางภายในอาคาร............................................... 17 2.1.12 กฏของการสองสวาง........................................................................................ 18 2.1.13 การจัดวางดวงโคม.......................................................................................... 20 2.1.14 องคประกอบที่ทําใหความสวางภายในหองลดลง............................................... 22 2.1.15 การแบงสวนโพรงหอง (Zonal Cavity Method)………………………………..... 24 2.1.16 อัตราสวนโพรง (Cavity Ratio)………………………………………………….… 24 2.1.17 สัมประสิทธิ์การใชประโยชน (Coefficient of Utilization : CU)………………..... 25 2.1.18 วิธีการของหลักการสอดแทรก (Principle of Interpolation)…………………...... 25

2.1.19 วิธีคํานวณหาปริมาณแหงการสองสวางโดยวิธีการหาปริมาณจํานวนเสนแรง ของแสงสวาง (Lumen Method)………………………..........………………......

26

บทที่ 3 หลักการ แนวคิด และการออกแบบโครงงาน....................................................................... 29 3.1 หลักการและแนวคิด.................................................………………..………..………… 29 3.2 ขั้นตอนในการออกแบบโครงงาน........................……...………………………….……... 29

3.3 ศึกษาการทํางานของโปรแกรม DIALux………………………………………….….……. 31 3.4 กําหนดหัวขอของเนือ้หาที่จัดทําเปนคูมือ..................................................................... 33 3.5 เลือกโปรแกรมที่นํามาใชในการจัดทําคูมือ.................................................................... 34 3.6 หลักในการเลือกใชโปรแกรมที่นํามาใชในการจัดทําคูมือ............................................... 34 3.7 ตรวจแกตนฉบับแรก................................................................................................... 35

3.8 ต้ังชื่อหนังสือและตกแตงความสวยงาม......................................................................... 35 3.9 จัดทําคูมือ................................................................................................................... 39 3.10 ประเมินผล................................................................................................................ 47

บทที่ 4 วิธีการทดลองและผลการทดลอง....................………………………….…………………...... 48 4.1 การทดลองที่ 1 เปรียบเทียบผลการคํานวณระหวางทฤษฎีลูเมนกับโปรแกรมDIALux.... 48

4.1.1 อุปกรณที่ใชในการทดลอง.................................................................................. 48 4.1.2 วิธีการทดลอง.................................................................................................... 48

4.1.3 ผลการทดลอง................................................................................................... 56 4.2 การทดลองที่ 2 ประเมนิผลคูมือ................................................................................... 57 4.2.1 อุปกรณที่ใชในการทดลอง.................................................................................. 57

Page 10: คู่มือการใช้ dialux

vi

สารบัญ (ตอ)

หนา 4.2.2 วิธีการทดลอง.................................................................................................... 57 4.2.3 ผลการทดลอง................................................................................................... 59

บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและขอเสนอแนะ.....................……..…………………………………...... 60 5.1 สรุปผลการทดลอง…………………..………………………………..…………………..... 60 5.2 ขอเสนอแนะ…………………...………………………………………………………….... 60 เอกสารอางอิง............................................................................................................................... 61 ภาคผนวก..................................................................................................................................... 62 ภาคผนวก ก คําจํากัดความและคําที่ใชกันทั่วไป...........................................…………..….. 63 ภาคผนวก ข การพิจารณาการออกแบบระบบแสงสวางในอาคารสํานักงาน..............…….... 64 ภาคผนวก ค อัตราสวนโพรงที่ไมใชหองสี่เหลี่ยม....................................……………..…… 67 ภาคผนวก ง การสรางตัวอักษรหลอดไฟนีออนดวย Photoshop 7.0....................................... 70 ภาคผนวก จ คาเฉล่ียเลขคณิต (Arithmetic Mean)............................................................. 77 ภาคผนวก ฉ สัมประสิทธิ์การสะทอนแสงของวัสดุ.............................................................. 78 ภาคผนวก ช คาความสองสวางที่นิยมใชในสถานที่ตางๆ.....................…………..……....… 79 ภาคผนวก ซ ผลการใชตารางสําหรับประเมินคูมือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบ

ไฟฟาแสงสวาง DIALux Version 4.4……………………………………….……... 86

Page 11: คู่มือการใช้ dialux

vii

สารบัญรูป

รูปที่ หนา 2.1 การต้ังคาระยะขอบ............................................................................................................... 8 2.2 การต้ังหนากระดาษใหเปน 2 หนาตอแผน............................................................................. 8 2.3 หนาตางเริ่มตนโปรแกรม PhotoScape……..…………….………………………………..……. 9 2.4 หนาตางโปรแกรม PhotoScape.………………………………………….………………..……. 9 2.5 เลือกภาพที่ตอการ................................................................................................................ 10 2.6 แถบเครือ่งมือของโปรแกรม PhotoScape.………………….……………………………..……. 10 2.7 หนาตางรูปของโปรแกรม PhotoScape……...………...………………………………..………. 10 2.8 การตกแตงรูปที่ตองการ........................................................................................................ 11 2.9 การกําหนดลักษณะของเสน……..………………………………………………………..……… 11 2.10 แสดงภาพที่วาดเสนแลว........................................................................................................ 12 2.11 เซฟภาพที่ตกแตงแลว........................................................................................................... 12 2.12 Folder Originals……..……………………………………………………………………...……. 12 2.13 ดวงโคมไฟฟาแบบหอย......................................................................................................... 13 2.14 ดวงโคมไฟฟาสําหรับยึดติดกับเพดาน................................................................................... 13 2.15 ดวงโคมไฟฟาสําหรับยึดติดเขาไปในเพดาน........................................................................... 14 2.16 คลื่นความยาวแสงที่มองเห็นได............................................................................................. 16 2.17 กําลังสองผกผัน..................................................................................................................... 18 2.18 กฏโคไซนของแลมเบิรต........................................................................................................ 19 2.19 การติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบตอเนื่อง..................................................................................... 21 2.20 การติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบปกติ.......................................................................................... 21 2.21 การแบงสัดสวนโพรงหอง...................................................................................................... 24 3.1 Flowchart ขั้นตอนดําเนินงานการจัดทําหนังสือคูมือการใชโปรแกรม DIALux..…………..…... 30 3.2 Flowchart ขั้นตอนการใชโปรแกรม DIAlux…….................................................................... 31 3.3 ภาพหนาปกของหนังสอืคูมือ................................................................................................. 36 3.4 ตกแตงเลขหนาบทที่ 1.......................................................................................................... 37 3.5 ตกแตงเลขหนาบทที่ 2.......................................................................................................... 37 3.6 ตกแตงเลขหนาบทที่ 3.......................................................................................................... 37 3.7 ตกแตงเลขหนาบทที่ 4.......................................................................................................... 38 3.8 ตกแตงเลขหนาบทที่ 5.......................................................................................................... 38 3.9 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 1.................................................................................................. 38 3.10 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 2................................................................................................... 39

Page 12: คู่มือการใช้ dialux

viii

สารบัญรูป (ตอ) รูปที่ หนา 3.11 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 3................................................................................................... 39 3.12 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 4................................................................................................... 39 3.13 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 5 .................................................................................................. 39 3.14 การเรียงหนาปกติ................................................................................................................. 40 3.15 ไฟลสําหรับพิมพคูมือ............................................................................................................ 42 3.16 การจัดเรยีงลําดับหนาของไฟล PrintProject ดานนอก............................................................ 42 3.17 การจัดเรยีงลําดับหนาของไฟล PrintProject ดานใน .............................................................. 43 3.18 ผลลัพธจากการพิมพ ............................................................................................................ 43 3.19 รูปเลมหนังสือ ...................................................................................................................... 44 3.20 ขอบเขตในการพิมพของ Printer ………………………………………………..……………….. 44 3.21 เปรียบเทียบภาพที่ถูกตองกับปญหาที่เกิดในการพิมพ............................................................ 45 3.22 แกปญหาการพิมพ................................................................................................................ 45 3.23 หนังสือคูมือการใช DIALux ดานหนา..................................................................................... 46 3.24 หนังสือคูมือการใช DIALux ดานหลัง..................................................................................... 47 4.1 ดวงโคมไฟฟาและกราฟการกระจายแสง................................................................................ 49 4.2 ระดับการติดต้ังดวงโคมไฟฟา.....................................…………………………………………. 49 4.3 กําหนดขนาดหอง................................………………………………….................................. 53 4.4 กําหนดสัมประสิทธิ์การสะทอนแสง........................................................................................ 53 4.5 กําหนดคา Maintenance factor…………………………………………………………............. 53 4.6 กําหนดความสูงของพื้นที่ทํางาน........................................................................................... 54 4.7 ดวงโคมไฟฟา Sylvania 58 W 5200 ลูเมน........................................................................... 54 4.8 ความสูงการติดต้ังดวงโคม.................................................................................................... 54 4.9 กําหนดคาความสองสวาง...................................................................................................... 55 4.10 การวางดวงโคม.................................................................................................................... 55 4.11 เสนแหงการสองสวาง............................................................................................................ 56 ค.1 หองรูปตัว L (L-Shaped Room)………................................................................................ 67 ค.2 หองรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (Triangular Room)...................................................................... 68 ค.3 หองรูปวงกลม(Circular Room)………………………………………….................................. 68 ค.4 หองรูปหกเหล่ียม (Hexagonal Room)................................................................................ 69 ง.1 หนาตางแสดงภาพ .............................................................................................................. 69 ง.2 ตัวอักษร .............................................................................................................................. 69

Page 13: คู่มือการใช้ dialux

ix

สารบัญรูป (ตอ) รูปที่ หนา ง.3 คําสั่งเปลี่ยน Text เปน Layer ……………………………………………………………..…….. 70 ง.4 Text เปลี่ยนเปน Layer ………………………………………………………………..…………. 71 ง.5 คําสั่ง Color Range ……………………………………………………………………...….……. 71 ง.6 หนาตาง Color Range …………………………………………………………………..…......... 71 ง.7 ผลลัพธจากคําสั่ง Color Range ………………………………………………………...………... 71 ง.8 คําสั่ง Contract ……………………………………………………………………………………. 72 ง.9 หนาตางคําสั่ง Contract …………………………………………………………………..……… 72 ง.10 ผลลัพธจากขั้นตอนที่ 6 ........................................................................................................ 72 ง.11 Copy Layer…………………………………………….……………………………………...…… 73 ง.12 Layer ที่เพิ่มขึ้น..................................................................................................................... 73 ง.13 เพิ่ม Layer ที่ใชคําสั่ง Blur……..………………………………………………………..………... 73 ง.14 ผลลัพธจากคําสั่ง Blur……..……………………………………………………………..……….. 73 ง.15 คําสั่ง Grayscale……..……………………………………………………………………..……... 74 ง.16 Fletten Image……..…………………………………………………………………………..…... 74 ง.17 คําสั่ง Color Balance……..…………………………………………………………………..…… 75 ง.18 หนาตาง Color Balance…………………………………………………………..………………. 75 ง.19 Color Levels…..................................................................................................................... 75 ง.20 Midtones…………………………………………………………………………………………… 75 ง.21 Highlights………………………………………………………………………..………….……… 75 ง.22 ภาพเสร็จส้ิน......................................................................................................................... 76

Page 14: คู่มือการใช้ dialux

x

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา

1.1 แผนการดําเนนิงาน…………………………………………………………………….……….. 3 2.1 แสดงกราฟเปรียบเทียบการกระจายกําลังการสองสวางของแสงสวางของดวงโคมไฟฟาแต

ละประเภทของ CIE และ IES (ที่มา: Illumination Engineering. 1980 : 129 ).……............

15 2.2 แสดงคาความสามารถในการสะทอนแสงสวางของสวนตางๆในสํานักงานที่เหมาะสม........... 17 3.1 ตารางคูหนากระดาษ (ดัมม่ี).............................................................................................. 41 4.1 แบบประเมินคูมือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวนระบบไฟฟาแสงสวาง DIALux

Version 4.4.……………………………………………………………………………………..

58 4.2 คะแนนผลการประเมินคูมือ DIALux Version 4.4…………………………...………….…….. 59

Page 15: คู่มือการใช้ dialux

xi

รายการสัญลักษณและคาํยอ สัญลักษณ หนวย คําอธิบาย CCR - อัตราสวนโพรงเพดาน CU - สัมประสิทธิ์การใชประโยชนดวงโคมไฟฟา E ลักซ ปริมาณแหงการสองสวาง FCR - อัตราสวนโพรงพื้น K เคลวิน อุณหภูมิของการเผาวัตถุดํา L เมตร ความยาวของหอง I ลูเมน ปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางที่ออกจากดวง โคมไฟฟา LBO - คาตัวประกอบหลอดไฟฟาเสีย LDD - คาความเสื่อมสภาพของแสงสวางจากความสกปรก ของดวงโคม LLD - คาความเสื่อมสภาพของหลอดไฟฟา MF - ตัวประกอบการบํารุงรักษา (LDD x LLD) RCR - อัตราสวนโพรงหอง RSDD - คาความเสื่อมสภาพของแสงสวางจากพื้นผิวหอง สกปรก W เมตร ความกวางของหอง X เมตร ระยะหางระหวางดวงโคมในแนวแกน X Y เมตร ระยะหางระหวางดวงโคมในแนวแกน Y nm ความยาวคลื่นแสง % ความสามารถในการสะทอนแสงของโพรงเพดาน (Ceiling Reflectance) - คาประสิทธิผลการสะทอนแสงสวางของโพรง เพดาน (Effective Ceiling Reflectance) % ความสามารถในการสะทอนแสงของโพรงพื้น (Floor Reflectance) - คาประสิทธิผลการสะทอนแสงสวางของโพรงพื้น (Effective Floor Reflectance) % ความสามารถในการสะทอนแสงของผนัง(Floor- Reflectance) Eav ลักซ ความสองสวางเฉลี่ย

Page 16: คู่มือการใช้ dialux

xii

Emax ลักซ ความสองสวางสูงสุด Emin ลักซ ความสองสวางต่ําสุด Etotoal ลักซ คาความสองสวางเฉลี่ยรวมภายในหอง hcc เมตร ความสูงของโพรงเพดาน hfc เมตร ความสูงของโพรงพื้น hrc เมตร ความสูงของโพรงหอง Ltotal ลูเมน ปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางที่ออกจากดวง โคมไฟฟาทั้งหมด u0 - อัตราสวนระหวาง Emin / Eav

- คาเฉล่ียเลขคณิต

Page 17: คู่มือการใช้ dialux

1

บทที่ 1

บทนํา

1.1 หลักการและเหตุผล

DIALux คือโปรแกรมที่สามารถออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวางไดอยางชัดเจน ซึ่งเปนประโยชนตอการเรียนการสอนในวิชาวิศวกรรมการสองสวางเปนอยางยิ่ง โปรแกรมจะมีสวนของ Plug – in ซึ่งเปนขอมูลของโคมไฟฟา และหลอดไฟแตละแบบ ใหสามารถนํามาใสในแบบจําลองที่สรางขึ้นมาได และโปรแกรมสามารถแสดงผลของการสองสวาง จากโคมไฟฟาที่ใชออกมาไดอยางสมจริง เปนประโยชนในการจําลองการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางกอนที่จะนําไปสรางจริง

วิชา Illumination Engineering คือวิชาเกี่ยวกับการศึกษาพื้นฐานธรรมชาติของแสง การมองเห็น ทฤษฏีการเกิดสี ทําความเขาใจกับการทํางานของหลอดไฟฟาชนิดตางๆ และตอเนื่องไปถึงการคํานวณระบบไฟฟาแสงสวางในสถานที่ตางๆ จนสามารถออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางใหไดตามมาตรฐานที่กําหนดไว ซึ่งโปรแกรม DIALux สามารถนํามาใชเพื่อใหเกิดความสมจริงในการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวาง และงายตอการแสดงผลที่ทําใหสามารถตัดสินใจไดงายยิ่งขึ้น

ในปจจุบัน คูมือการใชโปรแกรมDIALux มีแตคูมือภาษาตางประเทศทั้งนั้นไมมีในรูปแบบภาษาไทย ทําใหการใชโปรแกรมนี้ไมประสบผลสําเร็จตามความคาดหวัง ดวยเหตุผลดังกลาวจึงไดเสนอโครงงานนี้ขึ้นเพื่อจัดทําคูมือการใชโปรแกรมในรูปแบบภาษาไทย โดยมีวัตถุประสงค ใหผูสนใจสามารถเขาใจไดงาย สามารถใชโปรแกรมในการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางได และเกิดแรงจูงใจที่จะเรียนรู รวมทั้งสามารถพัฒนาทักษะของผูใช ทําใหการเรียนรูดานการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางมีประสิทธิภาพสูงสุด

1.2 วัตถุประสงค

1. เพื่อใชเปนคูมือในการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางดวยคอมพิวเตอร 2. เพื่อใชเปนอุปกรณในการสนับสนุนการเรียนการสอนวิชาวิศวกรรมการสองสวางใหทันสมัย และมีประสิทธิภาพ

3. เพื่อใหเกิดแรงจูงใจตอการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรใหเกิดประโยชนมากขึ้น 4. เพื่อใหผูสนใจมีโอกาสพัฒนาทักษะการใชโปรแกรมคอมพิวเตอร

Page 18: คู่มือการใช้ dialux

2

1.3 ขอบเขตของโครงงาน

1. ใชโปรแกรม DIALux เวอรชั่น 4.4 2. วิธีลง Plug – in ขอมูลโคมไฟฟา และตัวอยางการนํา Plug – in มาใชในโปรแกรม DIALux

เวอรชั่น4.4 3. คูมือจะมีวิธีการลงโปรแกรม DIALux เวอรชั่น 4.4 4. คูมือจะมีเนื้อหาในการใชโปรแกรม DIALux ออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางภายในอาคาร

เทานั้น 5. คูมือจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับอุปกรณตกแตงภายในหองจากโปรแกรม DIALux 6. คูมือจะมีตัวอยางการใชโปรแกรมเพื่อวางดวงโคมไฟฟาในลักษณะเปน พื้นที่, เสนตรง,

วงกลม และ ดวงโคมเดี่ยวเทานั้น 7. คูมือจะมีตัวอยางการใชโปรแกรมคํานวณและแสดงออกมาเปนไฟล PDF และไฟลวีดีโอ

เทานั้น 1.4 แผนการดําเนินงาน

1. ศึกษาหัวขอโครงงาน 2. ศึกษาการทํางานของโปรแกรม DIALux 3. กําหนดหัวขอภายในคูมือการใช โดยแบงออกเปน 5 สวนคือ

3.1 Chapter 1 การลงโปรแกรม (Installation) 3.2 Chapter 2 การใช DIALux Wizard

3.3 Chapter 3 เครื่องมือ (Tools) 3.4 Chapter 4 การแสดงผล (Output) 3.5 Chapter 5 ตัวอยางการสรางหอง (Example)

4. เลือกโปรแกรมในการจัดทําคูมือ 5. จัดทําคูมือการใช โดยเรียงลําดับการจัดทําดังนี้

5.1 Chapter 1 5.2 Chapter 2 5.3 Chapter 4 5.4 Chapter 5

5.5 Chapter3 6. ตรวจแกตนฉบับและแกไข 7. ต้ังชื่อหนังสอืและตกแตงความสวยงามภายในคูมือ 8. ศึกษาการจัดทําคูมือ

Page 19: คู่มือการใช้ dialux

3

9. ทําการประเมินคูมือ ตารางที่ 1.1 แผนการดําเนินงาน

1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1. สามารถออกแบบคูมือการออกแบบละคํานวณระบบไฟฟาแสงสวางดวยคอมพิวเตอรได 2. สามารถใชเปนอุปกรณสนับสนุนการเรียนการสอนวิชาวิศวกรรมการสองสวางใหทันสมัยและ

มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3. สามารถใชโปรแกรมคอมพิวเตอรออกแบบและคํานวณไฟฟาแสงสวางภายในอาคารได 4. สามารถจูงใจใหใชโปรแกรมคอมพิวเตอรใหเกิดประโยชนมากขึ้น 5. สามารถพัฒนาทักษะในการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรใหดียิ่งขึ้น

Page 20: คู่มือการใช้ dialux

4

บทที่ 2

ทฤษฏ ี

2.1 ทฤษฎี 2.1.1 ความหมายของการเขียน

การเขียนคือการแสดงความรู ความคิด ความรูสึกและความตองการของผูเขียน หรือที่เรียกเปน ภาษาวิชาการวาผู สงสารออกไปเปนลายลักษณอักษรเพื่อใหผู อานหรือผู รับสารสามารถอานเขาใจ รับทราบความรู ความคิด ความรูสึก และความตองการเหลานั้น 2.1.2 จุดมุงหมายของการเขียน

1. การเขียนเพื่ออธิบายความ ไดแกการเขียนที่ผูเขียนมุงอธิบายหรือชี้แจงใหผูอานไดมีความ เขาใจเรื่องที่ตองการจะสื่อไดงายขึ้น ดวยการอธิบายขยายความในเรื่องตางๆเชน หลักการ หรือความรูทั้งหลาย ตัวอยางของการเขียนที่มีจุดมุงหมายเพื่อการอธิบายความไดแก การอธิบายความหมายของคําศัพทที่มีใชในหนังสือ หรือบทความซึ่งเปนคําศัพทเฉพาะที่มีใชในหนังสือเศรษฐศาสตรวิศวกรรมเชน การอธิบายคําวาเศรษฐศาสตรวิศวกรรม ประสิทธิภาพเชิงฟสิกส วามีความหมายอยางไรกอนที่จะกลาว รายละเอียดตอไป

2. การเขียนเพื่อจูงใจ หมายถึงการเขียนที่ผูเขียนตองการใหขอเขียนนั้นโนมนําชักจูงใหผูอาน เกิดความเชื่อถือ เห็นดวยและปฏิบัติตามซึ่งอาจจะเปนสิ่งที่ถูกตองดีงามเชนการชักจูงที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตนใหสอดคลอง กับวัฒนธรรมองคกร หรือ ขอเขียนโฆษณาจูงใจ เชน โฆษณาของบรรดาพรรคการเมืองทั้งหลาย ที่เขียนขึ้นเพื่อตองการการสนับสนุนจากผูอาน

2.1.3 ประเภทของงานเขียน

งานเขียนทางวิชาการ เปนงานเขียนที่มีแบบแผนมีลักษณะเฉพาะของการเขียน ใชภาษาตรงไป ตรงมา เรียบงาย ไมเนนการใชสํานวนโวหาร มีการใชคําศัพทเฉพาะงานเขียนทางวิชาการ เชน ตํารา,รายงานการศึกษาคนควา, รายงานการวิจัย, งานแปล, บทความทางวิชาการ, เอกสารประกอบ การสอน เปนตน

Page 21: คู่มือการใช้ dialux

5

2.1.4 บทความทางวชิาการ (Technical papers)

1. ความหมายของบทความทางวิชาการ ไดแก รายงานผลการวิจัย ขอเสนอโครงการ ผลการ ศึกษาคนควา ในการที่จะเขียนบทความทางวิชาการนั้น ผูรูไดใหคําแนะนําไววาในเบื้องตนผูเขียนควรจะตองวางแผนกอนที่จะลงมือเขียน ขอบเขตหรือประเด็นที่ตองใหความสําคัญ ก็คือ การกําหนดหัวขอเรื่องใหชัดเจนพรอมกําหนดวัตถุประสงคของการเขียน วาตองการนําเสนออะไร ใครคือกลุมเปาหมายหรือผูอาน พรอมทั้งรางโครงรางของการนําเสนอ (Outline)

2. รูปแบบของการเขียนงานทางวิชาการ โดยวัตถุประสงคพื้นฐานของงานเขียนบทความทาง

วิชาการนั้น เพื่อเนนรายละเอียดทางวิชาการนั้นเพื่อเนนรายละเอียดทางวิชาการและการนําความรูไปใชประโยชน การเขียนจึงมีความจําเปนตองถูกตองตามหลักการตองมีการอางอิงถึงแหลงที่มาของขอมูล ในสวนของรูปแบบการเขียนก็มีมาตรฐานคือพิมพดวยกระดาษขนาด A4 และประกอบไปดวย

- หนาปก (Cover) - หนาชื่อเรื่อง (Title Page) - สารบัญ (Table of Contents) - รายการตาราง (Tables) - ภาพประกอบ (Illustration) - ภาคผนวก (Appendix)

3. สวนประกอบของบทความทางวิชาการ การเขียนบทความทางวิชาการนั้นโดยทั่วไปจะประ กอบดวยหัวขอตางๆคือ - ชื่อบทความ - ชื่อผูแตงและสถานที่ปฏิบัติงาน - ปที่เผยแพรบทความ - บทนํา ถือเปนสวนที่มีความสําคัญมาก เพราะบทนําที่ดีจะมีผลตอการจูงใจใหผูอาน มีความสนใจที่จะอานบทความโดยละเอียดตอไป การเขียนบทนําควรเขียนเพื่อ นําเสนอใหผูอานทราบขอบเขตเนื้อหาวิชาและวัตถุประสงคของบทความ โดยใช ภาษา ที่ถูกตองตามหลักภาษา และหากมีคําศัพทเฉพาะก็ตรวจสอบใหตรงกับที่ ใชในเนื้อเรื่อง - เนื้อเรือ่ง - ขออภิปราย หรือการอภิปรายผล คือสวนที่แสดงความคิดเชิงวิเคราะหของผูเขียน อาจมีการอางอิงขอมูลจากตาราง หรือแผนภูมิที่ผูเขียนไดจากการคนควาผลการ วิจัยมาประกอบในการอภิปราย

Page 22: คู่มือการใช้ dialux

6

- บทสรุป เปนบทลงทายของบทความที่ผูเขียนจะสรุปเนื้อเรื่องทั้งหมด พรอมทั้งต้ัง ประเด็นหรือหัวขอเพื่อการศึกษาตอเนื่อง หรือเพื่อเชื้อเชิญใหผูอานวิจารณ ซึ่งมี เปาหมายเพื่อการแลกเปลี่ยนและตอยอดองคความรูนั้นๆตอไป - การอางอิง การอางอิงในงานเขียนวิชาการมี 2 ประเภทคือ บรรณานุกรม (Bibiographic) และเชิงอรรถ (Footnotes) ขอแตกตางที่สําคัญของการอางอิง ทั้ง สองแบบนี้คือบรรณานุกรมเปนรายชื่อหนังสือ หรือบทความที่ผูเขียนศึกษาคนควา เพื่อใชประกอบในการเขียน โดยจะพิมพไวสวนทายตอจากบทสรุปของบทความ สวนเชิง อรรถ คือการอางอิงที่คัดลอก หรือยกขอความบางสวน คําพูดของนัก วิชาการ ศัพทบัญญัติ มาประกอบแลวพิมพที่มาขอขอมูลที่ใชที่ดานลางของหนา เดียวกัน เชิงอรรถอาจะเปนขอความอธิบายเพิ่มเพื่อใหผูอานเขาใจศัพทที่ผูเขียนเหน็ วาไมจําเปนตอง อธิบายในเนื้อความก็ได

2.1.5 ลักษณะของบทความทางวชิาการที่ด ี

1. ชื่อเรื่องสื่อความหมายถึงขอบเขตเนื้อหาของเรื่อง ก็คือชื่อเรื่องตองตรงกับเนื้อเรื่อง 2. จุดมุงหมายของบทความมีความชัดเจน และเนื้อหามีความสอดคลองมุงสูวัตถุประสงคที่

กําหนดไว 3. การลําดับเรื่องคํานึงถึงลําดับของเนื้อหาความรู จากความรูพื้นฐานไปสูความรูที่สูงขึ้น ไมได

เนนที่สํานวนหรือลีลาการเขียน 4. ใชศัพท และสํานวนที่เปนที่ยอมรับของแวดวงวิชาการและใชศัพทเดียวกันในความหมาย

เดียวกันตลอดเรื่อง 5. ระบุแหลงอางอิงที่ใชในการเขียนอยางครบถวน และถูกตอง ตามมาตรฐานของสถานที่ ที่

จะนําเสนอบทความ เพื่อประโยชนสําหรับผูอานที่ตองการจะไปศึกษาเพิ่มเติมตอไป

2.1.6 ขั้นตอนการทําหนังสือ

1. หลักการเหตุผลและแรงจูงใจในการทํา 2. เดินดูตลาด คือการมองหาหนังสือ สื่อ หรือสิ่งพิมพจากแหลงอื่นๆ และมองหาหนังสือ สื่อ หรือสิ่งพิมพในแนวที่เราจะทํา แลวดูวาสิ่งที่เราคิดมีความแตกตางจากที่มีในตลาดหรือไม มีไอเดียที่แตกตางจากหนังสือในตลาดหรือไม 3. วางเคาโครงหนังสือ

- ต้ังเปาหมายหรือจุดประสงคของหนังสือ สิ่งที่อยูในหนังสือ ทําขึ้นมาเพื่ออะไรผูอาน จะไดอะไรจากหนังสือเลมนี้

Page 23: คู่มือการใช้ dialux

7

- กําหนดรายการหัวขอเรื่องที่จะมีในหนังสือ และดูวาหัวขอที่กําหนดนั้น สนับสนุน จุดประสงคของหนังสือเลมนี้หรือไม

- วางลําดับเรื่องที่จะเขียน ซึ่งถาเปนหนังสือเกี่ยวกับวิชาการจะมีความสําคัญมาก - แบงเปนบท ใสชื่อบท และหัวขอของเนื้อหาที่จะมีในแตละบท

- ตรวจสอบหัวขอของเนื้อหาในแตละบทใหถี่ถวนจนพอใจ และเขาใจในส่ิงที่จะเขียน ลงในหนังสืออยางชัดเจน

4. หาขอมูลเพิ่มเติม ในสิ่งที่ยังไมรู ในสิ่งที่จะตองอธิบาย หรือเพื่อเปนหลักฐานสนับสนุน ความคิด 5. ลงมือเขียน

- เลือกรูปแบบการเขียน โดยบรรยายไปทีละเรื่องทีละบท - จัดเวลาในการเขียน

- ไมจําเปนตองเขียนจากหนาไปหลัง หรือเรียงไปตามลําดับ 6. เขียนหนังสือใหเปนเลม 7. ตรวจแกตนฉบับแรก - อานดวยตัวเอง และถามตัวเองวาพอใจในสิ่งที่เขียนหรือไม - ขัดเกลาเนื้อหา สวนไหนควรเพิม่สวนไหนควรตัด - ตรวจสอบความถูกตองของขอมลู โดยเฉพาะเรือ่งตัวเลข - ใหคนที่ไวใจชวยอานงานเขียนของเรา และพิจารณาคําเสนอแนะของเขา ถาคน อานไมมีความรูในหนังสือที่คุณเขียนแลวเขาอานเขาใจ แสดงวาเราทําสําเร็จ 8. ต้ังชื่อหนังสือ การตั้งชื่อหนังสือมีความสําคัญ ถาตั้งชื่อไมดี โอกาสที่คนอานจะผานไม

สนใจมีมาก ดังนั้นชื่อเรื่องจะตองต้ังใหกระชากใจคนอาน ถาเปนพวก HOW TO .. ควร ต้ังชื่อเรื่องที่คนอานรูสึกวาอานแลวจะทําไดอยางทันทีแนนอน ในเวลาที่ไมนานดวย

9. การวางรูปแบบหนาหนังสือ - หนาปก การจัดหนาภายใน - รูปภาพประกอบ - สี - ฯลฯ หนาปกไมควรใหฉูดฉาด รกรุงรัง ควรเอาแบบเรียบงาย เปนระเบียบไวกอน 2.1.7 ไมโครซอฟทเวิรด (Microsoft Word)

ไมโครซอฟท เวิรด เปนโปรแกรมที่นิยมในการประมวลผลคํา มีความสามารถในการจัดรูปแบบตัวอักษร ยอหนา ใสรูปภาพ จดหมายเวียน และอื่นๆอีกมากมาย สวนการนํามาใชใน

Page 24: คู่มือการใช้ dialux

8

โครงงานคือ การตั้งคาระยะขอบกระดาษ โดยในการจัดทําคูมือนี้ จะจัดทําหนากระดาษขนาด ½ A4 ในแนวนอน โดยมีการต้ังระยะขอบของกระดาษดังนี้

- เขาสูโปรแกรม Microsoft Word - คลิ๊กซายที่ File และคลิ๊กซายที่ Page Setup… ดังรูปที่ 2.1

รูปที่ 2.1 การตั้งคาระยะขอบกระดาษ

- ต้ังคาหนากระดาษดังนี้ Top : 1.5 cm Bottom : 1.5 cm Outside : 2 cm Inside : 1 cm - ปรบัหนากระดาษใหเปนแนวนอน - ปรบัหนากระดาษใหเปน 2 หนาตอแผน (2 pages per sheet) (รูปที่ 2.2)

รูปที่ 2.2 การต้ังหนากระดาษใหเปน 2 หนาตอแผน 2.1.8 โฟโตสเคป (PhotoScape)

PhotoScape คือโปรแกรม Freeware สําหรับตกแตงภาพที่มีการใชงานที่งายและมีเครื่องมือครบครัน สวนการนํามาใชในโครงงานคือ การใสตัวเลขลงในภาพเพื่อใชประกอบการอธิบาย

Page 25: คู่มือการใช้ dialux

9

- คลิ๊กซายที่ เพือ่แกไขรูปที่ทํามีอยู (รูปที่ 2.3)

รูปที่ 2.3 หนาตางเริ่มตนโปรแกรม Photoscape

รูปที่ 2.4 หนาตางโปรแกรม PhotoScape

Page 26: คู่มือการใช้ dialux

10

รูปที่ 2.5 เลือกรูปที่ตองการ

- เมื่อเลือกที่อยูของรูปไดแลว ใหคลิ๊กซายที่ภาพในชองแสดงตัวอยางรูป รูปจะขึ้นที่ หนาจอของโปรแกรม (รูปที่ 2.6) จากนั้นคลิ๊กซายแถบ Object ที่แถบเครื่องมือ (รูปที่ 2.6)

รูปที่ 2.6 แถบเครื่องมือของโปรแกรม Photoscape

- คลิ๊กซายที่เครือ่งหมาย และคลิ๊กซายที่ Number จะขึ้นหนาตางดังรูปที่ 2.7

รูปที่ 2.7 หนาตางรูปของโปรแกรม Photoscape

Page 27: คู่มือการใช้ dialux

11

- เลือกหมายเลขที่ตองการ และกดปุม หมายเลขที่เลือกจะถูกแสดง บนภาพ ซึ่งสามารถจัดวางไดอยางอิสระ โดยนําไปวางไวบริเวณภายนอกภาพ (รูปที่ 2.8)

รูปที่ 2.8 การตกแตงรูปที่ตองการ

- ใสลูกศรโดยคลิ๊กซายที่เครือ่งหมาย และตั้งคาสีและลักษณะของลูกศร (รูปที่ 2.9)

รูปที่ 2.9 การกําหนดลักษณะของเสน

- ทําการคลิ๊กซายคางที่ภาพและลากไป ทิศทางที่ลากจะเปนหัวลูกศร (รปูที่ 2.10)

Page 28: คู่มือการใช้ dialux

12

รูปที่ 2.10 แสดงภาพที่วาดเสนแลว

- กดปุม เพื่อเซฟภาพที่ตกแตงแลว (รูปที่ 2.11)

รูปที่ 2.11 เซฟภาพที่ตกแตงแลว

- ซึ่งหลังจากเซฟแลว โปรแกรม Photoscape จะทําการสรางโฟลเดอรที่ชื่อ Originals เพื่อทําการเก็บภาพตนแบบไวใชในคราวถัดไป (รูปที่ 2.12)

รูปที่ 2.12 Folder Originals

Page 29: คู่มือการใช้ dialux

13

2.1.9 ดวงโคมไฟฟา (Luminaire)

ดวงโคมไฟฟา คือ อุปกรณควบคุมการกระจายแสงสวางของหลอดไฟฟา และปองกันไมใหหลอดไฟฟาไดรับอันตรายจากภายนอก อาจจะรวมไปถึงอุปกรณประกอบระบบแสงสวางเชน บัลลาสต หลอดไฟฟา เปนตน ดวงโคมไฟฟาสามารถแยกประเภทไดตามลักษณะการพิจารณา ดังนี้ 1. พิจารณาตามลักษณะของการติดต้ังของดวงโคมไฟฟา

- ดวงโคมไฟฟาสําหรับติดต้ังแบบหอย หรอืแขวนจากเพดานลงมา

รูปที่ 2.13 ดวงโคมไฟฟาแบบหอย

- ดวงโคมไฟฟาสําหรับยึดติดกับเพดาน

รูปที่ 2.14 ดวงโคมไฟฟาสําหรับยึดติดเพดาน

- ดวงโคมไฟฟาสําหรับยึดติดเขาไปในเพดานหรอืฝา

รูปที่ 2.15 ดวงโคมไฟฟาสําหรับยึดติดเขาไปในเพดานหรอืฝา

Page 30: คู่มือการใช้ dialux

14

2. พิจารณาตามลักษณะของการนําไปใชงานของดวงโคมไฟฟา การติดต้ังดวงโคมไฟฟาจะตองใชใหถูกตองกับลักษณะของงาน และ บริเวณที่ทําการ

ติดต้ัง เชน บริเวณที่มีความเค็มของบรรยากาศมากๆ บริเวณที่มีสารเคมีไวไฟ หรือบริเวณโรงงานผลิตน้ํามัน เปนตน ดวงโคมไฟฟาที่นํามาติดต้ังจึงตองมีการปองกันเปนพิเศษดวย

3. พิจารณาตามลักษณะของหลอดไฟฟาทีใ่ชกับดวงโคมไฟฟา หลอดไฟฟาในปจจุบันมีรูปรางตางกันออกไป ทั้งรูปรางกลม ยาว หรือเปนลวดลายบาง

ชนิดกําลังไฟฟามาก จึงตองมีขนาดของหลอดไฟที่ยาวหรือโตขึ้นเชน หลอดฟลูออกเรสเซนต หรือหลอดใส หรือหลอดไฟฟาปลอยประจุความเขมสูง (HID) ตางๆ ลักษณะและขนาดของดวงโคมไฟฟาจึงขึ้นอยูกับชนิดของหลอดไฟฟาที่นําไปใชงาน ซึ่งหลอดไฟฟาตางชนิดกัน ก็จะไมสามารถใชกับดวงโคมไฟฟาที่ตางชนิดกันได

4. พิจารณาตามลักษณะของการกระจายแสงสวางของดวงโคมไฟฟา

มาตรฐานของ CIE และ IES ไดจัดแบงประเภทของดวงโคมไฟฟาออกตามเปอรเซนต ของการกระจายแสงสวางขึ้นดานบนของดวงโคมไฟฟา และการกระจายแสงสวางลงดานลางของดวงโคมไฟฟา ซึ่งพิจารณาจากกราฟการกระจายกําลังการสองสวางแลว สามารถแบงได 6 ประเภทดังนี้

Page 31: คู่มือการใช้ dialux

15

ตารางที่ 2.1 แสดงกราฟเปรียบเทียบการกระจายกําลังการสองสวางของแสงสวางของดวงโคมไฟฟาแตละประเภทของ CIE และ IES(ที่มา: Illumination Engineering. 1980 : 129 )

ประเภท

(Classification)

เปอรเซ็นตการกระจายแสงสวางขึ้นดานบน

( % Up Light)

เปอรเซ็นตการกระจายแสงสวางลงดานลาง ( % Down Light)

ชนิดของกราฟการกระจายกําลังสองสวาง

ของดวงโคม (Typical Candlepower

Distribution Curve) กระจายแสงสวางลงดานลาง (Direct)

0 – 10 %

90 – 100 %

กึ่งกระจายแสงสวางลงดานลาง (Semi – Direct)

10 – 30 %

60 – 90 %

กระจายแสงสวาง ขึ้น – ลง (Direct – indirect)

40 – 60 %

60 – 40 %

กระจายแสงสวางทุกทิศทาง (General difuse)

60 – 40 %

40 – 60 %

กึ่งกระจายแสงสวางขึ้นดานบน (Semi – indirect)

60 – 90 %

10 – 30 %

กระจายแสงสวางขึ้นดานบน (Indirect)

90 – 100 %

0 – 10 %

Page 32: คู่มือการใช้ dialux

16

2.1.10 ทฤษฎีพ้ืนฐานของแสง

แสงเปนเพียงสวนหนึ่งของคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ลอยผานชองวางอากาศ คลื่นเหลานี้มีทั้ความถี่และความยาวคลื่น ซึ่งเปนคาที่จะแยกแยะออกจากพลังงานรูปแบบอื่นบนแถบคลื่นแมเหล็กไฟฟา แสงจะถูกปลอยออกมาจากแหลงเนื่องจากปรากฏการณตอไปนี้

- การลุกโชติชวง ของแข็งและของเหลวจะปลอยพลังงานรังสีที่มองเห็นได เมื่อมันถูกทําใหรอน จนมีอุณหภูมิประมาณ 1000 K ความเขมของแสงจะเพิ่มขึ้น และแสงจะมีสีขาวมากขึ้นเมื่อมี อุณหภูมิเพิ่มขึ้น

- การปลอยประจุไฟฟา เมื่อกระแสไฟฟาเคลื่อนที่ผานกาซ ทั้งอะตอมและโมเลกุลจะปลอย พลังงานรังสีซึ่งมีคุณลักษณะของแถบคลื่นแมเหล็กไฟฟาตามสภาพที่ปรากฏออกมา - การเรืองแสงไฟฟา แสงจะถูกสรางขึ้นเมื่อมีกระแสไฟฟาไหลผานของแข็งบางชนิด เชน วัสดุกึ่งตัวนํา หรือสารเรืองแสง - การเรืองแสงของวัตถุเมื่อถูกแสงหรือรังสี โดยปกติแลวการแผรังสีที่มีความยาวคลื่นคาหนึ่ง จะถูกดูดซับโดยของแข็งแลวถูกปลอยออกมาโดยมีความยาวคลื่นที่ตางกัน เมื่อการแผรังสี ซ้ํานี้สามารถมองเห็นได ก็อาจถูกเรียกวา การเรืองแสงจากรังสีหรือการเรืองแสงอยาง ฟอสฟอรัส

แสงที่มองเห็นไดนี้ อาจเปนแบบแถบแมเหล็กไฟฟาดังรูปที่ 2.16 ซึ่งจะแสดงใหเห็นถึงแถบแคบๆ ระหวางแสงแถบสีมวง(UV)และพลังงานอินฟาเรด(ความรอน)คลื่นแสงเหลานี้สามารถกระตุนเยื่อเรตินาของตาไดซึ่งทําใหความรูสึกที่เรียกวาการมองเห็นได เพราะฉะนั้นการมองเห็นจึงตองอาศัยการทํางานของตาและแสงที่มองเห็นได

รูปที่ 2.16 คลืน่ความยาวแสงที่มองเหน็ได

Page 33: คู่มือการใช้ dialux

17

2.1.11 การออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางภายในอาคาร

จะตองพิจารณาถึงปริมาณของแสงสวางที่เหมาะสมกับสภาพของสถานที่นั้นๆ โดยที่ควรมีปริมาณแสงสวางไมมากไมนอยเกินไปและทําใหเกิดความรูสึกสบายตาในการมองวัตถุ โดยที่ความจาของแสงสวางกับสิ่งแวดลอมมีความกลมกลืนกัน ไมทําใหเกิดการแยงตาจากแสงสวางหรือจากดวงโคมไฟฟาโดยตรง ตลอดจนมีความปลอดภัยและเหมาะสม ผลของการติดต้ังระบบแสงสวางที่ดีและเหมาะสม คือ 1. ทําใหผูปฏิบัติงานทํางานไดรวดเร็วขึ้น 2. ทําใหงานที่บกพรองลดนอยลง 3. ทําใหขวัญและกําลังใจของพนักงานดีขึ้น 4. ทําใหระบบการทํางานของกลามเนื้อตาของพนังงานดีขึ้น 5. ทําใหอุบัติเหตุลดนอยลง 6. ประหยัดคาไฟฟาตอเดือน 7. ทําใหความเครียดอันเกิดจากการเพงสายตาเพราะแสงสวางไมเพียงพอลดนอยลง 8. ทําใหเปนที่ประทับใจของผูใชบรกิาร

ฯลฯ ในการออกแบบระบบแสงสวางนั้น แมวาการออกแบบจะถูกตองตามหลักการหรือมาตรฐานแลว

ก็ตาม แตความรูสึกของคนที่ทํางานอาจจะรูสึกไมสบายตา ซึ่งอาจเกิดจากความจาหรือการแยงตาของแสงสวางอันเนื่องมาจากวัตถุหรืออุปกรณตางๆในหองที่ไมเหมาะสมกลมกลืนกัน จึงตองแกไขปญหาที่เกิดขึ้นเหลานี้ โดยการควบคุมระดับความจาของแสงสวางไมใหแตกตางกันเกินไป โดยกําหนดชนิดและสีของวัสดุที่ใชทําพื้น เพดาน ผนัง ตลอดจนเฟอรนิเจอรที่จะใชติดต้ังอยูในหอง ใหมีความสามารถในการสะทอนแสงสวางไดอยางเหมาะสม โดยจะใชคาตามตารางดังนี้ ตารางที่ 2.2 แสดงคาความสามารถในการสะทอนแสงสวางของสวนตางๆในสํานักงานที่เหมาะสม (John E. Frier and Mary E. Gazley Frier. 1980 : 182)

บริเวณ การสะทอนแสงสวาง (%) เพดาน ผนัง พื้น

เครื่องใชสํานักงานอื่นๆ

80 – 90 40 – 60 20 – 40 25 - 45

Page 34: คู่มือการใช้ dialux

18

2.1.12 กฏของการสองสวาง 1. ปริมาณแหงการสองสวางของแสงสวางจะแปรผันตรงกับความเขมแหงการสองสวาง

ถาความเขมแหงการสองสวางมาก คากําลั่งสองสวางจะมากตามไปดวย เขียนเปนสมการไดวา

E α I

เมื่อ E = ปริมาณแหงการสองสวาง (กําลังสองสวาง) (ลักซ) I = ความเขมแหงการสองสวาง (ลูเมน)

2. กฏกําลังสองผกผัน (Inverse – Square Law) เปนกฏที่ทาํใหทราบวา คาความเขมแหงการสองสวางของแสงสวางที่ตกกระทบลงบน

พื้นที่หรือวัตถุ จะแปรผกผันกับกําลังสองของระยะทางจากแหลงกําเนิดแสงสวางถึงจุดที่รองรับแสงหรือจุดที่แสงสวางตกกระทบ

รูปที่ 2.17 กําลังสองผกผัน หรือสามารถเขยีนเปนสมการไดวา

Page 35: คู่มือการใช้ dialux

19

I α 1 / r2

เมื่อ r = ระยะทางจากแหลงกําเนิดแสงสวางถึงจุดหรือพื้นผิวของวัตถุที่รองรับแสง สวาง(เมตร) ถามีการเปลี่ยนแปลงระยะทางของวัตถุหรือจุดรองรับแสงสวาง โดยใหหางจากแหลงกําเนิดแสงสวางเดิม จะสามารถหาคาความเขมแหงการสองสวางใหมไดดังนี้

I1 / I2 = r22 / r12

เมื่อ I1 = ความเขมแสงแหงการสองสวางครั้งแรก I2 = ความเขมแหงการสองสวางครั้งหลัง r1 = ระยะทางจากแหลงกําเนดิแสงสวางถึงจุดรับแสงสวางครั้งแรก r2 = ระยะทางจากแหลงกําเนดิแสงสวางถึงจุดรับแสงสวางครั้งหลงั

3. กฎโคไซนของแลมเบิรต (Lambert’s Cosine Law) กฏโคไซนของแลมเบิรต กลาวไววา “ปริมาณแหงการสองสวางจะแปรผันไปตามคา

Cos ของมุมที่เปลี่ยนจากแนวตั้งฉาก หรือมมุที่เอียงไปจากแนวตั้งฉาก” ดังรูปที่ 2.18

มุม

ระยะหางที่เกิดจากจุดรับแสงทํามุม (D)

ระยะหางปกติ (r)

จุดรับแสงเริ่มแรก จุดรับแสงใหม

รูปที่ 2.18 กฏโคไซนของแลมเบิรต

หรือเขียนเปนสมการไดวา

E2 = E1 COSθ

Page 36: คู่มือการใช้ dialux

20

เมื่อ E1 = ปริมาณแหงการสองสวาง ณ จุดเริ่มแรก E2 = ปริมาณแหงการสองสวางเมื่อฉากเอียงออกไปรับแสงสวาง

θ = คาองศาของมุมที่เพิ่มจากแนวตั้งฉากเพื่อไปรับแสง

จาก E = I / r2

เพราะฉะนั้นจะไดวา E2 = I COSθ / D2

เมื่อ E = ปริมาณแหงการสองสวาง (ลักซ) I = ความเขมแหงการสองสวาง (ลูเมน) D = ระยะทางจากแหลงกําเนิดแสงสวางถึงจุดรับแสงที่ทํามุม θ (เมตร)

2.1.13 การจัดวางดวงโคมไฟฟา

การจัดวางตําแหนงดวงโคมไฟฟานั้นจะมุงเนนในเรื่องการนําไปใชงานเปนหลัก เพื่อทําใหเกิดความคลองตัวในการทํางานและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ซึ่งสามารถแบงวิธีการติดต้ังดวงโคมไฟฟาได 3 วิธี คือ 1. การติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบทั่วไป

การติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบทั่วไปจะพิจารณาถึงความสม่ําเสมอของแสงสวางที่สองไป ที่พื้นที่ใชงาน หรือพื้นหอง ใหมีความสวางทั่วหองอยางสม่ําเสมอเปนหลัก ซึ่งมักจะติดต้ังไวกอนที่จะรูตําแหนงที่แนนอนของการวางเครื่องจักร หรืออุปกรณอื่นๆการติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบทั่วไปสามารถใชกับหลอดไฟฟาไดทุกประเภทแลวแตความเหมาะสม โดยสวนใหญจะใชหลอดฟลูออเรสเซนต อาจจะติดเปนแถวตามยาวหรือตามความกวางของหองก็ได อาจจะมีผลตอความรูสึกในการมองเห็นวา หองนั้นกวางขึ้นหรือแคบลงแตยาวขึ้น เปนตน ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะของดวงโคมไฟฟาเชนกัน โดยมักจะเกิดกับดวงโคมไฟฟาที่มีลักษณะยาว เชนดวงโคมไฟฟาที่ใชกับหลอดฟลูออเรสเซนต การติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบทั่วไปแบงออกเปนสองประเภทคือ การติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบตอเนื่อง (รูปที่ 2.19) และ การติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบปกติ(รูปที่ 2.20)

Page 37: คู่มือการใช้ dialux

21

L

Y/*

จํานวน X ความยาวของดวงโคมไฟฟา Y

W

Y

Y/*

รูปที่ 2.19 การติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบตอเนื่อง

L

Y/2

X X X X X/2 X/2 Y

W

Y

Y/2

รูปที่ 2.20 การติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบปกติ

Page 38: คู่มือการใช้ dialux

22

เม่ือ W = ความกวางของพื้นที ่ L = ความยาวของพื้นที ่ X = ระยะหางระหวางดวงโคมในแนวระดับ

Y = ระยะหางระหวางดวงโคมในแนวตั้ง * = คานี้เปลี่ยนแปลงไดต้ังแต 1 – 3

จะเห็นวาการติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบตอเนื่อง(รูปที่ 2.19) ดวงโคมไฟฟาจะวางตอกัน โดยไมเวนชองวางระหวางดวงโคมไฟฟาในแนวระดับ แตจะเวนชองวางกอนถึงกําแพงทั้งจุดเริ่มตนและจุดสุดทายของแถว สวนในแนวตั้งจะเวนเปนระยะ Y และกอนถึงกําแพงจะเวนระยะไว ประมาณหนึ่งสวนสามของระยะ Y จนถึงระยะเทากับ Y ตามความเหมาะสม สวนการติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบทั่วไป(รูปที่ 2.20) จะเวนระยะระหวางดวงโคมไฟฟาโดยพิจารณาจากจุดกึ่งกลางของดวงโคมไฟฟาอันหนึ่งไปยังดวงโคมไฟฟาอันถัดไปเปนระยะ X และจะเวนชองวางกอนถึงกําแพง ทั้งจุดเริ่มตนและจุดสุดทายของแถว เปนระยะครึ่งนึงของระยะ X สวนในแนวตั้ง จะเวนเปนระยะ Y และกอนถึงกําแพงจะเวนระยะไว ครึ่งนึงของระยะ Y

การติดต้ังในลักษณะดังกลาวจะทําใหไดแสงสวางที่สม่ําเสมอซึ่งเปนไปตามขอกําหนด ที่นิยมใชกันอยูทั่วๆไป

2. การติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบเฉพาะบริเวณ จะเกิดขึ้นในหนวยงานที่มีการทํางานหลายๆอยางในบริเวณเดียวกัน โดยจะตองมี

บริเวณที่กวางพอสมควร ถาติดต้ังดวงโคมไมเหมาะสม อาจจะทําใหเกิดแสงสวางแยงตาหรือรบกวนผูปฏิบัติงานที่อยูใกลเคียงได การออกแบบลักษณะนี้จึงตองระมัดระวังเปนพิเศษ และเลือกใชดวงโคมไฟฟาใหเหมาะสม 3. การติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบเฉพาะจุด

จะติดต้ังหลังจากการติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบทั่วไปเรียบรอยแลว และรูตําแหนงที่แน นอนของโตะทํางานหรืออุปกรณอื่นๆ ซึ่งมักจะติดต้ังเพื่อเสริมความสวางเฉพาะจุดใดจุดหนึ่ง เชนบนโตะเขียนแบบ ปายโฆษณาสินคา หรือชิ้นงานแสดง เปนตน ซึ่งจะตองระมัดระวังในเรื่องของแสงสวางที่จะไปแยงตาบุคคลที่อยูบริเวณใกลเคียงและตองสัมพันธกับการติดต้ังระบบอื่นๆดวย 2.1.14 องคประกอบทีท่าํใหความสวางภายในหองลดลง

1. คาความเสื่อมสภาพของหลอดไฟฟา (LLD) การหาคาความเสื่อมสภาพของหลอดไฟฟา สามารถหาไดจากคูมือของหลอดไฟฟาที่

โรงงานผูผลิตกําหนดไว โดยพิจารณาจากคาปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางเฉลี่ย (Mean Lumen Output) หารดวยคาปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางเริ่มแรก (Initial Lumen Output)

Page 39: คู่มือการใช้ dialux

23

เขียนเปนสมการคือ

LLD = Mean Lumen Output / Initial Lumen Output

2. คาความเสื่อมสภาพจากความสกปรกของดวงโคมไฟฟา (LDD) การหาคาความเสื่อมสภาพจากความสกปรกของดวงโคมไฟฟานั้น สามารถจําแนก

ดวงโคมไฟฟาออกเปนชนิดตางๆได 6 ประเภทใหญๆ ซึ่งขึ้นอยูกับความยากงาย ชาหรือเร็วในการสะสมฝุนละออกของดวงโคมไฟฟา และ ระยะเวลาในการทําความสะอาดดังตารางที่กําหนดใหทั้ง 6 ประเภท ของกราฟแสดงคาความเสื่อมสภาพของดวงโคมไฟฟาประเภทตางๆ (John E. Kaufman. 1981 : 9-5)

3. คาความเสื่อมสภาพของแสงสวางจากพื้นผิวหองสกปรก (RSDD)

การหาคาความเสื่อมสภาพของแสงสวางจากพื้นผิวหองสกปรก จะพิจารณาจากขนาด สวนตางๆของหอง เชน ความกวาง ความยาว และความสูงของหอง ซึ่งจะไดคาอัตราสวนโพรงหอง(RCR) และพิจารณาถึงสถานที่ที่ตองการออกแบบดวยวามีบรรยากาศอยางไร จะตองทําความสะอาดบอยแคไหน ซึ่งเปนความสกปรกจากฝุนละออง ตลอดจนประเภทของดวงโคมไฟฟาที่จะใชจัดอยูในประเภทใด เมื่อรูคาตางๆที่กลาวมา ก็จะนําไปหาคาที่ตองการไดจากกราฟแสดงตารางการหาคาเปอรเซ็นตความสกปรกตามคาดหวังของความสกปรกของพื้นผิวหอง(Percent Expected Dirt) ในกราฟแสดงเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังของพื้นผิวสกปรก (John E. Kaufman. 1981 : 9-46) และ ตารางแสดงคาประกอบความเสื่อมสภาพของแสงสวางจากพื้นผิวหองสกปรก (John E. Kaufman. 1981 : 9-6) 4. คาตัวประกอบหลอดไฟฟาเสีย (Lamp Burn Out : LBO) การหาคาตัวประกอบหลอดไฟฟาเสียพิจาณาไดจากอัตราสวนของหลอดไฟฟาที่ยังคงทํางานอยูกับหลอดไฟฟาทั้งหมดที่ติดต้ัง เขียนเปนสูตรไดดังนี้

LBO = จํานวนหลอดไฟฟาที่ยังคงทํางาน / จํานวนหลอดไฟฟาทั้งหมดที่ติดต้ัง 5. ตัวประกอบการบํารุงรักษา (Maintenant factor : MF) ตัวประกอบการบํารุงรักษา คือคาความเสื่อมของการกระจายแสงของดวงโคมไฟฟา ซึ่งเกิดจากความเสื่อมของหลอดไฟตามอายุการใชงานความสกปรกของหลอดไฟ และโคมไฟเนื่องจากฝุนละออง ซึ่งขึ้นอยูกับความสะอาดของบรรยาศในแตละสถานที่และความถี่ในการทําความสะอาด โดยปกติบริษัทผูผลิตโคมไฟจะระบุคา MF ของโคมไฟแตละชนิด โดยกําหนดคา MF เปน 3 คาตามลักษณะการบํารุงรักษา ไดแก การบํารุงรักษาดี ปานกลาง และต่ํา ในกรณีที่ไมทราบคาตัวประกอบการบํารุงรักษาสามารถพิจารณาไดจากผลคูณของ LDD กับ LLD เขียนเปนสูตรไดดังนี้

Page 40: คู่มือการใช้ dialux

24

MF = LDD x LLD 2.1.15 การแบงสวนโพรงหอง (Zonal Cavity Method)

เปนการคํานวณโดยการแบงสัดสวนของพื้นที่หองออกเปนสวนทั้งหมด 3 สวนดังรูป

ดวงโคมไฟฟา ระดับดวงโคม

hcc โพรงเพดาน

ความสูงดวงโคม เหนือพืน้งาน

ความสูง เพดาน

โพรงหอง hrc

พื้นที่ทํางาน

hfc โพรงพื้น

พื้น

รูปที่ 2.21 การแบงสัดสวนของโพรงหอง

จากรูป สวนแรกเรียกวา โพรงเพดาน (Ceiling Cavity) ซึ่งหมายถึง บริเวณนับต้ังแตเพดานลงมาถึงระดับของดวงโคมไฟฟา ความสูงระยะนี้เรียกวา ความสูงของโพรงเพดาน (Ceiling Cavity Height : hcc )

สวนที่สองเรียกวา โพรงหอง (Room Cavity) ซึ่งหมายถึงบริเวณจากระดับของดวงโคมไฟฟาลงไปถึงระดับพื้นงาน เรียกความสูงของระยะนี้วา ความสูงของโพรงหอง (Room Cavity Height : hrc )

สวนที่สามเรียกวาโพรงพื้น (Floor Cavity) ซึ่งหมายถึงบริเวณจากระดับพื้นงานลงมาถึงระดับพื้นหอง เรียกความสูงของระยะนี้วา ความสูงของโพรงพื้น (Floor Cavity Height : hfc )

2.1.16 อตัราสวนโพรง (Cavity Ratio)

อัตราสวนโพรงคือการพิจารณาเปนอัตราสวนระหวางพื้นที่ที่อยูในแนวดิง่ของหอง ซึ่งหมายถึง ผนังหองทั้งสี่ดานตอพื้นที่ในแนวระดับ, เพดานและพื้นรวมกันคาอัตราสวนโพรงมอียูสามคาคือ

Page 41: คู่มือการใช้ dialux

25

1. คาอัตราสวนโพรงเพดาน (Ceiling Cavity Ratio : CCR) 2. อัตราสวนโพรงหอง (Room Cavity Ratio : RCR) 3. อัตราสวนโพรงพืน้ (Floor Cavity Ratio : FCR) เมื่อกําหนดให W = ความกวางของพื้นที่ที่ตองการหาปริมาณแหงการสองสวาง(m)

L = ความยาวของพื้นที่ที่ตองการหาปริมาณแหงการสองสวาง(m) คาอัตราสวนโพรงแตละคาจะคํานวณจากความสูงของโพรง (Cavity Height) แตละคาที่

ความสัมพันธกันดังสูตรตอไปนี้

อัตราสวนโพรงเพดาน (CCR) = 5 hcc [ (W+L) / (W× L) ]

อัตราสวนโพรงหอง (RCR) = 5 hrc [ (W+L) / (W× L) ]

อัตราสวนโพรงพื้น (FCR) = 5 hfc [ (W+L) / (W× L) ]

จะเห็นวาทุกสมการมีคาที่เทากันคือ 5 [ (W+L) / (W× L) ] ถาใหคา K = 5 [ (W+L) / (W× L) ]

จะไดวา RCR = K × hrc หรือ K = RCR / hrc

CCR = K × hcc หรือ K = CCR / hcc

FCR = K × hfc หรือ K = FCR / hfc

เพราะฉะนั้นจะได RCR / hrc = CCR / hcc = FCR / hfc = K

2.1.17 สัมประสิทธิ์การใชประโยชน (Coefficient of Utilization : CU) การหาคาสัมประสิทธิ์การใชประโยช สามารถหาคาไดจากตารางที่กําหนดใหของโรงงานผูผลิตดวงโคมไฟฟานั้นๆ ขั้นตอนในการหาคา CU นี้จะไดมาจากการหาคา CCR, RCR, FCR, , , และชนิดของดวงโคมไฟฟากอน จึงจะนําไปประกอบการเปดตารางหาคา CU ของดวงโคมไฟฟาชนิดตางๆ ที่บริษัทผูผลิตไดจัดทําขึ้นซึ่งมีลักษณะแตกตางกันตามลักษณะดวงโคมไฟฟาและตามลักษณะการใชงาน ดังตารางสัมประสิทธิ์การใชประโยชนของดวงโคมชนิดตางๆ (John E. Kaufman. 1981 : 9-31)

Page 42: คู่มือการใช้ dialux

26

2.1.18 วิธกีารของหลักการสอดแทรก (Principle of Interpolation) วิธีการของหลักการสอดแทรก หมายถึงการหาคาตางๆที่อยูระหวางคาหนึ่งกับอีกคาหนึ่ง หรือคาที่อยูระหวางคาตารางหนึ่งกับคาอีกตารางหนึ่ง เพื่อใหไดคาที่ถูกตอง 2.1.19 วธิคีํานวณหาปริมาณแหงการสองสวางโดยวิธีการหาปรมิาณจํานวนเสนแรงของแสงสวาง (Lumen Method) วิธีคํานวณหาปริมาณแหงการสองสวางโดยวิธีการหาคาปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวาง คือการพิจารณาปริมาณแสงสวางที่ออกจากดวงโคมไฟฟาที่จะกระจัดกระจายลงไปทั่วพื้นที่งาน และคาระดับความสวางที่คํานวณออกมาไดจะเปนคาเฉล่ียตอพื้นที่ การคํานวณโดยพิจารณาจากนิยามไดวา

E = l / A เม่ือ E = ปริมาณแหงการสองสวาง (ลักซ) l = ปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางที่ออกจากดวงโคมไฟฟาหรือ

หลอดไฟฟา (ลูเมน) A = พื้นที่ที่ตองการปริมาณแสงสวาง (W x L : ตารางเมตร) ในทางปฏิบัติ แสงสวางจะกระจัดกระจายทั่วทั้งหอง และมีบางสวนสะทอนแสงสวางกลับคืนออกมาและบางสวนก็จะถูกกลืนหายไปในพื้นผิว การที่แสงสวางจะสะทอนแสงสวางออกมามากหรือนอยขึ้นอยูกับ ความกวาง ความยาว ความสูงของหอง ตลอดจนความสามารถในการสะทอนแสงสวางของพื้นหอง เพดาน และผนังหองดวย ดังนั้น คาปริมาณแหงการสองสวาง จึงจะตองคูณดวยคาที่เรียกวาคาสัมประสิทธิ์การใชประโยชน (CU) ซึ่งเปนคาที่บอกใหรูวา แสงสวางที่ออกมาจากดวงโคมไฟฟาจะไปตกลงบนพื้นงานจริงๆเทาใด เขียนสูตรใหมไดดังนี้

E = (l x CU) / A เม่ือ CU = สัมประสิทธิ์การใชประโยชน เมื่อมีการใชหลอดไฟฟาไปเรื่อยๆเปนเวลานานๆ แสงสวางที่เปลงออกมาจากหลอดไฟฟาก็จะคอยๆลดลงเรื่อยๆ คานี้เรียกวาคาความเสื่อมสภาพของหลอดไฟฟา (LLD) อีกทั้งดวงโคมไฟฟาจะเริ่มมีการสะสมฝุนละอองมากขึ้นเรื่อยๆในดวงโคมไฟฟา จะทําใหความสามารถในการสะทอนแสงสวางนอย ลงเรื่อยๆ ซึ่งดวงโคมไฟฟาแตละชนิดจะมีอัตราการสะสมฝุนละอองแตกตางกัน คานี้เรียกวา คาความ

Page 43: คู่มือการใช้ dialux

27

เสื่อมสภาพจากความสกปรกของดวงโคมไฟฟา (LDD) ดังนั้นถาเราตองใหแสงสวางเวลาใชงานคงที่ไวในระดับที่ตองการตลอดไป จะตองเผื่อคาของทั้งสองอยางนี้เขาไปดวย ซึ่งจะเขียนสมการใหมไดดังนี้

E = (l x CU x LLD x LDD) / A หรือ E = (l x CU x MF) / A

เม่ือ LLD = คาความเสื่อมสภาพของหลอดไฟฟา LDD = คาความเสื่อมสภาพจากความสกปรกของดวงโคมไฟฟา MF = ตัวประกอบการบํารุงรักษา (LLD x LDD) ไมวาหองนั้นจะมีการใชงานหรือไมมีการใชงานก็ตาม ก็จะมีการสะสมฝุนละอองเกาะตามพื้นหอง ผนังหอง เพดานหอง และสวนอื่นๆที่อยูภายในหอง ซึ่งทําใหความสามารถในการสะทอนแสงสวางของสวนตางๆของหองลดนอยลงไป จะมากหรือนอย ชาหรือเร็วขึ้นอยูกับขนาดของสวนตางๆของหอง เชนความกวาง ความยาว ความสูงของหอง บรรยากาศของสถานที่ที่ติดต้ัง ตลอดจนระยะเวลาที่ทําความสะอาดและประเภทของดวงโคมไฟฟาที่ใชติดต้ัง ความสกปรกอันเนื่องจากฝุนละอองในหองนี้เรียกวา คาความเสื่อมสภาพจากพื้นผิวหองสกปรก (Room Surface Dirt Depreciation : RSDD) ดังนั้นถาตองการใหแสงสวางที่ใชงานคงระดับที่ตองการตลอดไปจะตองเผื่อคาความเสื่อมนี้เขาไปดวย จึงเขียนเปนสูตรใหมไดดังนี้

E = (l x CU x MF x RSDD) / A เม่ือ RSDD = คาความเสื่อมสภาพจากพื้นผิวหองสกปรก เมื่อใชหลอดไฟฟาถูกใชไปเรื่อยๆ จะมีหลอดไฟฟาจํานวนหนึ่งดับกอนซึ่งอาจจะเปนจํานวนนอยหรืออาจจะตองรอการเปลี่ยนหลอดไฟฟาใหมมาใสเขาไปแทนที่ ในชวงเวลาดังกลาวจะทําใหปริมาณแสงสวางภายในหองลดลง คาการดับของหลอดไฟฟาจํานวนหนึ่งนี้หลังจากการใชงานไปแลว เรียกวาคาตัวประกอบหลอดเสีย (Lamp Burn Out : LBO) ดังนั้น ถาตองการใหแสงสวางที่ใชงานอยูในระดับที่ตองการตลอดไป จะตองเผ่ือคาตัวประกอบหลอดไฟฟาเสียเขาไปดวย จึงเขียนเปนสูตรใหมไดดังนี้

E = (l x CU x MF x RSDD x LBO) / A เม่ือ LBO = คาตัวประกอบหลอดเสีย ถาจัดรูปสมการใหมเพื่อหาปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางทั้งหมดไดดังนี้

Page 44: คู่มือการใช้ dialux

28

Ltotal = (E x A) / (CU x LLD x LDD x RSDD x LBO)

เม่ือ Ltotal = คาปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางทั้งหมดที่ตองการ เมื่อพิจารณาเพื่อหาจํานวนดวงโคมไฟฟาที่จําเปนตองใชงานทั้งหมดเพื่อใหมีคาความสองสวางภายในหองเปนไปตามคาที่ตองการ สามารถคํานวณไดจากสูตรตอไปนี้

N = Ltotal / l เม่ือ N = จํานวนดวงโคมไฟฟา l = ปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางตอหนึ่งดวงโคมไฟฟา

Page 45: คู่มือการใช้ dialux

29

บทที่ 3

หลักการ แนวคิด และการออกแบบโครงงาน

3.1 หลักการและแนวคิด

แนวคิดสําคัญที่จัดทําคูมือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวาง DIALUX คือ ในปจจุบันนี้ การเรียนการสอนรายวิชา Illumination Engineering ซึ่งวาดวยแหลงกําเนิดแสง แสงและสี ดวงโคมไฟฟา การสองสวางมูลฐาน การคํานวณวิธีลูเมน รวมไปถึงการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางภายในอาคาร โดยในการเรียนการสอนแตเดิมนั้น ไมสามารถใหผูเรียนไดนําความรูที่ไดจากการศึกษาทฤษฎี มาทําการปฏิบัติการเพื่อออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางภายในอาคารไดจริง ทําใหไมสามารถมองเห็นภาพของการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางได

โปรแกรม DIALUX เปนโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวาง ซึ่งสามารถจําลองลักษณะหอง การวางดวงโคม การวางเฟอรนิเจอร รวมไปถึงการกําหนดวัสดุภายในหองที่ทําการจําลองในรูปแบบสามมิติ ซึ่งโปรแกรมจะทําการคํานวณคาความสองสวางจากคาตางๆที่ผูใชโปรแกรมกําหนดไว และแสดงผลการคํานวณจากการกําหนดคาตางๆภายในหอง ใหผูใชโปรแกรมไดเห็นลักษณะของหองที่ตนเองไดออกแบบไดอยางชัดเจน ซึ่งจะทําใหการศึกษาวิชาIllumination Engineering มีประสิทธิภาพ และทําใหเกิดแรงจูงใจที่จะเรียนรู รวมทั้งพัฒนาทักษะดานการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางใหสูงยิ่งขึ้น

อีกทั้งในปจจุบันนี้ คูมือการใชโปรแกรม DIALUX นั้นมีแตในรูปแบบภาษาอังกฤษเทานั้น ทําใหผูที่ตองการศึกษา แตความสามารถทางภาษาอังกฤษไมดีพอ ไมมีความสนใจที่จะเรียนรูการใชโปรแกรม DIALUX โครงงานนี้จึงไดจัดทําคูมือการใชโปรแกรม DIALUX ในรูปแบบภาษาไทย เพื่อใหผูที่ตองการศึกษาเกิดความสนใจที่จะเรียนรูการใชโปรแกรม DIALUX และสามารถใชโปรแกรม DIALUX เพื่อพัฒนาทักษะการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางใหสูงยิ่งขึ้น

ในการจัดทําคูมือการใชโปรแกรม DIALUX ผูจัดทําเลือกที่จะจัดทําคูมือในขนาด ½ A4 เนื่องจากในปจจุบันนี้ หนังสือคูมือตางๆจะจัดทําหนังสือในขนาด ½ A4 เปนสวนใหญ เพราะขนาดที่สะดวกตอการพกพา และใชอาน ทําใหสามารถถืออานและปฏิบัติตามคูมือไดสะดวกยิ่งขึ้น 3.2 ขั้นตอนในการออกแบบโครงงาน

จะตองมีการลําดับขั้นตอนการเตรียมการเพื่อนํามาจัดทําเปนคูมือดังนี ้

Page 46: คู่มือการใช้ dialux

30

เริ่มตน

ศึกษาการทํางานของโปรแกรม DIALux

กําหนดหัวขอของเนื้อหาที่จัดทําคูมือ

เลือกโปรแกรมที่ตองนํามาใชในการทําคูมือ

จัดทําเนื้อหาคูมือ ตามหัวขอที่กําหนด

YES

NO ตรวจแก ตนฉบับแรก

ทําการ แกไข

ต้ังชื่อหนังสอืและ ตกแตงความสวยงาม

จัดทําคูมือ

ประเมินคูมือ

จบการทําโครงงาน

รูปที่ 3.1 Flow chart ขั้นตอนดําเนินงานการจัดทําหนังสือคูมือการใชโปรแกรม DIALux

Page 47: คู่มือการใช้ dialux

31

3.3 ศึกษาการทํางานของโปรแกรม DIALux

DIALux คือโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวาง ซึ่งสามารถจําลองหองลักษณะตางๆ การจัดวางเฟอรนิเจอรภายในหอง กําหนดวัสดุของพ้ืนผิวตางๆภายในหอง รวมไปถึงการวางของดวงโคมไฟฟา โดยโปรแกรม DIALUX สามารถคํานวณระบบไฟฟาแสงสวางของหองที่ทําการจําลอง และแสดงผลลักษณะหองในรูปแบบของสามมิติ ในรูปแบบไฟล PDF และรูปแบบไฟล Video จะได Flow chart ขั้นตอนการใชโปรแกรม DIALux

เริ่มตน

ลงโปรแกรม DIALux Version 4.4

ลง Plug – In เปดโปรแกรม

DIALux

กําหนดรายละเอียด ของโครงงาน

สรางหอง

เลือกดวงโคมไฟฟา

จัดวางดวงโคมไฟฟา

Page 48: คู่มือการใช้ dialux

32

กําหนดพื้นผิวภายในหอง

วางตําแหนง หนาตางและประตู

กําหนดพื้นผิว หนาตางและประตู

จัดวางเฟอรนิเจอร

กําหนดพื้นผิวเฟอรนิเจอร

แสดงผล ภาพสามมิติ

กําหนดคาการแสดงผลเอกสาร PDF

กําหนดเสนทางการบันทึกภาพ

สรางเอกสาร PDF สรางไฟล Video

จบการทํางาน

คํานวณโดยโปรแกรม

รูปที่ 3.2 Flowchart ขั้นตอนการใชโปรแกรม DIALux

Page 49: คู่มือการใช้ dialux

33

แบงไดเปน 5 ขั้นตอนหลัก คือ - สรางหอง - ดวงโคมไฟฟา - ประตูหนาตาง - เฟอรนิเจอร - คํานวณและแสดงผล

จึงนําการแบงกลุมนี้ มาจัดเปนหัวขอของเนื้อหาในการจดัทําคูมือตอไป 3.4 กําหนดหัวขอของเนื้อหาที่จัดทําเปนคูมือ หัวขอที่จะจัดทําจะครอบคลุมการอธิบายการใชโปรแกรม DIALUX เพื่อใหผูใชสามารถเรียนรู ฝกหัด พัฒนาทักษะในการใชโปรแกรม DIALUX เพื่อออกแบบหองลักษณะตางๆ จนกระทั่งใชโปรแกรมใหสามารถคํานวณคาความสองสวางออกมาได ซึ่งหัวขอที่จัดทํามีดังตอไปนี้ บทที่ 1 การลงโปรแกรม (Installation)

- การลง โปรแกรม DIALUX เวอรชั่น 4.4 - การลง Plug – in ของโปรแกรม DIALUX

บทที่ 2 การออกแบบภายในอาคารดวย DIALux Wizard - การใช DIALux Light Wizard ในการคํานวณอยางงาย - การสรางหองโดย Arched Room Wizard - การสรางหองโดย L - Shaped Room Wizard - การสรางหองโดย Polygonal Room Wizard - การสรางหองโดย Rectangular Room Wizard

บทที่ 3 แถบเครื่องมือ (Toolbars) - File - Edit - CAD - Pick - Paste - Luminaire Selection - Output - Window - Online - ? (etc)

Page 50: คู่มือการใช้ dialux

34

บทที่ 4 การแสดงผล (Output) - การใชโปรแกรม DIALUX เพื่อคํานวณคาความสองสวางภายในหอง - การแสดงผลการคํานวณในรูปแบบเอกสาร - การสรางไฟลวีดีโอ

บทที่ 5 ตัวอยางการสรางหอง (Example) 3.5 เลือกโปรแกรมที่นํามาใชในการจัดทําคูมือ 1. Microsoft Word เปนโปรแกรมที่นิยมในการประมวลผลคํา มีความสามารถจัดรูปแบบตัวอักษร ยอหนา ใสรูปภาพ จดหมายเวียน รวมไปถึงการพิมพเอกสาร สื่อสิ่งพิมพตางๆได ซึ่งทําใหสะดวกตอการจัดทําโครงงาน

2. PhotoScape เปนโปรแกรม Freeware สําหรับแตงภาพที่มีการใชงานที่งายและมีเครื่องมือในการตกแตงครบครัน ซึ่งจะใชในการตกแตงภาพที่ใชประกอบการอธิบายการใชงานโปรแกรม DIALux ภายในคูมือที่จัดทํา 3. Adobe Photoshop 7.0 เปนโปรแกรมสําหรับสรางและแกไขรูปภาพโดยเฉพาะนักออกแบบในทุกวงการยอมรูจักโปรแกรมนี้ดี เปนโปรแกรมที่มีเครื่องมือเพื่อสนับสนุนการสรางงานประเภทสิ่งพิมพ งามวิดีทัศน งานนําเสนอ งานมัลติมีเดีย ตลอดจนงานออกแบบและพัฒนาเว็ปไซต 3.6 หลักในการเลือกใชโปรแกรมที่นํามาใชในการจัดทําคูมือ

จุดประสงคในการทําคูมือการใชโปรแกรม DIALUX นั้น เพื่อตองการใหผูที่ตองการเริ่มตนศึกษาการใชโปรแกรม DIALUX ใชงานไดงาย และมีความสนใจที่จะพัฒนาทักษะการใชโปรแกรมของตนใหสูงยิ่งขึ้น ซึ่งคูมือจะตองมีรูปแบบการนําเสนอที่นาสนใจและงายตอการศึกษา และทดลองปฏิบัติ ฉะนั้นการเลือกใชโปรแกรมที่นํามาใชในการจัดทําคูมือ โปรแกรมนั้นๆจะตองมีคุณสมบัติดังนี้ 1. มีฟงกชั่นการทํางานครอบคลุมลักษณะของโครงงาน

Microsoft Word มีฟงกชั่นในการกําหนดลักษณะหนากระดาษ ขนาดของกระดาษ ตัวอักษร ยอหนา การใสรูปภาพ รวมไปถึงการจัดทําสื่อสิ่งพิมพ

PhotoScape มีฟงกชั่นที่สามารถตกแตงภาพเพื่อใชในการประกอบ การอธิบายการใชงานโปรแกรมภายในคูมือ ไดอยางรวดเร็วและไมยุงยาก

Page 51: คู่มือการใช้ dialux

35

Photoshop มีฟงกชั่นการตกแตงภาพที่มากกวา PhotoScape แตก็มีความยุงยากในการใชงานมากกวาเชนกัน ถาหากตองการใชงานในฟงกชั่นของ PhotoScape สิ่งที่ตองการจากโปรแกรมนี้จึงเปนฟงกชั่นการทํางานที่หลากหลายกวา PhotoScape 2. มีความสะดวกในการใชงาน

Microsoft Word เปนโปรแกรมที่มีความสะดวกในการจัดทําสื่อสิ่งพิมพ หรือ เอกสาร PhotoScape มีความสะดวกตอการตกแตงภาพที่ใชประกอบการอธิบายภายในคูมืออยางรวด

เร็ว อีกทั้งยังเปนโปรแกรม Freeware และมีขนาดโปรแกรมที่เล็กดวย Photoshop ฟงกชั่นอื่นๆที่ PhotoScape ไมสามารถทําได สามารถทดแทนโดยการใช

Photoshop ทําใหขีดจํากัดในการตกแตงภาพมีความหลากหลายขึ้น 3. สามารถตกแตงความสวยงามได

Microsoft Word มีฟงกชั่นการใสรูปภาพประกอบเนื้อหา รวมถึงการปรับขนาดของภาพใหมีความเหมาะสมกับหนากระดาษ (½ A4) ทําใหสามารถเพิ่มความสวยงามใหกับหนากระดาษได โดยนําภาพจากการตกแตงดวยโปรแกรม Photoscape และ Photoshop มาใสในหนากระดาษ 3.7 ตรวจแกตนฉบับแรก

ในการทําเอกสารใดๆก็ตาม จะตองมีการตรวจสอบความถูกตองในการใชตัวอักษรของเนื้อหาภายในเอกสารนั้นๆกอนที่จะทําการเผยแพรออกไป เพราะหากเกิดความผิดพลาดขึ้นมาแลว วิธีแกไขมีทางเดียวคือ ตองพิมพใหมทั้งหมด ซึ่งหมายถึงจะตองเพิ่มตนทุนและสิ้นเปลืองวัตถุดิบเพิ่มดวย และ เปนสิ่งที่บอกถึงคุณภาพงานนั้นๆได ซึ่งมีผลตอความนาเชื่อถือที่ผูอานมีตอผูเผยแพร โดยพิจารณาตามหลักดังนี้

- ความถูกตองในการใชคําอธิบาย เชน ตัวสะกด พยัญชนะของคํา ฯลฯ - ความสัมพันธระหวางรูปประกอบ กับ คําอธิบาย - การจัดเรียงเนื้อหาในหนากระดาษ

3.8 ต้ังชื่อหนังสือและตกแตงความสวยงาม

ชื่อของหนังสือ เปนสวนที่สําคัญสวนหนึ่ง เพราะเปนสิ่งดึงดูดความสนใจของผูอาน ถาหากชื่อหนังสือไมนาดึงดูดใจ จะสงผลตอความรูสึกอยากอานของผูอานอยางมากทีเดียวโดยตั้งชื่อวา“ ออกแบบ ระบบไฟฟาแสงสวางภายในอาคารดวย ....DIALux version 4.4 ”

Page 52: คู่มือการใช้ dialux

36

ความสวยงามของหนังสือ เปนสิ่งสําคัญอีกสวนซึ่งสามารถดึงดูดความสนใจของผูอานได ไมวาจะเปนความสวยงามของปกนอก หรือการตกแตงหนากระดาษภายในหนังสือ รวมไปถึงการใหสีสันของสวนตางๆ ทําใหกระตุนความนาสนใจในการอานของผูอานโดยมีการตกแตงความสวยงามในสวนตางๆดังตอไปนี้ 1. ปกนอกดานหลัง สันปกและดานหนา

รูปที่ 3.3 ภาพหนาปกของหนังสือคูมือ

2. เลขหนากระดาษของเนื้อหา เลขหนาเปนรูปฟนเฟองสีสันตางๆกันไปแตละ Chapter ซึ่งมีสองแบบคือ ดานซายจะมีตัวหนังสือเขียนไววา Chapter ที่เทาไหร สวนดานขวาจะเขียนไววา DIALux 4.4 สวนตรงกลางของฟนเฟองมีไวสําหรับใสเลขหนานั้นๆ ถูกจัดวางที่มุมลาง ทางดานนอกของหนากระดาษ ดังนี้

Page 53: คู่มือการใช้ dialux

37

- Chapter 1 สีแดง

รูปที่ 3.4 ตกแตงเลขหนาบทที่ 1

- Chapter 2 สีเขียว

รูปที่ 3.5 ตกแตงเลขหนาบทที่ 2 - Chapter 3 สีน้ําเงิน

รูปที่ 3.6 ตกแตงเลขหนาบทที่ 3

Page 54: คู่มือการใช้ dialux

38

- Chapter 4 สีสม

รูปที่ 3.7 ตกแตงเลขหนาบทที่ 4 - Chapter 5 สีมวง

รูปที่ 3.8 ตกแตงเลขหนาบทที่ 5 3. ชือ่ของ Chapter เปนรูปหลอดไฟฟาและตอทายดวยชื่อของ Chapter นั้นๆ อยูที่ตําแหนงทางดาน ซายบนของหนากระดาษดังนี้ - Chapter 1

รูปที่ 3.9 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 1

Page 55: คู่มือการใช้ dialux

39

- Chapter 2

รูปที่ 3.10 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 2 - Chapter 3

รูปที่ 3.11 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 3 - Chapter 4

รูปที่ 3.12 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 4 - Chapter 5

รูปที่ 3.13 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 5 3.9 จัดทําคูมือ เมื่อตรวจสอบความถูกตองของเนื้อหา และทําการตกแตงความสวยงามเรียบรอยแลว จะตองจัดทําออกมาเปนรูปเลมหนังสือขนาด ½ A4 โดยปกติแลวสํานักพิมพทั่วไปจะทําการพิมพหนังสือโดยสงใหโรงพิมพทําการพิมพ ซึ่งโรงพิมพจะรับพิมพก็ตอเม่ือตองการทําหนังสือเปนจํานวนมากเทานั้น ดังนั้น จึงตองใชเครื่อง Printer ในการพิมพหนังสือออกมา กระดาษ A4 1 แผน สามารถพิมพหนากระดาษได 4 หนา ดังนั้น จึงตองจัดหนากระดาษใหมีจํานวนที่หารดวย 4 ลงตัว จึงจะพิมพไดโดยที่ไมมีกระดาษเหลือทิ้ง โดยมีขั้นตอนการจัดเรียงหนากระดาษดังตอไปนี้

Page 56: คู่มือการใช้ dialux

40

1. การจัดเรียงหนากระดาษปกติ

เนื้อหาของคูมอืในตอนแรก จะมีการจัดเรียงลําดับดังรูป 3.14

รูปที่ 3.14 การเรียงหนาปกติ

ซึ่งไมสามารถนํามาพิมพและเขาเลมเปนหนังสือได เพราะลําดับการเรียงหนาไมถูกตอง อีกทั้งดานหลังของกระดาษก็ยังไมไดทําการพิมพ 2. วิธีเรียงหนากระดาษ

วิธีเรียงหนากระดาษคือทําการจัดเรียงคูของหนากระดาษ (ดัมมี่) ใหเปนไปตามตารางที่ 3.1

Page 57: คู่มือการใช้ dialux

41

ตารางที่ 3.1 คูของหนากระดาษ (ดัมมี่)

Page 58: คู่มือการใช้ dialux

42

โดยปกติแลวโรงพิมพที่รับพิมพหนังสือจํานวนมากๆจะใชกระดาษขนาดใหญในการพิมพจึงตองจัดหนาหนังสือใหมีจํานวนหนาลงตัว เพื่อใหจัดวางในกระดาษไดพอดี (ไมมีกระดาษเหลือ) เชน 16 หนายก คือ ตองมีจํานวนหนากระดาษทั้งหมดของหนังสือ หารดวย 16 ลงตัว แตในกรณีที่ไมไดใหโรงพิมพทําการพิมพแตใชวิธีใช Printer พิมพออกมา ซึ่งใชกระดาษขนาดA4 ดังนั้นจึงจัดหนากระดาษใหมีจํานวนหนา หารดวย 4 ลงตัว ก็เพียงพอแลว

จากตารางที่ 3.1 จะเห็นวามีทั้งหมด 156 หนา (ไมรวมปก) เมื่อหารดวย 4 จะได 39 คือ ใชกระดาษในการพิมพทั้งหมด 39 แผน (พิมพทั้งดานหนาและหลัง) โดยจัดหนากระดาษเปนไฟล word สองไฟล คือ ไฟลProjectPrintดานนอก และ ProjectPrintดานใน ดังรูปที่ 3.15

รูปที่ 3.15 ไฟลสําหรับพิมพคูมือ

โดยใหไฟล ProjectPrint ดานนอก และไฟล ProjectPrint ดานใน จัดเรียงหนากระดาษ ดังรูปที่ 3.16 และรูปที่ 3.17

รูปที่ 3.16 การจัดเรียงลําดับหนาของไฟลPrintProject ดานนอก

Page 59: คู่มือการใช้ dialux

43

รูปที่ 3.17 การจัดเรียงลําดับหนาของไฟล PrintProject ดานใน

วิธีพิมพคือ ใหพิมพจากไฟล PrintProject ดานในไปกอน จะไดกระดาษซึ่งมีเนื้อหาดานเดียวมาหนึ่งชุด จากนั้นนํากระดาษชุดเดิม ไปพิมพอีกดานโดยใชไฟล PrintProject ดานนอก จะไดลําดับหนากระดาษดังรูปที่ 3.18

รูปที่ 3.18 ผลลัพธจากการพิมพ

Page 60: คู่มือการใช้ dialux

44

จากนั้นนํามาซอนกัน โดยใหลําดับหนาสุดทายของไฟล ProjectPrint ดานในอยูขางบนสุด (หนา 78 – 79) ตัดกระดาษที่กลางแผนและพับเขาหากันจะไดหนังสือคูมือซึ่งมีลําดับหนาเสร็จสมบูรณ ดังรูปที่ 3.19

รอยตัดกลาง ซีกขวา

ซีกซาย

พับเขาหากัน

รูปที่ 3.19 รูปเลมหนังสือ 3. ปญหาในการพิมพคูมอื

เครื่อง Printer โดยปกติแลว จะมีขอบเขตในการพิมพอยูคือ ไมสามารถพิมพถึงขอบกระดาษได ดังรูปที่ 3.20

พิมพไมได

ขอบเขตการพิมพ

รูปที่ 3.20 ขอบเขตในการพิมพของ Printer

Page 61: คู่มือการใช้ dialux

45

ทาํใหเวลาพิมพจริงเกิดปญหาดังรูปที่ 3.21

รูปที่ 3.21 เปรยีบเทียบภาพที่ถูกตองกับปญหาที่เกิดในการพิมพ

จากรูปที่ 3.21 จะเห็นวาเลขหนา ที่ทําการตกแตงไวที่ขอบกระดาษมุมลางนั้น เครื่อง Printer ไมสามารถพิมพถึงขอบกระดาษได ทําใหภาพบางสวนหายไป 4. แกปญหาการพิมพ

ทําการเลื่อนภาพของเลขหนากระดาษใหเขามาอยูในขอบเขตที่เครื่อง Printer สามารถพิมพไดและทําการตัดสวนที่เครื่องพิมพไมสามารถพิมพไดออกไปกอนที่จะทําการเขาเลม ดังรูปที่ 3.22

รูปที่ 3.22 แกปญหาการพิมพ

Page 62: คู่มือการใช้ dialux

46

5. รูปเลม เมื่อนําเนื้อหาของคูมือและหนาปกที่จัดทํามาเขารูปเลมโดยวิธีสันกาวแลว จะไดรูปเลมหนังสือดังรูปที่ 3.23 และรูปที่ 3.24

รูปที่ 3.23 หนงัสือคูมือการใช DIALux ดานหนา

Page 63: คู่มือการใช้ dialux

47

รูปที่ 3.24 หนงัสือคูมือการใช DIALux ดานหลัง 3.10 ประเมินผล จุดประสงคในการประเมินผลคูมือการใชโปรแกรม DIALux เพื่อตรวจสอบความคิดของผูใชที่มีตอคูมือการใชโปรแกรม DIALux และเมื่อมีการใหคะแนนในเกณฑตางๆคือ - รูปแบบการจัดวางเนื้อหา - ความเหมาะสมของคําที่ใชอธิบายภายในคูมือ - ความละเอียดขั้นตอนการใชโปรแกรมภายในคูมือ - ความเหมาะสมของรูปที่ใชประกอบคําอธิบาย ทําใหรูวาคูมือที่จัดทํานั้นมีขอดีขอเสีย หรือมีขอบกพรองใดๆที่ผูจัดทํามองขามไปหรือไม ผูจัดทําจะไดนําไปปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมในสวนนั้นๆใหดีขึ้น

Page 64: คู่มือการใช้ dialux

48

บทที่ 4

วิธีการทดลอง และผลการทดลอง

4.1 การทดลองที่ 1 เปรียบเทียบผลการคํานวณระหวางวิธีลูเมนกบัโปรแกรม DIALux เพื่อทดสอบวาโปรแกรม DIALuxมีความสามารถจําลองระบบไฟฟาแสงสวางออกมาไดคาจํานวนหลอดและคาความสองสวางใกลเคียงกับการคํานวณดวยวิธีลูเมน 4.1.1 อุปกรณที่ใชในการทดลอง

1. ตารางแสดงคาเปอรเซนตคาประสิทธิผลการสะทอนแสงสวางของโพรงเพดานและพื้นสําหรับ พื้นผิวการสะทอนแสงสวางที่แตกตางกัน (Percent Effective Ceiling and Floor

Reflectances for Various Reflectance Combination)(John E. Kaufman. 1981 : 9-11) 2. ตารางสัมประสิทธิ์การใชประโยชนของดวงโคมชนิดตางๆ (John E. Kaufman. 1981 : 9-31) 3. ตารางแสดงคาสําหรับวิธีลูเมน (Tables for Lumen Method*)ของเปอรเซนตประสิทธิผลการ สะทอนแสงของโพรงเพดาน หรือโพรงพืน้ที่สําหรับการสะทอนแสงที่แตกตางกัน (John E. Kaufman. 1981 : 9-11) 4. กราฟแสดงเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังของพื้นผิวหองสกปรก (John E. Kaufman. 1981 : 9-46) 5. ตารางคาประกอบความเสื่อมสภาพของแสงสวางจากพื้นผิวหองสกปรก (John E. Kaufman. 1981 : 9-6) 6. โปรแกรม DIALux

4.1.2 วิธีการทดลอง หองปฏิบัติการมีขนาดกวาง 16 m ยาว 24 m สูง 3 m มีคาสัมประสิทธิ์การสะทอนแสงของวัสดุที่เพดาน,ผนังและพื้น เปน 70%, 50% และ 20% ตามลําดับ พื้นโตะทํางานอยูสูงจากพื้น 0.75m ตองการคาความสองสวางภายในหอง 500 ลักซ ใชโคมไฟฟา Sylvania 0046125 SYL-LOUVER HR 158 A2 ขนาด 58 W 5200 ลูเมน (สมมุติให 1 หลอด / โคม) ซึ่งมีลักษณะดวงโคมไฟฟาและกราฟการกระจายแสงดังรูปที่ 4.1

Page 65: คู่มือการใช้ dialux

49

รูปที่ 4.1 ดวงโคมไฟฟาและกราฟการกระจายแสง

การคํานวณจะแบงออกเปน 3 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนที่ 1 หาคาสัมประสิทธิ์การใชดวงโคมไฟฟา (CU) ขั้นตอนที่ 2 หาคาความเสื่อมสภาพของแสงสวางจากพื้นผิวหองสกปรก (RSDD) ขั้นตอนที่ 3 หาจํานวนดวงโคมไฟฟา ขั้นตอนที่ 1 ดวงโคมไฟฟาติดต้ังที่ระดับพื้นผิวเพดานดังรูปที่ 4.2

รูปที่ 4.2 ระดับการติดต้ังดวงโคมไฟฟา เมื่อ ความกวางหอง (W) = 16 เมตร ความยาวหอง (L) = 24 เมตร ความสูงหอง (H) = 3 เมตร ความสามารถในการสะทอนแสงของโพรงเพดาน = 70 %

Page 66: คู่มือการใช้ dialux

50

ความสามารถในการสะทอนแสงของผนัง = 50 % ความสามารถในการสะทอนแสงของโพรงพืน้ = 20 % ความสูงโพรงของเพดาน hcc = 0 เมตร ความสูงของโพรงหอง hrc = 2.25 เมตร ความสูงของโพรงพืน้ hfc = 0.75 เมตร จากสูตรการแบงสัดสวนโพรง

อัตราสวนโพรงเพดาน (CCR) = 5 hcc [ (W+L) / (W×L) ] แทนคา = 5(0) [ (16+24) / (16×24) ]

= 0 อัตราสวนโพรงหอง (RCR) = 5 hrc [ (W+L) / (W× L) ] แทนคา = 5(2.25) [ (16+24) / (16×24) ]

= 1.172 อัตราสวนโพรงพื้น (FCR) = 5 hfc [ (W+L) / (W× L) ] แทนคา = 5(0.75) [ (16+24) / (16×24) ]

= 0.391

จากตารางแสดงคาเปอรเซนตคาประสิทธิผลการสะทอนแสงสวางของโพรงเพดาน และพื้น สําหรับพื้นผิวการสะทอนแสงสวางที่แตกตางกัน (Percent Effective Ceiling and Floor Reflectances for Various Reflectance Combination)(John E. Kaufman. 1981 : 9-11) เมื่อ = 70 % , = 50 % เมื่อ CCR = 0 จะได = 70 % และเมื่อ = 20 % , = 50 % เมื่อ FCR = 0.391 จะเห็นจากตารางวาไมมีคา FCR ที่ 0.391 ดังนั้นจึงตองใชหลักการสอดแทรก (Interpolate) ดังนี้ เมื่อ FCR = 0.2 จะได = 0.29 FCR = 0.4 จะได = 0.29 เนื่องจาก FCR = 0.391 อยูระหวางคา FCR ที่ 0.2 และ 0.4 ซึ่งมีคาที่ไมตางกัน จะได = 0.29 คิดใหเปน 0.30 หรือ 30% จากตารางสัมประสิทธิ์การใชประโยชนของดวงโคมชนิดตางๆ(John E. Kaufman. 1981 :9-31) โคมแบบที่ 28 โคมหลอดฟลูออเรสเซนตชนิดมีตัวสะทอนแสงเปนอะลูมิเนียม ซึ่งใกลเคียงกับดวงโคมที่เลือกใชในหองตัวอยาง เมื่อ = 70 % , = 50 % , RCR = 1.172 จะเห็นจากตารางวาไมมีคา RCR ที่ 1.172 ดังนั้นจึงตองใชหลักการสอดแทรกดังนี ้ที่ RCR = 1 จะได CU = 0.72 RCR = 2 จะได CU = 0.65

Page 67: คู่มือการใช้ dialux

51

ผลตางของ CU = 0.72 – 0.65 = 0.07 และผลตางของ RCR = 2 – 1 = 1 ถา 0.172 หนวยจะได 0.172 x 0.07 = 0.01204 เพราะฉะนั้นคา CU จะเทากับ 0.72 – 0.01204 = 0.70796 ขั้นตอนที่ 2 ดวงโคมไฟฟาเปนแบบกระจายแสงสวางกึ่งลง จากกราฟแสดงเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังของพื้นผิวหองสกปรก (John E. Kaufman. 1984 : 9-46) เมื่อหองมีการทําความสะอาด 12 เดือน / ครั้ง จะไดคาเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังเทากับ 12 % จากตารางแสดงคาประกอบความเสื่อมสภาพของแสงสวางจากพื้นผิวหองสกปรก (John E. Kaufman. 1981 : 9-6) จากตารางจะเห็นวาไมมีคา 12 % และไมมีคา RCR = 1.172 ดวย จึงตองใชหลักการสอดแทรกมาใช เม่ือ เปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวัง = 10 % ที่ RCR = 1 จะได RSDD = 0.97 RCR = 2 จะได RSDD = 0.96 ผลตางของ RSDD = 0.97 – 0.96 = 0.01 และผลตางของ RCR = 1 ถา 0.172 หนวยจะได 0.172 x 0.01 = 0.0172 เพราะฉะนั่นที่ RCR เทากับ 1.172 และเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังเทากับ 10 % จะได

RSDD = 0.97 – 0.0172 = 0.9628

เม่ือ เปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวัง = 20 % ที่ RCR = 1 จะได RSDD = 0.92 RCR = 2 จะได RSDD = 0.92 ไมมีผลตาง เพราะฉะนั้นที่ RCR เทากับ 1.172 และเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังเทากับ 10 % จะได RSDD = 0.92 เม่ือ RCR = 1.172 ที่ เปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวัง = 20 % จะได RSDD = 0.9628 เปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวัง = 10 % จะได RSDD = 0.92 ผลตางของ RSDD = 0.9628 – 0.92 = 0.0428 และผลตางของเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวัง = 20 – 10 = 10 แบงเปน 10 หนวยจะได 0.0428 / 10 = 0.00428 ถา 2 หนวยจะได 2 x 0.00428 = 0.00856 เพราะฉะนั่นที่ RCR เทากับ 1.172 และเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังเทากับ 12 % จะได RSDD = 0.9628 – 0.00856 = 0.95424

Page 68: คู่มือการใช้ dialux

52

ขั้นตอนที่ 3 จากสูตร

Ltotal = (E x A) / (CU x MF x RSDD) เม่ือ Ltotal = ปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางที่ตองการทั้งหมด (ลูเมน) E = คาความสองสวาง (ลักซ) A = พื้นที่หอง (W x L) CU = สัมประสิทธิ์การใชประโยชนของดวงโคมไฟฟา MF = ตัวประกอบการบํารุงรักษา (0.8) RSDD = เปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังของพื้นผิวหองสกปรก แทนคาในสมการ Ltotal = (500 x 16 x 24) / (0.70796 x 0.8 x 0.95424) = 355258.8484 ลูเมน คํานวณหาจํานวนดวงโคมไฟฟาซึ่งมีคา 5200 ลูเมน/โคม จากสูตร N = Ltotal / l เม่ือ N = จํานวนดวงโคมไฟฟา l = ปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางตอหนึ่งดวงโคมไฟฟา (ลูเมน) แทนคาในสมการ N = 355258.8484 / 5200 = 68.319

เพราะฉะนั้นตองติดต้ังดวงโคมไฟฟาภายในหองจํานวน 68 ดวงโคมไฟฟาจึงจะไดคาความสองสวางภายในหอง 500 ลักซ

จากนั้นใชโปรแกรม DIALux จําลองหองปฏิบัติการนี้โดยกําหนดเงื่อนไขเดียวกันกับการคํานวณ

ดวยวิธีลูเมน ดังนี้ ขนาดของหอง ใหมีขนาดกวาง 16 เมตร ยาว 24 เมตร สูง 3 เมตร สัมประสิทธิ์การสะทอนแสงของเพดาน ผนัง และพื้นเปน 70% , 50% และ 20% ตามลําดับ พื้นโตะทํางานอยูสูงจากพื้น 0.75m ใชโคมไฟฟา Sylvania 0046125 SYL-LOUVER HR 158 A2 ขนาด 58 W 5200 ลูเมน โดยมีวิธีกําหนดคาในโปรแกรม DIALux ดังตอไปนี้

1. เขา DIALux Light Wizard 2. กําหนดขนาดหองใหมีขนาดกวาง 16 เมตร ยาว 24 เมตร สูง 3 เมตร ดังรูปที่ 4.3

Page 69: คู่มือการใช้ dialux

53

รูปที่ 4.3 กําหนดขนาดหอง

3. กําหนดสัมประสิทธิ์การสะทอนแสงของเพดาน ผนัง และพื้นเปน 70%, 50% และ 20% ตามลําดับ ดังรูปที่ 4.4

รูปที่ 4.4 กําหนดสัมประสิทธ์ิการสะทอนแสง 4. กําหนดคา Maintenance factor เปน 0.8 ดังรูปที่ 4.5

รูปที่ 4.5 กําหนดคา Maintenance factor

5. กําหนดความสูงของพื้นที่ทํางานคือ 0.75 เมตร ดังรูปที่ 4.6

Page 70: คู่มือการใช้ dialux

54

4.6 กําหนดความสูงของพื้นทีท่ํางาน

6. กําหนดใหใชโคมไฟฟา Sylvania 0046125 SYL-LOUVER HR 158 A2 ขนาด 58 W 5200 ลูเมน ดังรูปที่ 4.7

รูปที่ 4.7 ดวงโคมไฟฟา Sylvania 58 W 5200 ลูเมน

7. กําหนดลักษณะการติดต้ังดวงโคมไฟฟา ใหอยูที่พื้นผิวเพดานดังรูปที่ 4.8

รูปที่ 4.8 ความสูงการติดต้ังดวงโคม

Page 71: คู่มือการใช้ dialux

55

8. กําหนดใหคาความสองสวางภายในหองเปน 500 ลักซ และกดปุม Suggestion ดังรูปที่ 4.9โปรแกรมจะคํานวณใหวาตองติดต้ังดวงโคมเทาไหร

รูปที่ 4.9 กําหนดคาความสองสวาง

9. โปรแกรมทําการติดต้ังดวงโคมจํานวน 72 โคมดังรูปที่ 4.10

รูปที่ 4.10 การวางดวงโคม

Page 72: คู่มือการใช้ dialux

56

เมื่อใหโปรแกรม DIALux ทําการคํานวณคาความสองสวางออกมาจะไดคาความสองสวางดังนี้ - ความสองสวางเฉลี่ย (Eavg ) = 550 ลักซ

- ความสองสวางต่ําสุด (Emin ) = 340 ลักซ - ความสองสวางสูงสุด (Emax ) = 657 ลักซ - u0 (Emin / Eavg ) = 0.62 - Emin / Emax = 0.52

และมีเสนของความสองสวางดังรูปที่ 4.4

รูปที่ 4.11 เสนแหงการสองสวาง 4.1.3 ผลการทดลอง จากการคํานวณหาจํานวนดวงโคมไฟฟาที่ใชสําหรับติดต้ังภายในหองเพื่อใหไดคาความสองสวาง 500 ลักซ จะตองติดต้ังดวงโคมไฟฟาจํานวน 68 โคม เมื่อใชโปรแกรม DIALux โดยกําหนดใหคาความสองสวางภายในหองมี 500 ลักซ โปรแกรมจะติดต้ังดวงโคมให 72 โคม จะเห็นวาไดจํานวนดวงโคมไฟฟาจํานวนใกลเคียงกัน

Page 73: คู่มือการใช้ dialux

57

4.2 การทดลองที่ 2 ประเมนิผลคูมือ 4.2.1 อุปกรณที่ใชในการทดลอง

อุปกรณที่ใชสําหรับทดลองประสิทธิภาพของคูมือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวาง DIALUX Version 4.4 จะใช “ ตารางสําหรับประเมินคูมือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวาง DIALux Version 4.4 ” (ตารางที่ 4.1) จะมีเกณฑการประเมิน 4 ขอ คือ 1. รูปแบบการจัดวางเนื้อหา 2. ความเหมาะสมของคําที่ใชอธิบายภายในคูมือ 3. ความละเอียดขั้นตอนการใชโปรแกรมภายในคูมือ 4. ความเหมาะสมของรูปที่ใชประกอบการอธิบาย โดยจะทําการประเมินแยกยอยทุกบทเพื่อความละเอียดในการประเมิน สวนเกณฑการใหคะแนนมีทั้งหมด 6 ระดับคือ 5 คะแนน คือ มากที่สุด และคอยๆลดลงไปจนถึง 0 คะแนน คือ นอยที่สุด โดยประเมินในทุกๆบทที่มีในคูมือซึ่งมี 5 บท ดังนั้นคะแนนสูงสุดในแตละบทคือ 20 คะแนน คะแนนต่ําสุดคือ 0 คะแนน รวมทั้งสิ้น คะแนนสูงสุดคือ 100 คะแนน คะแนนตํ่าสุดคือ 0 คะแนน จากนั้นจะทําการหาคาเฉลี่ยคะแนนในแตละบท และนํามารวมเพื่อหาคาเฉลี่ยโดยรวม เพื่อวัดผลการประเมิน โดยใชสูตรหาคาเฉล่ีย 4.2.2 วิธกีารทดลอง ทดลองโดยการสุมตัวอยางทดลอง คือ คนจํานวนหนึ่ง เพื่อใหอานคูมือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวาง DIALUX ประกอบกับการใชโปรแกรม DIALUX Version 4.4 ตามที่อธิบายไวในคูมือ เมื่อใชโปรแกรม DIALUX ตามคําอธิบายในคูมือจนเสร็จสิ้นแลว จะใหกลุมตัวอยางทําการประเมินตามแบบประเมินในตารางที่ 4.1 เพื่อนํากลับมาคํานวนเปนคาประสิทธิภาพ

Page 74: คู่มือการใช้ dialux

58

ตาราง 4.1 แบบประเมินคูมือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวาง DIALux Version 4.4 4.2.3 ผลการทดลอง

Page 75: คู่มือการใช้ dialux

59

ไดทําการประเมินทั้งส้ิน 13 คน ซึ่งแสดงในภาคผนวก ซ. “ผลการใชตารางสําหรับประเมินคูมือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวาง DIALux Version 4.4” นํามาหาคาเฉล่ียของแตละบท ดังนี ้ ตารางที่ 4.2 คะแนนผลการประเมินคูมือ DIALux Version 4.4

หัวขอ คาเฉล่ียคะแนน

บทที่ 1 (20คะแนน) 17.46153846 บทที่ 2 (20คะแนน) 17.23076923 บทที่ 3 (20คะแนน) 17.69230769 บทที่ 4 (20คะแนน) 17.38461538 บทที่ 5 (20คะแนน) 17.38461538 รวม (100 คะแนน) 87.15384614

รวมคะแนนทัง้หาบท จะได 87.15384614 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน เพราะฉะนั้น ผลการประเมินคูมือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวาง DIALux Version 4.4 มีประสิทธิภาพรอยละ 87

Page 76: คู่มือการใช้ dialux

60

บทที ่5

สรุปผลการทดลองและขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการทดลอง จากการทดลองที่ 1 ทําการคํานวณหาจํานวนดวงโคมที่จําเปนตองติดต้ังภายในหอง โดยใช Lumen method ผลคือจะตองใชดวงโคมไฟฟาจํานวน 68 โคม จึงจะไดคาความสองสวางเฉลี่ยภายในหองมีคา 500 ลักซ เมื่อเปรียบเทียบกับจํานวนดวงโคมที่คํานวณโดยใชโปรแกรม DIALux ผลคือตองใชดวงโคมไฟฟาจํานวน 72 โคม จะเห็นวามีคาใกลเคียงกับคาที่ตองการ ดังนั้นโปรแกรม DIALux จึงมีความนาเชื่อถือและสามารถใชเปนเครื่องมือในการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางได

จากการทดลองที่ 2 การทําแบบประเมินคูมือ โดยใหกลุมตัวอยางไดทดลองใชโปรแกรม DIALux ตามขั้นตอนในคูมือที่ทําการจัดทําจนสามารถสรางผลงานออกมาได จากนั้นจึงใหทําการประเมิน สรุปการประเมินโดยการหาคาเฉล่ียเลขคณิตของแตละบท และนํามารวมกัน ไดคะแนน 87.15 คะแนน จาก 100 คะแนน คิดเปนประสิทธิภาพรอยละ 87 ในขั้นตอนการใหกลุมตัวอยางทําการประเมินคูมือนั้น พบวากลุมตัวอยางมีทักษะการใชโปรแกรม DIALux เพิ่มมากขึ้น และสามารถใชโปรแกรมสรางผลงานไดดวยตนเอง

5.2 ขอเสนอแนะ

1. ควรมีการเพิ่ม CD ซึ่งมีไฟล Video สําหรับแสดงขั้นตอนการใชงานโปรแกรม DIALux แนบคู กับหนังสือคูมือการใชโปรแกรม เพื่อใหผูใชงานไดเห็นภาพในการทํางานจริง 2. ควรเพิ่มเนื้อหาเกี่ยวกับการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางภายนอกอาคาร และการออกแบบ ระบบไฟฟาแสงสวางถนน ซึ่งเปนความสามารถของโปรแกรม DIALux เขาไปดวย 3. ควรเพิ่มตัวอยางการใชโปรแกรมเพื่อออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางใหมากกวานี้ 4. ควรเพิ่มวิธีดาวนโหลดโปรแกรม DIALux จาก Internet ดวย เพื่อที่ผูอานจะสามารถหา Download โปรแกรม DIALux ไดดวยตนเอง

Page 77: คู่มือการใช้ dialux

61

เอกสารอางอิง [1] การใช Photoshop 7.0 . การสรางตัวอักษรหลอดไฟนอีอน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.bcoms.net/photoshop/fontneon.asp [มกราคม 2552] [2] ชาญศักดิ์ อภัยนิพัฒน. เทคนิคการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวาง. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ

สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี, 2545. [3] ธนบูรณ ศศิภานุเดช. การออกแบบระบบแสงสวางรวมทั้งระบบไฟฟาระบบสัญญาณเตือนภัยและ ระบบการติดตอสื่อสาร. พิมพครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่นจํากัด, 2537

Page 78: คู่มือการใช้ dialux

62

ภาคผนวก

Page 79: คู่มือการใช้ dialux

63

ภาคผนวก ก. คําจํากัดความและคําที่ใชกันทั่วไป

1. ลูเมน : เปนหนวยความสวางของแสง ซึ่งพลังงานรังสีที่ปลอยออกมาภายใน หนึ่งหนวยมุมของ

ของแข็ง โดยจุดหนึ่งของแหลงที่ปลอยแสงที่มีความเขมสม่ําเสมอ เทากับหนึ่งแคนเดลา ความสวางหนึ่งลักซมีคาเทากับหนึ่งลูเมนตอตารางเมตร คาลูเมน (lm) เปนการวัดระดับความสวางของแสงที่เทียบ เทาไดกับคาวัตต ซึ่งถูกถวงน้ําหนักใหเขากับการตอบสนองของตาของ “ผูสังเกตุการณมาตรฐาน” โดย 1วัตต = 683ลูเมน ที่มีความยาวคลื่น555นาโนเมตร

2. คาประสิทธิผลการติดต้ัง : เปนคาเฉล่ียของความสวางที่ถูกรักษาไวโดยใหอยูบนระนาบการทํางานในแนวนอนตอคาวัตตของวงจรที่มีแสงสวางภายในทั่วไปโดยมีหนวยเปนลักซ / วัตต / ตารางเมตร

3. อัตราสวนประสิทธิผลของโหลดติดต้ัง : เปนคาอัตราสวนของคาประสิทธิผลเปาหมายของโหลดและติดต้ัง

4. โคมไฟ : เปนชุดใหแสงสวางที่สมบูรณ โดยจะประกอบไปดวยหลอดไฟหนึ่งดวงหรือหลายดวงดวย กัน โดยมีสวนที่ถูกออกแบบมาเพื่อสงแสงสวาง จัดวางและปองกันหลอดไฟ และ เชื่อมตอหลอดไฟ

เขากับสายไฟ 5. ลักซ : เปนหนวยวัดของความสวางบนพื้นผิว ความสวางเฉลี่ยที่รักษาไว คือคาเฉลี่ยของระดับ

ฟลักซที่วัดไดที่หลายๆจุดในพื้นที่ที่กําหนดไว หนึ่งลักซมีคาเทากับ หนึ่งลูกเมนตอตารางเมตร 6. ความสูงของการติดต้ัง : เปนความสูงของชุดโคมไฟฟาหรือหลอดไฟเหนือระดับพื้นที่ใชงาน 7. ประสิทธิผลของการกระจายแสงที่ระบุไว : เปนอัตราสวนของลูเมนที่ปลอยออกมากับอัตราการใช

พลังงานที่แสงในหนวย ลูเมนตอวัตต 8. คาดัชนีของหอง : เปนคาอัตราสวน ซึ่งสัมพันธกับมิติของแผนผังทั้งหมดตอหอง ตอความสูง

ระหวางพื้นราบของการทํางานและพื้นราบของอุปกรณติดต้ัง 9. ประสิทธิผลของโหลดเปาหมาย : เปนคาประสิทธิผลของโหลดติดต้ังที่พิจารณาวาจะสามารถทําได

โดยมีประสิทธิผลสูงสุด มีหนวยเปนลักซ / วัตต / ตารางเมตร 10. ตัวประกอบการใชงาน (UF) : เปนสัดสวนของคาการปลอยพลังงานแสงสวางที่ปลอยออก มาจาก

หลอดไฟไปยังพื้นราบของการทํางาน เปนการวัดประสิทธิผลของแบบแผนของแสงสวางการสงทอดพลังงาน (lm) = 4π * ความเขมของแสงสวาง (cd) ความแตกตางระหวางลักซและลูเมน คือ ลักซจะคํานึงถึงพื้นที่ในบริเวณที่อัตราการสงทอดพลังานครอบคลุมถึงคา 1000 ลูเมน ที่จํากัดอยูในพื้นที่หนึ่งตารางเมตร จะทําใหพื้นที่นั้นสวางขึ้นโดยมีความสวาง 1000 ลักซ สวนคา1000 ลูเมนเหมือนกัน ที่แผครอบคลุมพื้นที่ 10 ตารางเมตร จะใหความสวางนอยกวาคือเพียงแค100 ลักซ

11. Contrast : ความแตกตางของสีระหวางวัตถุกับสิ่งตางๆที่อยูรอบๆ ถามีความแตกตางกันมาก การมองเห็นยิ่งทําไดงายขึ้น

Page 80: คู่มือการใช้ dialux

64

ภาคผนวก ข. การพิจารณาการออกแบบระบบแสงสวางในอาคารสํานักงาน

1. การออกแบบระบบแสงสวางบริเวณทั่วไปของสํานักงาน

โดยปกติบริเวณทั่วไปของสํานักงานมักจะมีงานหลายๆอยางรวมอยูในบริเวณเดียวกัน เชนงานพิมพดีด งานคอมพิวเตอร ตลอดจนงานเอกสารตางๆ หรืออาจจะมีการเปลี่ยนตําแหนงของอุปกรณหรือโตะทํางาน เพื่อสรางบรรยากาศในการทํางานอยูบอยครั้ง หรือเพิ่มเติมโตะเกาอี้ เพื่อขยายแผนกหรือเพิ่มจํานวนบุคลากร การออกแบบระบบแสงสวางจึงมีความจําเปนที่จะตองออกแบบใหมีความสวางสม่ําเสมอทั่วบริเวณที่ทํางาน ดังนั้น จึงเหมาะที่จะทําการติดต้ังดวงโคมไฟฟาแบบทั่วไปมากที่สุด และยังทําใหเกิดความคลองตัวในการทํางานมากขึ้น ตลอดจนมีความเปนระเบียบเรียบรอยและความสวยงาม นอกจากนี้ยังตองคํานึงถึงการถายเทความรอนที่เกิดจากหลอดไฟฟา บัลลาสต และดวงโคมไฟฟาประกอบดวย เพราะจะมีผลกระทบตอระบบการทําความเย็นและการหมุนเวียนอากาศภายในหอง 2. การออกแบบระบบแสงสวางบริเวณหองโถงของสํานักงาน

หองโถงในที่นี้หมายถึง หองรับรองหรือหองที่จัดเตรียมไวสําหรับคนที่มาติดตองาน นั่งคอย หรือพักผอน ในการออกแบบระบบแสงสวางสําหรับหองโถงจะตองคํานึงถึงบรรยากาศ และทําใหเกิดความอบอุนและความประทับใจกับบุคคลที่มาอยูในหองโถง โดยทั่วไปมักจะมีการติดต้ังหลอดใสมากกวาที่จะติดต้ังหลอดฟลูออเรสเซนต หรือติดต้ังในลักษณะของหลอดไฟฟาสองลง(Down Light) ทั้งหมดก็ไดและบริเวณที่มีการโชวสิ่งของตางๆเชนรูปภาพ ตัวอยางสินคา เครื่องหมายสําคัญของบริษัท อาจจะตองติดต้ังดวงโคมไฟฟาที่ใหแสงสวางเฉพาะจุดดวย เพื่อเนนใหเห็นถึงความชัดเจนของสิ่งของ 3. การออกแบบระบบแสงสวางบริเวณหองประชุม

หองประชุมจะใชเปนสถานที่ที่ใชในการประชุมผูบริหาร พนักงาน ตลอดจนการโชวสินคา ฯลฯ หรืออาจจะมีการแสดงขอมูลที่เปนตัวอักษร ตัวเลข หรือตารางแสดงคาตางๆ เพื่อใชประกอบในการประชุม ดังนั้นจึงตองมีแสงสวางที่เพียงพอในการดูขอมูลไดอยางสบายตาไมทําใหกลามเนื้อตาทํางานหนัก อันเปนสาเหตุในการเกิดการเสื่อมของสายตา บางครั้งอาจมีการฉายสไลด การใชเครื่องฉายภาพขามศรีษะ(Overhead Projector) ตลอดจนวีดีโอ ฯลฯ ระดับแสงสวางอาจจะตองมีการเปลี่ยนแปลงในบางครั้งบางคราว อาจจะตองเสริมระบบการหรี่แสงสวางเขาไปดวยเพื่ออํานวยความสะดวก และจะตองติดต้ังระบบไฟฟาไวหลายชุด หรือในบริเวณที่มีการโชวขอมูล อาจจะติดต้ังระบบแสงสวางเฉพาะจุดดวย

Page 81: คู่มือการใช้ dialux

65

4. การออกแบบระบบแสงสวางบริเวณหองผูบริหาร

หองผูบริหารหมายถึง หองทํางานสวนตัวของเจาของกิจการ หรือประธานบริษัท ฯลฯ โดยทั่วไปแลว การออกแบบจะพยายามเนนใหเกิดบรรยากาศหรือความรูสึกที่อยากจะทํางาน และมีความคลองตัวสูงในการทํางาน การออกแบบจะใชหลอดฟลูออเรสเซนตติดต้ังอยูเหนือบริเวณโตะทํางาน หรือดานหนา หรือดานขางก็ได แตถาติดต้ังดานขางโตะทํางานควรจะติดต้ังไวทั้ง 2 ขางของโตะทํางาน แตถาเปนการติดต้ังหลอดไฟฟาทางดานหนาหรือเหนือโตะทํางาน ควรหลีกเลี่ยงการใชหลอดไส เพราะเปนแหลงกําเนิดแสงสวางที่มีขนาดเล็ก ซึ่งอาจจะทําใหเกิดเงาไดงายบริเวณโตะทํางาน 5. การออกแบบระบบแสงสวางบริเวณหองน้ํา

โดยปกติหองน้ําจะมี 2 ลักษณะ คือหองน้ํารวมและหองน้ําสวนบุคคล หองน้ํารวมอาจจะมีไวบริการลูกคาหรือพนักงานสวนใหญในสํานักงาน การออกแบบระบบแสงสวางจะตองยึดหลักการที่วาการใหแสงสวางนั้นไมจําเปนจะตองใหแสงสวางที่มีปริมาณแหงการสองสวางเทากับในสํานักงาน อาจจะใชหลอดใสชนิดแบบหลอดใส (Clear) หรือหลอดฟลูออเรสเซนตชนิดแสงสวางสีกลางวัน (Daylight) หรือทั้ง 2 อยางในหองเดียวกัน การเลือกใชหลอดไฟฟาทั้ง 2 อยาง อาจจะทําใหบรรยากาศความรูสึกที่ตางกันออกไป 6. การออกแบบระบบแสงสวางบริเวณทางเดิน

บริเวณทางเดินไมจําเปนตองใหแสงสวางที่มีปริมาณเทากับในสํานักงาน แตก็ไมควรตํ่าเกินไป โดยทั่วไปไมควรใหนอยกวา 15 ฟุตแคนเดิลหรือ 161.4 ลักซ การใหแสงสวางอยางสม่ําเสมอ อาจจะเปนการเนนถึงบรรยากาศของความเปนระเบียบเรียบรอย และความสวยงาม การติดต้ังดวงโคมไฟฟาสามารถติดต้ังได 2 ลักษณะ คือ

- ตําแหนงของดวงโคมไฟฟาอาจจะติดต้ังในลักษณะเดียวกับดวงโคมไฟฟาสําหรับไฟสองลง (Downlight) คือติดเขาไปในเพดานแลวใหแสงสวางกระจายลงสูพื้น - ตําแหนงของดวงโคมไฟฟาอาจจะติดต้ังกับผนังตามแนวทางเดิน โดยใชโคมไฟฟาแบบโคม ไฟกริ่งติดเปนระยะหางเทาๆกัน

การติดต้ังโคมไฟฟาทั้ง 2 แบบนี้ ระยะหางระหวางดวงโคมไฟฟาไมควรใหเกิน 1.5 เทาของความสูงของดวงโคมไฟฟาเหนือพื้นที่งาน หรืออาจจะติดตั้งตามสภาพของโครงสรางอาคารแตละแหง

Page 82: คู่มือการใช้ dialux

66

7. การออกแบบระบบแสงสวางไฟฟาฉกุเฉนิ

วัตถุประสงคในการออกแบบก็เพื่อที่จะใหแสงสวางเกิดขึ้นตลอดเวลาของการทํางานปกติในสํานักงาน เมื่อระบบไฟฟาหลักของสํานักงานดับ ระบบไฟฟาฉุกเฉินจะตองทํางานทันที ซึ่งโดยทั่วไปแลวอุปกรณที่ใหแสงสวางไฟฟาฉุกเฉินนี้จะเปนพวกแสงสวางไฟฟาฉุกเฉินอัตโนมัติ (Automatic Emergency Light) ซึ่งทํางานดวยระบบอิเล็กทรอนิกส เมื่อระบบไฟฟาหลักกลับมาทํางานตามปกติ ระบบแสงสวางไฟฟาฉุกเฉินก็จะถูกตัดออกจากระบบทันทีโดยอัตโนมัติ โดยปกติแลวระบบแสงสวางไฟฟาฉุกเฉินมักจะนิยมติดต้ังไวที่ทางหนีไฟฟา ประตูเขาออกสํานักงาน หนาลิฟต หรือทางขึ้น – ลง บันได เปนตน

Page 83: คู่มือการใช้ dialux

67

ภาคผนวก ค. อัตราสวนโพรงหองที่ไมใชหองสี่เหลี่ยม

1. พ้ืนที่มีรูปรางเปนลักษณะเปนรูปตัว L ( L – Shaped Room)

หองที่มีรูปรางลักษณะเปนรูปตัว L ดังรูปที่ ค.1 สูตรที่ใช อัตราสวนโพรง = [ 2.5 h × 2 (W+L) ] / (WL – XY)

รูป ค.1 หองรปูตัว L (L-Shaped Room)

2. พ้ืนที่มีรูปรางลักษณะเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (Triangular Room)

หองที่มีรูปรางลักษณะเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากดังรูปที่ ค.2 สูตรที่ใช อัตราสวนโพรง = [ 2.5 h × (A+B+C) ] / [ (A×B)/2 ]

Page 84: คู่มือการใช้ dialux

68

รูป ค.2 หองรปูสามเหลี่ยมมุมฉาก (Triangular Room) 3. พ้ืนที่มีรูปรางลักษณะเปนรูปวงกลม (Circular Room)

หองที่มีรูปรางลักษณะเปนรูปวงกลมดังรูปที่ ค.3 สูตรที่ใช อัตราสวนโพรง = [ 2.5 h × 2R ] / R2 = 5 h / R

รูป ค.3 หองรปูวงกลม (Circular Room)

Page 85: คู่มือการใช้ dialux

69

4. พ้ืนที่มีรูปรางลักษณะเปนรูปหกเหลี่ยม (Hexagonal Room)

หองที่มีรูปรางลักษณะเปนรูปหกเหลี่ยมดังรูปที่ ค.4 สูตรที่ใช อัตราสวนโพรง = [ 2.5 h × 6 L ] / 6[(1/2) × LA] = [ 2.5 h × 6 L ] / 6[(1/2)L2 × 0.866 ]

= 5.77 h / L

รูป ค.4 หองรปูหกเหลี่ยม (Hexagonal Room)

Page 86: คู่มือการใช้ dialux

70

ภาคผนวก ง. การสรางตวัอักษรหลอดไฟนีออนดวย Photoshop 7.0

1. เขาโปรแกรม Photoshop 7.0 และสรางไฟลใหมขึน้มา 2. ลงสีดําดวย

รูปที่ ง.1 หนาตางแสดงภาพ

3. ใชคําสั่ง สรางตัวอักษร โดยทําใหตัวอักษรเปนสีขาว

รูปที่ ง.2 ตัวอักษร

4. ทําให Text กลายเปน Layer เพื่อเตรียมตกแตงขัน้ตอไปโดยการเขาคําสั่ง Layer >> Rasterize >> Layer

รูปที่ ง.3 คําสั่งเปลี่ยน Text เปน Layer

Page 87: คู่มือการใช้ dialux

71

รูปที่ ง.4 Text เปลี่ยนเปน Layer 5. ใชคําสั่ง Select >> Color Range และเลอืกสวนที่เปนสีขาว

รูปที่ ง.5 คําสั่ง Color Range

รูปที่ ง.6 หนาตาง Color Range

รูปที่ ง.7 ผลลพัธจากคําสั่ง Color Range

Page 88: คู่มือการใช้ dialux

72

6. ใชคําสั่ง Select >> Modify >> Contact ปรับคาเปน 1 กด OK แลวกดปุม Delete บนคียบอรดเพื่อลบ พื้นที่สีขาวตรงกลางตัวหนังสือ

รูปที่ ง.8 คําสั่ง Contract…

รูปที่ ง.9 หนาตางคําสั่ง Contract

รูปที่ ง.10 ผลลพัธจากขั้นตอนที่ 6

Page 89: คู่มือการใช้ dialux

73

7. Copy Layer ของตัวหนงัสือเพิ่ม โดยการคลิ๊กซายคางและลากไปที่คําสั่ง New Layer

รูปที่ ง.11 Copy Layer

รูปที่ ง.12 Layer ที่เพิ่มขึ้น

8. ใชคําสั่ง Filter >> Blur >> Gussian Blur แลวปรับคาเปน 3 9. Copy Layer ที่ทําการ Blur เพิ่มอีก 3 Layer จะทําใหสวางมากขึ้น

รูปที่ ง.13 เพิ่ม Layer ที่ใชคําสั่ง Blur

Page 90: คู่มือการใช้ dialux

74

รูปที่ ง.14 ผลลพัธจากคําสั่ง Blur

10. ต้ังใหภาพเปน Grayscale โดยเลือกที่คําสั่ง Image >> Mode >> Grayscale โดยใหทําการ Fletten Image ดวย

รูปที่ ง.15 คําสั่ง Grayscale

รูปที่ ง.16 Fletten Image 11. ต้ังใหภาพกลับมาเปน RGB โดยเลือกทีค่ําสั่ง Image >> Mode >> RGB Color 12. ปรับสีของการสองสวางดวยคําสั่ง Image >> Adjustments >> Color Balance…

Page 91: คู่มือการใช้ dialux

75

รูปที่ ง.17 คําสั่ง Color Balance

รูปที่ ง.18 หนาตาง Color Balance

โดยปรับสีของสวนตางๆดังนี ้- Shadows

รูปที่ ง.19 Color Levels

- Midtones

รูปที่ ง.20 Midtones

- Highlights

รูปที่ ง.21 Highlights

Page 92: คู่มือการใช้ dialux

76

จะไดภาพตัวหนังสือดังนี ้

รูปที่ ง.22 ภาพเสร็จสิ้น

Page 93: คู่มือการใช้ dialux

77

ภาคผนวก จ. คาเฉลี่ยเลขคณิต

( Arithmetic Mean )

คาเฉลี่ยเลขคณิตจัดวาเปนคาที่มีความสําคัญมากในวิชาสถิติ เพราะคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนคากลางหรือเปนตัวแทนของขอมูลที่ดีที่สุด ดวยเหตุผล 4 ประการคือ 1. เปนคาที่ไมเอนเอยีง 2. เปนคาที่มีความคงเสนคงวา 3. เปนคาที่มีความแปรปรวนต่ําที่สุด 4. เปนคาที่มีประสิทธิภาพสูงสุด แตคาเฉลี่ยเลขคณิตก็มีขอจํากัดในการใช เชน ถาขอมูลมีการกระจายมาก หรือขอมูลบางตัวมีคามากหรือนอยจนผิดปกติ หรือขอมูลมีการเพิ่มขึ้นเปนเทาตัว คาเฉลี่ยเลขคณิตจะไมสามารถเปนคากลางหรือเปนตัวแทนที่ดีของขอมูลได การหาคาเฉล่ียเลขคณิตสามารถหาไดจากสูตรดังตอไปนี้

เมื่อ = คาเฉล่ียเลขคณิต Xi = คาสังเกตของขอมูลลําดับที่ i n = จํานวนตัวอยางขอมูล

Page 94: คู่มือการใช้ dialux

78

ภาคผนวก ฉ. สัมประสิทธ์ิการสะทอนแสงของวัสด ุ

โดยปกติแลวคาสัมประสิทธ์ิการสะทอนแสงของเพดาน ผนัง และพื้น โดยทั่วไปจะใชคา 70%, 50% และ 20% ตามลําดับ โดยเปนการสะทอนแสงของ เพดาน ผนัง และพื้น ในกรณีที่มีการใชวัสดุชนิดอื่นและสีอื่นๆ ทําใหคาสัมประสิทธ์ิการสะทอนแสงเปลี่ยนไป ซึ่งสงผลตอคาความสองสวางที่ไดตามไปดวย ตารางที่ ฉ.1 สัมประสิทธิ์การสะทอนแสงของวสัดุ

สี (%) สีและวัสดุ (%) ขาว 70 – 80 น้ําเงิน 10 – 15

ครีมออน 70 – 80 แดงเขม 10 – 15 เหลืองออน 55 – 65 เทาเขม 10 – 15 เขียวออน 45 – 50 น้ําเงินเขม 5 – 10 ชมพ ู 45 – 50 ดํา 4 ฟาออน 40 – 45 อิฐแดง 5 – 25 เทาออน 40 – 45 คอนกรีต 15 – 40 เนื้อออน 25 – 35 สีโอคออน 15 – 20 เหลืองเขม 25 – 35 ขาวอีนาเมล 65 – 75 น้ําตาลออน 25 – 35 กระจกใส 6 – 8

เขียว 25 – 35 ไมสีครีม 50 – 60 สม 20 – 25 พลาสเตอร 80

เขียวสม 10 – 15 วอลนัตเขม 15 - 20

Page 95: คู่มือการใช้ dialux

79

ภาคผนวก ช. คาความสองสวางที่นิยมใชในสถานทีต่างๆ

ในการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางนั้น แตละสถานที่จะมีการใชงานแตกตางกันไป ต้ังแต

ชนิดของการใชงาน ผูใช เวลาที่ใช เพื่อใหสามารถใชงานสถานที่นั้นๆไดอยางเต็มที่ ไมเกิดความลาทางสายตาจนเกิดความรําคาญ ซึ่ง CIE ไดมีการกําหนดคาระดับความสวางเบื้องตนไวดังตารางตอไปนี้ ตารางที่ ช.1 แสดงระดับความสวางต่ําสุดตามมาตรฐาน CIE

ระดับความสวางต่ําสุด ลักซ (lux : lx)

พ้ืนที่อาคารทัว่ไป พืน้ที่รอบๆอาคารและทางเดิน บันไดและบันไดเลื่อน หองรับฝากเสื้อ หมวก และหองน้ํา หองเก็บของ และหองเก็บพัสดุ หองเก็บสินคา โรงงานประกอบชิ้นสวน งานหยาบ : ชิ้นสวนเครื่องจักรใหญ งานปานกลาง : ชิ้นสวนเครื่องยนต ชิ้นสวนตัวถัง งานละเอยีด : อิเล็กทรอนิกส ชิน้สวนเครื่องจักร งานละเอยีดมาก : ชิ้นสวนเครื่องมือวัด งานเคม ี พืน้ที่เครือ่งจักรทั่วไป กระบวนการผลิตอัตโนมัติ หองควบคุม หองปฏิบัติการ โรงงานเภสัชกรรม งานตรวจสอบ งานเปรียบเทียบสี โรงงานผลิตยางรถยนต

100 150 150 150

300 500 750 1000

300 150 500 500 750 1000 500

ชนิดของงานหรืออาคาร

Page 96: คู่มือการใช้ dialux

80

ระดับความสวางต่ําสุด ลักซ (lux : lx)

โรงงานทําเส้ือผา งานเย็บผา งานตรวจสอบ งานรีดผา อุตสาหกรรมไฟฟา โรงงานผลิตสายไฟฟา ชิน้สวนประกอบโทรศัพท สวนประกอบขดลวด ชิน้สวนเครื่องรับวิทยุโทรทัศน ชิน้สวนตองการความเที่ยงตรงสูง อุปกรณอิเล็กทรอนกิส อุตสาหกรรมอาหาร พืน้ที่ทํางานทั่วไป กระบวนการผลิตอัตโนมัติ งานตบแตงดวยมือ งานตรวจสอบ โรงหลอ หลอมุข งานแบบหลอหยาบ งานแบบหลอละเอียด งานตรวจสอบ งานทําแกว หองเตาเผา หองผสม หองทําแบบหลอ การแตงผิว การเคลือบ การขัดเงา การใหสี การตกแตง งานเจียระไน เลนส แกวผลึก งานละเอียด

750 1000 500

300 500 750 1000 1500

300 200 500

200 300 500

150 300 500 750 1000

ชนิดของงานหรืออาคาร

Page 97: คู่มือการใช้ dialux

81

ระดับความสวางต่ําสุด ลักซ (lux : lx)

งานเหล็กและโลหะแผน โรงงานผลิตไมตองใชมือชวยทํา โรงงานผลิตใชมือชวยบางครั้ง สถานที่ผลิตงานอยูถาวร หองควบคุมและตรวจสอบ โรงงานฟอกหนัง พื้นที่ทํางานทั่วไป การรีด ตัด เย็บ ผลิตรองเทา ปรับระดับ ควบคุมคุณภาพ โรงงานเครื่องจักรและสวนประกอบ งานไมประจํา งานฝมือและเครื่องจักรหยาบ การเชือ่ม งานฝมือและเครื่องจักรปานกลาง เครื่องจักรอัตโนมิตทั่วไป งานฝมือและเครื่องจักรละเอียด เครื่องจักรอัติโนมัติละเอียด งานตรวจสอบและทดสอบ งานละเอยีดมาก การวัดและตรวจสอบชิ้นสวนขนาดเล็ก หองพนสี การจุม พนหยาบๆ งานสีธรรมดา พนสี แตงผิว งานสีละเอียด พนสี แตงผิว แตงผิวละเอียดและเปรียบเทียบสี โรงทํากระดาษ งานทําแผนกระดาษ งานสวนกระบวนการอตัโนมัติ งานตรวจสอบ ตัด

100 150 300 500

300 750 1000

200 300 500

750 1500

300 500 750 1000

300 200 500

ชนิดของงานหรืออาคาร

Page 98: คู่มือการใช้ dialux

82

ระดับความสวางต่ําสุด ลักซ (Lux : lx)

งานพิมพและทําปกหนังสือ หองเครือ่งพิมพ หองเรียงพิมพ อานตรวจสอบ ตรวจความถูกตอง การทําแทนแมพมิพ ถอดแบบสีและการพิมพ สลักตัวหนังสือแผนเหล็กและทองแดง การทําปกหนังสือ การปรับแตง พิมพลายนูน อุตสาหกรรมสิ่งทอ การวิดสาด การลากดึง การปนดาย การพัน การมวน การยอม ปนดายครั้งสุดทาย การทําดาย การทอ การเย็บผา การตรวจสอบ โรงฝกงานไมและเครื่องตบแตง โรงเลื่อย งานฝมือและชิ้นสวน การเครื่องจักรในงานไม การแตงผิว ตรวจสอบขั้นสุดทาย ที่ทํางาน ที่ทํางานทั่วไป หองคอมพิวเตอร ที่ทํางานสวนตัว หองเขียนแบบ งานบญัช ี หองประชุม ที่พักรับรอง โรงเรยีนหรือมหาวิทยาลัย หองเรียน หองบรรยาย หองปฏิบัติการ หองสมุด หองอานหนังสือ หองศิลปะ

500 750 1000 1500 2000 500 750

300 500 750 1000

200 300 500 750

500 750 750 500 300

300 500

ชนิดของงานหรืออาคาร

Page 99: คู่มือการใช้ dialux

83

ระดับความสวางต่ําสุด ลักซ (lux : lx)

หางสรรพสินคาและบริเวณจัดนิทรรศการ รานคาธรรมดา รานคาบริการตัวเอง ซูเปอรมารเก็ต หองแสดงสินคา พพิิธภัณฑและภาพศิลปะ : ส่ิงที่แสดงใหความรูสึกตอแสงสูง ส่ิงที่แสดงไมใหความรูสึกตอแสงสูง อาคารสาธารณะ โรงภาพยนต : หองชมภาพยนต หองพัก โรงละครและหองแสดงคอนเสิรต : หองชมการแสดง หองพักตัวแสดง อาคารทีส่ักการะ : โบสถ ที่สวดมนต บานและโรงแรม บาน : หองนอน : ทั่วไป ไฟหัวเตียง หองน้ํา : ทั่วไป โกนหนวด แตงหนา หองรับแขก : ทั่วไป อานหนงัสือ เย็บผา

300 500 750 500

150 300

50 150

100 200

100 150

50 200

100 500

100 500

ชนิดของงานหรืออาคาร

Page 100: คู่มือการใช้ dialux

84

ระดับความสวางต่ําสุด ลักซ (lux : lx)

บันได ครัว : ทั่วไป พื้นที่ทํางาน หองทํางาน หองเด็กออน โรงแรม : หองพักรบัแขก หองอาหาร ครัว หองนอน หองน้ํา : ทั่วไป เฉพาะแหง โรงพยาบาล แผนกรักษาโรค : แสงสวางทั่วไป สวนซักถาม ทีอ่านหนังสือ บรเิวณโดยรอบที่มืด หองตรวจโรค : แสงสวางทั่วไป ตรวจเฉพาะที่ อายุรศาสตรผูปวยหนัก ไฟหัวเตียง สวนสังเกตการณ หองพักพยาบาล

100

300 500 300 150

300 200 500

100 300

100 300 200 5

500 1000

50 750 300

ชนิดของงานหรืออาคาร

Page 101: คู่มือการใช้ dialux

85

ระดับความสวางต่ําสุด ลักซ (lux : lx)

หองผาตดั : แสงสวางทั่วไป เฉพาะแหง หองชนัสตูรศพ : แสงสวางทั่วไป เฉพาะแหง หองปฏิบติัการและหองจายยา : แสงสวางทั่วไป เฉพาะแหง หองพักที่ปรึกษาแพทย : แสงสวางทั่วไป เฉพาะแหง

750

30000

750 10000

500 750

500 750

ชนิดของงานหรืออาคาร

Page 102: คู่มือการใช้ dialux

86

ภาคผนวก ซ. ผลการใชตารางสําหรับประเมินคูมือการใชโปรแกรม

ออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวาง DIALux Version 4.4


Top Related