beijing urban planningบทที่6

28
6-1 บทที่ 6 บทวิเคราะหการวางแผน,การวางผังเมือง,สวนสาธารณะและสนามกีฬาโอลิมปกปกกิ่ง การวางแผนพัฒนาเมืองปกกิ่งมีมาตั้งแตสมัยโบราณ เริ่มตนการวางผังเมืองจากศูนยกลางเมืองคือ พระราชวังตองหาม โดยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ศูนยกลางของปกกิ่งก็ยังเปนพระราชวังตองหาม การพัฒนาเมืองใน ยุตตอๆมาจะยึดถือเอาแนวกําแพงเมืองเดิมของพระราชวังเปนแนวขอบเขตการพัฒนา จะถือไดวาปกกิ่งมีการ วางแผนมาตั้งแตสมัยโบราณซึ่งจะยึดถือแบบแผนการวางผังจากคติความเชื่อ ฮวงจุย พัฒนาเรื่อยมา จนมีการ วางแผนพัฒนาเมืองอยางเปนแบบแผนเมืองป 1953 ซึ่งถือเปนผังเมืองยุคแรกของปกกิ่ง ปกกิ่งจึงเปนเมืองที่การ พัฒนาควบคูไปกับคติความเชื่อ แบบแผนดั้งเดิมของจีน การวางแผนในโครงการพัฒนาเมืองของปกกิ่งในดานตางๆ มีความชัดเจนทั้งในดานการวางผัง และในดาน การวางแผนมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน การแบงเขตพัฒนาเมืองจะเห็นไดอยางชัดเจนจากแผนพัฒนาเมืองลาสุด (The Future Layout) ปกกิ่งจะกําหนดทิศทางในการพัฒนาเมืองดานตางๆอยางมีรูปแบบที่ชัดเจน ซึ่งสามารถนําไป ปฎิบัติไดอยางสอดคลองกับที่แผนที่วางไว ซึ่งจากแผนพัฒนาแหงชาติฉบับที่ 11 (2006 -2010) กรุงปกกิ่งถูก กําหนดใหเปนเขตเศรษฐกิจและการเงิน นานาชาติแหงที่ 3 รองจากนครเซี้ยงไฮ และนครกวางโจว โดยเรียกเขต พัฒนาแหงนี้วา เขตเศรษฐกิจ จิงจินจีซึ่งมีนครปกกิ่งเปนศูนยกลาง และประกอบดวย นครเทียนจิน มลฑลเหอเปย ซึ่งจากแผนพัฒนาปกกิ่งระหวางป 2004-2020 ในบทที่ผานมา ปกกิ่งมีนโยบายโดยไดออกแผนพัฒนากรุงปกกิ่งคือ พัฒนาใหเปนเมืองหลวงที่มีศักยภาพในทุกดาน เปนเมืองนานาชาติ เปนเมืองแหงวัฒนธรรม และเปนเมืองที่นาอยู อาศัยซึ่งสามารถแบงการวิเคราะหการวางแผนเมืองไดดังนีรูปที6.1 แสดงสถานที่สําคัญใน โครงการพัฒนาเมือง ในนครปกกิ่ง ที่มา : http://www.flickr.com

Upload: api-19917942

Post on 13-Jun-2015

45 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: Beijing Urban Planningบทที่6

6-1

บทที่ 6 บทวิเคราะหการวางแผน,การวางผังเมือง,สวนสาธารณะและสนามกีฬาโอลิมปกปกกิ่ง

การวางแผนพัฒนาเมืองปกกิ่งมีมาตั้งแตสมัยโบราณ เริ่มตนการวางผังเมืองจากศูนยกลางเมืองคือ

พระราชวังตองหาม โดยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ศูนยกลางของปกกิ่งก็ยังเปนพระราชวังตองหาม การพัฒนาเมืองใน

ยุตตอๆมาจะยึดถือเอาแนวกําแพงเมืองเดิมของพระราชวังเปนแนวขอบเขตการพัฒนา จะถือไดวาปกกิ่งมีการ

วางแผนมาตั้งแตสมัยโบราณซึ่งจะยึดถือแบบแผนการวางผังจากคติความเชื่อ ฮวงจุย พัฒนาเรื่อยมา จนมีการ

วางแผนพัฒนาเมืองอยางเปนแบบแผนเมืองป 1953 ซึ่งถือเปนผังเมืองยุคแรกของปกกิ่ง ปกกิ่งจึงเปนเมืองที่การ

พัฒนาควบคูไปกับคติความเชื่อ แบบแผนดั้งเดิมของจีน

การวางแผนในโครงการพัฒนาเมืองของปกกิ่งในดานตางๆ มีความชัดเจนทั้งในดานการวางผัง และในดาน

การวางแผนมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน การแบงเขตพัฒนาเมืองจะเห็นไดอยางชัดเจนจากแผนพัฒนาเมืองลาสุด

(The Future Layout) ปกกิ่งจะกําหนดทิศทางในการพัฒนาเมืองดานตางๆอยางมีรูปแบบที่ชัดเจน ซึ่งสามารถนําไป

ปฎิบัติไดอยางสอดคลองกับที่แผนที่วางไว ซึ่งจากแผนพัฒนาแหงชาติฉบับที่ 11 (2006 -2010) กรุงปกกิ่งถูก

กําหนดใหเปนเขตเศรษฐกิจและการเงิน นานาชาติแหงที่ 3 รองจากนครเซี้ยงไฮ และนครกวางโจว โดยเรียกเขต

พัฒนาแหงนี้วา เขตเศรษฐกิจ “จิงจินจี้” ซึ่งมีนครปกกิ่งเปนศูนยกลาง และประกอบดวย นครเทียนจิน มลฑลเหอเปย

ซึ่งจากแผนพัฒนาปกกิ่งระหวางป 2004-2020 ในบทที่ผานมา ปกกิ่งมีนโยบายโดยไดออกแผนพัฒนากรุงปกกิ่งคือ

“พัฒนาใหเปนเมืองหลวงที่มีศักยภาพในทุกดาน เปนเมืองนานาชาติ เปนเมืองแหงวัฒนธรรม และเปนเมืองที่นาอยู

อาศัย” ซึ่งสามารถแบงการวิเคราะหการวางแผนเมืองไดดังนี้

รูปที ่6.1 แสดงสถานที่สําคัญในโครงการพัฒนาเมือง ในนครปกกิ่ง

ที่มา : http://www.flickr.com

Page 2: Beijing Urban Planningบทที่6

6-2

6.1 บทวิเคราะหแผนพัฒนาเมืองของปกกิ่ง

จากนโยบายในการพัฒนากรุงปกกิ่งของรัฐบาลคือ นโยบาย สองแกน (Two axes),สอง

โซน (Two belts) และเมืองแหงศูนยกลาง (Multiple centres) ซึ่งเปนตัวชี้นําการพัฒนาของเมืองซึ่ง

สามารถวิเคราะหไดดังนี้

6.1.1 แผนพัฒนา เมือง 2 แกน (Two Axes) สองโซน (Two Belt)

สองแกน (Two axes) คือ แกนเสนแนวนอนจากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตกตามแนว

ถนนฉางอัน และแกนเสนแนวตั้งจากทิศเหนือไปยังทิศใตตัดกับแกนเสนแนวนอน โดยพื้นที่ตาม

แนวสองแกนนี้เปนศูนยรวมของสถานที่สําคัญของกรุงปกกิ่ง อาทิ พระราชวังโบราณ จตุรัสเทียนอัน

เหมิน ถนนวัฒนธรรมหลิวลี่ฉาง เปนตน อีกทั้งเปนที่ตั้งของที่ทําการตางๆ ของรัฐบาล นับไดวาพื้นที่

ที่ขนานไปตามแนวสองแกนนี้เปนศูนยกลางหลักในการพัฒนากรุงปกกิ่งตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน

สองโซน (Two belts) คือ โซนพื้นที่ดานตะวันออกประกอบดวย เขตฮวายโหรว อําเภอมี่

หยุน เขตซุนยี่ เขตทงโจว เขตอี้จวง เขตผิงกู โซนพื้นที่ดานตะวันตกประกอบดวย อําเภอเหยียนชิ่ง

เขตชางผิง เขตเหมินโถวโกว เขตฝางซาน และเขตตาซิง

แผนพัฒนา เมือง 2 แกน (Two Axes) สองโซน (Two Belt) ทําใหการเชื่อมโยงเมืองปกกิ่ง

ที่เปนเมืองขนาดใหญ และมีพื้นที่พัฒนาตางๆ ที่อยูรอบๆศูนยกลางเมือง สามารถเชื่อมโยงเขาหา

กัน ทําใหการติดตอธุรกิจ การคา หรือการเดินทาง การขนสงทําไดอยางสะดวก แตการเชื่อมโยง

ดวยวิธีการนี้อาจมีปญหาในบางชวงเวลา เชนการเดินทางในชวงเวลาเรงดวน หรือชวงเวลาที่มี

กิจกรรมของเมือง จะทําใหเมืองไมสามารถรองรับการขนสงในทุกระบบไดเพียงพอ

รูปที ่6.2 แผนพัฒนา เมือง 2 แกน (Two Axes) สองโซน (Two Belt)และเมืองแหงศูนยกลาง (Multiple centres) ของนครปกกิ่ง

ที่มา : http://www.btmbeijing.com/

/beijing/development

Page 3: Beijing Urban Planningบทที่6

6-3

ศูนยกลางเมืองหลากหลาย (Multiple centres) กรุงปกกิ่งกําหนดผังเมืองเปน

เมืองหลายศูนยกลาง โดยการกระจายการพัฒนาออกไปโดยรอบศูนยกลาง โดยแตละ

ศูนยกลางจะมีบทบาทหนาที่ การพัฒนาแตกตางกันไปตามศักยภาพของพื้นที่ โดยปกกิ่ง

ไดแบงการพัฒนาออกเปน 2 สวนคือ

1. พื้นที่ศูนยรวมภาคบริการ

โดยไดแบงออกเปน 8 พื้นที่ กระจายอยูรอบศูนยกลางเมือง พื้นที่เหลานี้ไดมีการ

วางแผนการพัฒนามาตั้งแตแผนพัฒนาเมืองป 1992 -2010 และพัฒนาตอมาเรื่อยๆ

แผนพัฒนาในป 2004-2020 ไดกําหนดพื้นที่ศูนยรวมภาคบริการ เพื่อกระตุนการลงทุน

และผลักดันในปกกิ่งพัฒนาใหเปนเมืองหลวงที่มีศักยภาพในทุกดาน ทั้งดานเทคโนโลยี

การผลิต ,เทคโนโลยีการกอสราง ,การวิจัย และการศึกษารวมถึงการเปนผูนําใน

อุตสาหกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมีเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเอง ปกกิ่งพยายาม

ดําเนินการใหเปนเมืองที่มีความทันสมัยและเห็นผลอยางแทจริงภายในป 2020 เขตพื้นที่

ศูนยรวมภาคบริการเหลานี้จึงเปนพื้นที่สําคัญ มาตรการและการบังคับใช ที่สามารถทําให

พื้นที่เหลานี้พัฒนาไปตามแผนที่วางไว แตปญหาของการพัฒนาเขตพื้นที่เหลานี้คือพื้นที่ที่

พัฒนาจะอยูภายในวงแหวนรอบที่ 2 และ 3 ซึ่งปจจุบัน เปนพื้นที่ที่มีความหนาแนนสูง ทํา

ใหการคมนาคมขนสงมีปญหา และการพัฒนาภายในพื้นที่วงแหวนรอบตางๆนี้ ทําใหที่ดิน

มีราคาสูงขึ้นและที่พักอาศัยไมเพียงพอตอความตองการ ทําใหที่พักอาศัยเริ่มกระจายตัวออกสูบริเวณรอบนอกของเมือง

รูปที ่6.3แผนพัฒนา เมือง 2 แกน (Two Axes)สองโซน (Two Belt)และเมืองแหงศูนยกลาง

(Multiple centres) ของนครปกกิ่ง

ที่มา : http://www.btmbeijing.com/ /beijing/development

Page 4: Beijing Urban Planningบทที่6

6-4

2.พื้นที่เมืองใหมพื้นที่พัฒนาเมืองใหมของปกกิ่งนั้นจะแบงตามการพัฒนาเศรษฐกิจ

ซึ่งตําแหนงที่ตั้ง และการเชื่อมตอกันของพื้นที่ ทรัพยากรที่มีอยูในพื้นที่นั้นๆ เมืองใหม

เหลานี้จะชวยลดความแออัดจากศูนยกลางเมือง เปนพื้นที่ที่รองรับการเจริญของเมือง

ซึ่งในปจจุบันเมืองปกกิ่งไดขยายตัวอยางรวดเร็ว เมืองใหมที่ปกกิ่งจะพัฒนานั้นมี

ทั้งหมด 11 เมืองดวยกัน กระจายอยูรอบเมืองปกกิ่ง จากภาพจะเห็นไดวา เมืองใหมจะ

อยูหางจากศูนยกลางเมืองประมาณ 15-30 กิโลเมตร(ดูรูปที่ 6.1)และมีพื้นที่สีเขียว

(Green Belts) คั่นระหวางเมืองใหมและศูนยกลางเมือง ซึ่งเปนการวางแผนที่จะจํากัด

การเจริญเติบโตของศูนยกลางเมืองไดในระดับหนึ่ง เมืองใหมแตละเมือง จะมีหนาที่

แตกตางกันไปตามศักยภาพของพื้นที่นั้น จะเปนพื้นที่สําคัญในการพัฒนาดาน

เศรษฐกิจ และรองรับประชากรที่จะเพิ่มขั้นของเมืองในอนาคตไมใหความเจริญไป

กระจกตัวอยูเฉพาะภายในศูนยกลางเมือง แตเนื่องจากปกกิ่งไดพัฒนาเมืองอยาง

รวดเร็วทําใหจํานวนประชากรเพิ่มขึ้นทั้งนี้ยังมีประชากรที่อพยพยายถิ่นเขามาทํางาน

เนื่องจากความตองการแรงงานในภาคอุตสาหกรรม และภาคการทองเที่ยว ทําใหปกกิ่ง

โครงสรางพื้นฐานตางๆอาจไมเพียงพอตอความตองการ หากมีประชากรมากเกนกวาที่

ไดตั้งเปาหมายไว รวมทั้งเมืองใหมตางๆ นี้ ไมไดอยูไกลจากศูนยกลางมากนัก ในพื้นที่

ที่มีการพัฒนาการลงทุนเปนจํานวนมาก ก็อาจทําใหเกิดความแออัดและขยายพื้นที่

ลามไปจนรวมเขากับศูนยกลาง และรุกล้ําไปยังเขตเกษตรกรรมของเมือง

รูปที ่6.4 รัศมีการพัฒนาเมืองใหม) ของนครปกกิ่ง

ที่มา : http://www.btmbeijing.com/ /beijing/development

Page 5: Beijing Urban Planningบทที่6

6-5

6.1.2 การวางแผนอนุรักษสิ่งแวดลอมที่มีคุณคาในแผนพัฒนาเมืองปกกิ่งไมวาดานใด ปกกิ่งจะพยายามที่จะใสใจในดานสิ่งแวดลอมเนื่องจากปกกิ่งเองถูกจับตาในเรื่องการทําลายสภาพแวดลอม

ดังนั้นในแผนพัฒนาเมือง ปกกิ่งจะอนุรักษพื้นที่ที่เปนปาไมและพื้นที่ภูเขาเดิมไมใหพื้นที่เมืองเขาไปลุกล้ํา จะเห็นไดจากผังการใชประโยชนที่ดินของปกกิ่ง

พื้นที่สีเขียว คือพื้นที่ปาไมนั้นไมไดลดลงจากป 1975 แตกลับเพิ่มขึ้น เนื่องจากปกกิ่งมีนโยบายในการจํากัดการพัฒนาและมีการปลูกปาเพิ่ม รวมทั้งยัง

อนุรักษแหลงน้ําเดิม(สีฟา) ไวและจะเห็นไดชัดวาแมปกกิ่งจะมีการขยายตัวของสิ่งกอสราง (สีชมพู) แตก็ไมไดรุกล้ําเขาไปในเขตปาไม และเปนเพียงการ

ขยายตัวไปในเขตเกษตรกรรม(สีเหลือง)เทานั้น ทําใหปกกิ่งยังคงรักษาพื้นที่ปาไมไวไดเปนอยางดี

ถึงแมปกกิ่งจะพยายามคงพื้นที่สวนที่เปนภูเขาและปาไมไวได แตพื้นที่เกษตรดั้งเดิมของปกกิ่งก็ลดลงเปนจํานวนมาจากการพัฒนาเมือง ซึ่งอนาคต

เมือง เมืองพัฒนาเจริญเติบโตขึ้น ความตองการดานการใชพื้นที่ที่เพิ่มขึ้น แตยังไมมีการกําหนดพื้นที่อนุรักษเกษตรกรรม จะทําใหพื้นที่เกษตรกรรมของปกกิ่ง

นั้นลดขนาดลงและอาจรุกล้ําไปในพื้นที่ที่เปนพื้นที่ปาไม

รูปที ่6.5 แสดงผังการใชประโยชนที่ดินของปกกิง่ที่มา : วิชัย บุญวาศ, เอกสารประกอบการสอนวชิาการศึกษาดูงานภาคสนาม

(กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2551)

Page 6: Beijing Urban Planningบทที่6

6-6

6.2 บทวิเคราะหผังเมืองปกกิ่ง

6.2.1 ศูนยกลางเมือง

ศูนยกลางของเมืองตางๆมักจะเปนศูนยกลางเศรษฐกิจและการคา (CBD) แตปกกิ่ง

ศูนยกลางของเมืองจะเปนยานเมืองเกา (บริเวณพระราชวังตองหาม) ปกกิ่งเปนเมืองที่คงเอา

ประเพณี วัฒนธรรม อันเกาแกและมีคุณคาของตัวเองเอาไวไดอยางดี ทั้งนี้พระราชวังตองหาม

เองก็มีประวัติศาสตรอันยาวนาน และถือเปนทั้งศูนยกลางทางดานประวัติศาสตร ที่มีคุณคา ทั้ง

เปนศูนยกลางจิตใจของประชาชน และดานหนาพระราชตองหามคือ จัตุรัสเทียนอันเหมินเองก็

เปนจุดหมายตา (Landmark) ไดเปนอยางดี เปนพื้นที่สาธารณะที่รองรับทั้งการทองเที่ยว และ

การทํากิจกรรมของประชาชนอีกดวย

ดังจะเห็นไดวาบริเวณพระราชวังตองหามและโดยรอบเปนพื้นที่อนุรักษ ซึ่งปกกิ่งเองมี

มาตรการในการควบคุมหลายดานเพื่อควบคุมอาคารทั้งบริเวณ พระราชวัง และโดยรอบ อีกทั้ง

ยังมีการเขาไปจัดการในชุมชนที่อยูบริเวณนั้น เพื่อทั้งการอนุรักษ และเหตุผลทางเศรษฐกิจที่ได

จากการทองเที่ยว การพัฒนาตางๆของปกกิ่งไมวาจะเปนการตัดถนนและการพัฒนาพื้นที่ ปกกิ่ง

ใหความสําคัญตอประวัติศาสตร การพัฒนาจึงเปนการพัฒนาออกจากจุดศูนยกลาง (พระราชวัง

ตองหาม) โดยลักษณะการพัฒนาจะพัฒนาตามการตัวถนนวงแหวนและถนนแนวรัศมี แตบริเวณ

ศูนยกลางก็ยังคงเปนถนนกริดตาตารางเดิม การพัฒนาของปกกิ่งจะพัฒนาออกเปนชั้นตามวง

แหวนซึ่งจะมีเขตพัฒนาเมืองใหม เพื่อกระจายความแออัด และสะดวกตอการขนสง เขตพัฒนา

เมืองใหมเหลานี้จะชวยพัฒนาปกกิ่งในหลายดาน

รูปที ่6.6 บริเวณเมืองเกาของปกกิ่งที่มา : วิชัย บุญวาศ, เอกสารประกอบการสอนวชิาการศึกษาดูงานภาคสนาม (กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาการออกแบบและ

วางผังชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2551),

Page 7: Beijing Urban Planningบทที่6

6-7

สรุปไดวาศูนยกลางเมืองของกรุงปกกิ่งนั้นมีความสําคัญทั้งดานประวิติศาสตร,ศูนยการราชการ

และยังเปนศูนยกลางการทองเที่ยวทางดานประวัติศาสตร การพัฒนาศูนยกลางที่เปนเมืองเกา จะตองมี

การปรับปรุงสภาพแวดลอมใหสามารถรองรับการเปนศูนยกลางเมือง ยานประวัติศาสตรของปกกิ่งจะมี

คนเดินทางเขามาใชเปนจํานวนมากทั้งการติดตอราชการ และนักทองเที่ยวที่ตางเดินทางเขามาทองเที่ยว

โดยเฉพาะหลังจากการแขงขันโอลิมปก จึงหลีกเลี่ยงไมไดที่จะมีผลกระทบตอเมืองเกาในการที่จะพัฒนา

สิ่งอํานวยความสะดวกใหเพียงพอ แตปกกิ่งเองก็มีแผนอนุรักษเมืองเกา ที่ปองกันทั้งความสูงและรูปแบบ

อาคาร ทําใหสามารถลดผลกระทบที่เกิดจากการพัฒนาเมืองไดสวนหนึ่ง

รูปที ่6.7 บริเวณเมืองเกาของปกกิ่ง และพื้นที่พัฒนาเปนเมืองของปกกิ่ง

ที่มา : http://www.btmbeijing.com/ /beijing/development

Page 8: Beijing Urban Planningบทที่6

6-8

6.2.2 ดานสถาปตยกรรม

การแขงขันกีฬาโอลิมปก 2008 ถือเปนจุดสําคัญของการวางแผนเมือง ปกกิ่งตาดหวังใหการ

จัดการแขงขันโอลิมปกครั้งนี้แสดงไดถึงความรุงเรืองซึ่งสามารถสะทอนถึงการยอมรับจากนานาชาติ ไม

เพียงแตการแสดงความพรอมในทุกๆดานแตผลพลอยไดที่ตามมาคือการลงทุนครั้งมโหฬารเพื่อพัฒนา

ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานตางๆ โครงการพัฒนาเมืองในดานตางๆโดยเฉพาะการสิ่งกอสรางใหมๆ ที่

ปกกิ่งผลักดันเพื่อทําใหปกกิ่งกลายเปนศูนยรวมความทันสมัยในหลายๆดาน อาทิเชนสถาปตยกรรมที่มี

การออกแบบที่แปลกตามหลายๆแหงที่กลายเปนเสมือนสัญลักษณของโอลิมปก ทั้งสนามกีฬาแหงชาติ

หรือที่เรียกกันวา สนามรักนก (Bird s Nest) และสระวายน้ํา หรือ Water Cube สนามแขงขันวายน้ําและ

ดําน้ํา ซึ่งเปนที่แนนอนวาความยิ่งใหญของสิ่งกอสรางทั้งสองแหงถือเปนการประกาศตอสังคมโลกถึง

ความลําหนาทางดานสถาปตยกรรมของจีน

นอกจากสิ่งกอสรางที่เกี่ยวกับโอลิมปกโดยตรงแลว อาคารตางๆภายในยานธุรกิจของปกกิ่ง

(CBD) โดยมีการสรางสิ่งกอสรางใหมๆแทนสิ่งกอสรางเดิม ทั้งนี้แลนดมารคที่เดนชัดของบรรดาตึกสูง

ยังคงเปนสํานักงานใหญของสถานีโทรทัศนแหงชาติ จีน หรือ CCTV ที่มีรูปทรงคลายตัวแอล 2 ตัวมาชน

กัน ความสูง 51 ชั้น รูปลักษณภายนอกเปนกระจกสีเขมคลุมดวยเหล็กกลา นอกจากนี้ยังมีสถาปตยกรรม

ที่แปลกตา เชน ตัวอาคารเทอรมินอลใหมของทาอากาศยานกรุงปกกิ่ง ซึ่งออกแบบโดย นอรแมน ฟอ

สเตอร และโรงละครแหงชาติรูปทรงโมยักษซึ่งออกแบบโดย ปอล อองโด สถาปนิกชาวฝรั่งเศส ดังนั้นจะถือ

ไดวาการแขงขันโอลิมปกครั้งนี้ เปนเวทีในการโชวความสามารถในดานสิ่งกอสรางของจีนก็วาไดรูปที ่6.8 แสดงอาคารเกาในนครปกกิ่ง

ที่มา : จากการศึกษาภาคสนาม

Page 9: Beijing Urban Planningบทที่6

6-9

6.2.3 ระบบถนนของปกกิ่ง

ถนนของปกกิ่งแบงออกเปน 3 แบบ โดยภายในเขตเมืองเกาของปกกิ่ง เปนถนนแบบ

ตาตารางกริด และภายนอกเปนถนนวงแหวน ที่เชื่อมโยงดวยถนนแบบรัศมี ซึ่งวิเคราะหจากทฤษฎีได

ดังนี้

ระบบโครงขายถนนในเมือง

Gaillon & Eisner (1963) แบงประเภทและหนาที่ของถนนในเมือง โดยพิจารณาจากหนาที่

การใหบริการและแบงตามลําดับความสําคัญ 4 ประเภท คือ

· ถนนสายประธาน ทําหนาที่ใหการบริการจราจรเขา-ออก หรือผานเมือง การจราจรมี

ความเร็วสูง

· ถนนสายหลัก ทําหนาที่กระจายการจราจรจากถนนสายประธาน ไปสูพื้นที่ตางๆของเมือง

· ถนนสายรอง ทําหนาที่กระจายการจราจรจากถนนสายหลัก

· ถนนสายยอย ทําหนาที่รองรับการจราจรยานที่อยูอาศัยโดยเชื่อมตอกับถนนสายรอง เปน

ถนนที่ใหบริการเขาถึงพื้นที่

รูปที ่6.9 แสดงการเดินทางดวยรูปแบบตางๆในนครปกกิ่ง

ที่มา : จากการศึกษาภาคสนาม

Page 10: Beijing Urban Planningบทที่6

6-10

ถนนตาตารางกริดรูปแบบแรกของถนนภายในเมืองชั้นในของปกกิ่งที่พัฒนารูปแบบ

ถนนตามถนนเดิมของพระราชวัง ตามเอกสารระบบโครงขายของถนนจาก

วารสารกรมผังเมืองไดใหความหมายถนนรูปแบบนี้ไวคือ รูปแบบของถนน

ตาหมากรุก ประกอบดวยแกนถนนแนวยาวและแนวขวางตัดกันเปนตาราง

สี่เหลี่ยม ขอดีคือ เกิดความสม่ําเสมอของการเขาถึงพื้นที่ ขอเสียคือ มีทาง

รวม ทางแยกมากเกินไป ไมสะดวกสําหรับการเดินทางที่มีจุดเริ่มตนและ

จุดหมายในแนวทแยงมุม

จากการที่ปกกิ่งพัฒนารูปแบบเมืองโดยยึดถือเอาศูนยกลางเมือง

คือพระราชวังเปนศูนยกลางเมือง การเดินทางเพื่อเขาไปในศูนยกลางเมือง

ของประชาชนจะเพื่อติดตอราชการ และจะเนนเรื่องการทองเที่ยวดานประ

วิติศาสตรเปนหลัก ทําใหภายในศูนยกลางเมืองมีความเปนระเบียบและ

จดจําไดงายจากพระราชวัง และจัตุรัสเทียนอันเหมิน สวนการเดินทางเพื่อ

ไปทํางาน หรือประกอบธุรกิจ ปกกิ่งไดจัดพื้นที่เพื่อพัฒนาดานธุรกิจ (CBD)

มีระยะหางไปทางทิศตะวันออกของพระราชวังตองหามประมาณ 2.3

กิโลเมตร ถนนตาตาราง กริดจึงใชไดดีกับเมืองปกกิ่ง เพราะงายตอการ

จัดระบบการจราจร ,ระบบขนสงมวลชน และกระจายความหนาแนนของ

ประชาชน แตเนื่องจากมีทางรวมทางแยกจํานวนมากทําใหการจราจรติดขัดในชวงเวลาเรงดวน จะเห็นไดชัดวาการเดินทางในปกกิ่งเราะพบทางแยกจํานวนมา และมี

อันตรายจากจักรยาน เนื่องจากมีจํานวนมากและเมื่อมีทางแยกจํานวนมาก โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุมาเพิ่มมากขึ้น

รูปที ่6.10 แสดงระถนนตาตารางกริดภายในเมืองและภายในวงแหวนชั้นในเกาของปกกิ่งที่มา : http://worldmapsnline.com

Page 11: Beijing Urban Planningบทที่6

6-11

ถนนรัศมีการแบงระบบโครงขายของถนนจากวารสารกรมโยธาธิ

การและผังเมือง รูปแบบของระบบถนนรัศมี เปนระบบที่ถนนแยก

จากจุดตัดโดยเฉพาะในยานใจกลางเมืองและแผกระจายออกไป

ดานนอกตามเสนทางที่สําคัญ ขอด-ีขอเสีย คือการเดินทางจาก

กลางเมืองสามารถทําไดรวดเร็ว แตพื้นที่รับบริการอาจไมทั่วถึง

และการจราจรมีแนวโนมติดขัดบริเวณใจกลางเมือง

ถนนแบบรัศมีใชเพื่อเขื่อมโยงศูนยกลางดานตางๆที่สําคัญ

ของปกกิ่ง เชนศูนยกลางการคาและธุรกิจ (CBD) ,ศูนยกลาง

โอลิมปก ,ศูนยกลางการบิน,เขตศูนยกลางเทคโนโลยีและ

วิทยาศาสตรจงกวนชุน และเขตที่ปกกิ่งกําหนดเปนเขตพัฒนา

ทั้งหมดจากศูนยกลางเมืองออกไปสูเขตการพัฒนา รวมไปถึงเมือง

ใหมตางๆ ไดอยางรวดเร็วดวยถนนระบบรัศมี การเดินทางดวยถนน

ระบบนี้จะทําใหการเดินทางการศูนยกลางเมืองของปกกิ่งออกสู

นอกเมืองเปนไปไดอยางรวดเร็ว แตก็มีปญหาบริเวณเมืองชั้นในที่

การจราจรจะหนาแนน แตปกกิ่งก็มีระบบถนนวงแหวนที่สามารถ

ชวยลดความหนาแนนของการจราจรไดบางสวนรูปที ่6.11 แสดงรูปแบบถนนรัศมีที่กระจายการเดินทาง

จากศูนยกลางเมืองสูเขตตางๆในนครปกกิ่งที่มา : ภาพจัดแสดงภายในศูนยนิทรรศการผังเมืองปกกิ่ง

Page 12: Beijing Urban Planningบทที่6

6-12

ถนนวงแหวน

การแบงระบบโครงขายของถนนจากวารสารกรมโยธาธิการ

และผังเมืองรูปแบบของถนนระบบวงแหวน มีลักษณะของถนนที่

วางตัวเปนวงรอบศูนยกลางของเมือง โดยทั่วไปเกิดขึ้นคูกับรูปแบบ

ถนนรัศมี เพื่อสามารถเลือกเสนทางการเดินทางเขาสูศูนยกลางเมือง

ได ยานพาหนะไหลเวียนไดสะดวกทั้งบริเวณในเมืองและรอบเมือง

ถนนวงแหวนที่เชื่อมเมืองทั้ง 6 รอบนั้นทําใหหนาที่เพื่อ

เชื่อมโยงระบบถนนแนวรัศมีและเชื่อมโยงเขตการพัฒนาที่สําคัญตาง

เขาดวยกันโดยไมตองเดินทางผาเขาสูตัวเมือง ทําใหลดการแออัด

ของการจราจร ถึงแมการเดินทางจะมีระยะทางที่ไกลกวา แตก็มี

ความสะดวกและรวดเร็วกวาการเดินทางที่ตองเดินทางเขาสูตัวเมือง

เมื่อตองการเดินทางไปยังอีกฟากของเมือง ถนนวงแหวนของปกกิ่ง

แตละรอบยังชวยในการจดจําเมืองจากเสนทางไดเปนอยางดี การ

พัฒนาตางๆของปกกิ่งเองก็จะเนนการพัฒนาในวงแหวนรอบนอก

เพื่อลดความแออัดในเมือง ทั้งนี้การจัดการตางๆ เชนการใชประโยชน

ที่ดิน,การกําหนดเขตการอนุรักษ,หรือการจัดการระบบการขนสง

มวลชน ก็สามารถใชแนววงแหวนแตละรอบเปนตัวกําหนดการ

พัฒนา ทําใหจดจําและกําหนดพื้นที่ไดอยางชัดเจน

รูปที ่6.12 แสดงรูปแบบถนนวงแหวนทั้ง 6 รอบในนครปกกิ่งที่มา : ภาพจัดแสดงภายในศูนยนิทรรศการผังเมืองปกกิ่ง

(Beijing Planning Exhibition Hall)

Page 13: Beijing Urban Planningบทที่6

6-13

6.2.4 ดานระบบทางเทาและทางจักรยานของเมือง

ระบบถนนของปกกิ่งเปนระบบกริดตาตารางมีถนนวงแหวนรอบเมือง ซึ่ง

ประกอบดวยถนนวงแหวน 6 รอบซึ่งกําแพงเมืองเกาของปกกิ่งถือเปนวงแหวน

รอบที่ 2 จะเห็นไดวาปกกิ่งมีมาตรฐานของถนนที่แตกตางจากประเทศอื่นทาง

ตะวันตก ซึ่งถนนปกกิ่งเปนถนนที่ถือไดวาใหความสําคัญกับทางจักรยาน

เนื่องจากการแบงเลนของการใชงานของพาหะนะนั้นๆ รูปแบบมาตรฐานใน

การศึกษาภาคสนามจะเห็นไดวาถนนในเมืองและภายในวงแหวนทั้ง 6 รอบนั้น

จะมีทางเดินเทา และทางจักรยานควบคูไปกับถนนทุกสาย บางเสนทางก็แยกการ

เดินทางดวยจักรยานออกจากพาหนะชนิดอื่น แตบางเสนทางก็ใชรวมกันแตก็มี

การตีเสนแบงไวอยางชัดเจน การปรับการออกแบบถนนใหเขากับความตองการ

ผูใช ปกกิ่งถือเปนเมืองที่มีผูใชจักรยานเปนจํานวนมากถนนในปกกิ่งจึงมีชอง

การจราจรของจักรยานที่ใหญ และซึ่งสวนใหญก็แยกออกจากถนนที่รถวิ่ง ทําให

เกิดความปลอดภัย และยังทําใหปกกิ่งผูคนยังคงใชจักรยานในการเดินทางอยู ซึ่ง

จะแตกตางจากมาตรฐานถนนของอเมริกา แตมาตรฐานของปกกิ่งก็สามารถใช

งานไดดีและเหมาะสมกับวิถีชีวิตของผูคนในปกกิ่ง

ปญหาของระบบการจราจรของปกกิ่งสวนใหญจะเกิดจากระบบถนนของปกกิ่งภายในตัวเมืองที่จะเปนถนนตาตาราง ซึ่งทําใหมีทางรวมและทางแยกจํานวน

มาก แลเนื่องจากผูคนในปกกิ่งนิยมใชจักรยานจํานวนมากทําใหเกิดปญหาในบริเวณทางแยก ซึ่งจะมีปญหาเกี่ยวกับการเลี้ยวรถ ซึ่งจักรยานตองออกจากชองทางเพื่อ

ขามทางแยก ดังนั้นการจัดระบบการจรของปกกิ่งในสวนนี้จึงมีปญหาอยูมาก แตโดยรวมแลวมาตรฐานในดานทางเทาและทางจักรยานนั้นดีมากเพราะสามารถชักจูง

ใหคนหันมาใชจักรยานและทางเทา

รูปที ่6.13 แสดงปญหาบริเวณทางรวมและทางแยกที่มีจํานวนมากในนครปกกิ่งที่มา : วิชัย บุญวาศ, เอกสารประกอบการสอนวชิาการศึกษาดูงานภาคสนาม

(กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2551).

Page 14: Beijing Urban Planningบทที่6

6-14

6.2.5 ระบบขนสงมวลชน

ปกกิ่งมียานพาหนะทั้งหมด 2.22 ลานคัน แยกเปนรถยนตสวนบุคคล 1 ลานคัน มีถนนภายในเมืองทั้งหมด 3,727 กิโลเมตร ,ทางดวน 215 กิโลเมตร

และไฮเวย 14,453 กิโลเมตร ปกกิ่งมีระบบขนสงหลายประเภท เชน รถไฟ ,รถไฟความเร็วสูงเชื่อมเมือง, รถไฟฟา .รถไฟใตดิน และรถเมล รวมถึง BRT แตปกกิ่งก็ยังมี

ระบบขนสงมวลชนประเภทระไฟฟานอยเมื่อเทียบกับจํานวนประชาชน เนื่องจากการขนสงประเภทนี้สามารถขนคนไดมากกวาในขณะที่ใชพื้นที่นอยกวา ปจจุบัน

ปกกิ่งมีรถไฟฟาใตดินและรถลอยฟา ประกอบดวย สาย 1 สาย 2 สาย 13 สายปาทางเชี่ยนและสาย 5 รวมระยะทางวิ่งเปน 142 กิโลเมตร มีสถานีทั้งหมด 93 สถานี

แตเมื่อเทียบปกกกิ่งกับเซี้ยงไฮจะเห็นไดอยางชัดเจนวา ปกกิ่งเปนเมืองที่มีรถยนตสวนบุคคลมากกวาถึง 45 เปอรเซ็นต ดังนั้นการเดินทางภายในปกกิ่งเองยังตอง

พัฒนาระบบการขนสง ซึ่งปกกิ่งเองก็มีการวางแผน เสนทางรถไฟฟาเพื่อลดความหนาแนนของจราจร และเมื่อปกกิ่งพัฒนาระบบขนสงมวลชนไดตามแผนที่วางไว

ปกกิ่งจะมีรถไฟฟาระยะทางทั้งหมด 320 กิโลเมตรใน 22 เสนทาง และมี BRT อีกมากกวา 100 กิโลเมตร การพัฒนาระบบขนสงจะทําใหปกกิ่งลดความแออัดจาก

การจราจรและยังลดมลภาวะทางอากาศไดอีกดวย

รูปที ่6.14 ระบบขนสงมวลชนในปกกิ่งที่มา : วิชัย บุญวาศ, เอกสารประกอบการสอนวิชาการศึกษา

ดูงานภาคสนาม (กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2551), 56.

Page 15: Beijing Urban Planningบทที่6

6-15

6.3 บทวิเคราะหเปรียบเทียบผังเมืองปกกิ่งและกรุงเทพมหานคร

การวางผังเมืองของกรุงเทพในยุคแรกก็คลายคลึงกับปกกิ่ง คือการพัฒนา

เมืองไปตามเมืองเกา แตการวางแผนพัฒนาของปกกิ่ง ไดดําเนินการอยางตอเนื่อง

มีความพยายามในการกระตุนการพัฒนาใหเปนไปตามแผน ซึ่งปกกิ่งประสบ

ผลสําเร็จในดานการจัดการ หรือเรียกไดวาปกกิ่งสามารถนําแผนไปปฏิบิติไดตาม

เปาหมายนั่นเอง ซึ่งแตกตางจากกรุงเทพมหานคร ที่ขอกําหนดตางๆในการปฏิบัติ

ตามแผน ไมสามารถนําไปสูเปาหมายในการพัฒนาเมืองไดตามแผน

แผนพัฒนาของปกกิ่งในยุคหลังๆ ไดใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมมาก

ขึ้น และมีการออกขอกําหนดในการรักษาสิ่งแวดลอมอยางชัดเจน ทั้งพื้นที่สีเขียว

รอบเมือง (Green Belt) ของเมืองที่ปกกิ่งก็สามารถผลักดันใหเปนไปตามแผนได

ซึ่งปจจุบันกรุงเทพเองก็มีมาตรการหลายดานในเรื่องสิ่งแวดลอม แตยังไมเปนผล

ชัดเจนอยางในปกกิ่ง

รูปที ่6.15 พระราชวังฤดูรอน(บน) และพระราชวังตองหาม(ลาง)ที่มา : จากาการศึกษาภาคสนาม

Page 16: Beijing Urban Planningบทที่6

6-16

6.3.1 ดานศูนยกลางเมือง

เมื่อเปรียบเทียบในดานศูนยกลางเมืองของกรุงเทพมหานครนั้น ในยุคแรกกรุงเทพมี

รูปแบบเมืองเปนแบบกระจุกตัวในพื้นที่ศูนยกลางโดยมีเขตพระราชวังเปนศูนยกลางการปกครอง

ตอมาเมื่อมีการพัฒนาเมืองโดยการตัดถนนสายสําคัญตางๆ ทําใหรูปแบบเมืองเปลี่ยนเปนการ

พัฒนาแบบแถบ (Ribbon Development) และแบบแถบยาว (Axial Development) การขยายตัว

ทางกายภาพของกรุงเทพมหานครในชวงหลายสิบปที่ผานมา เมืองไดมีการขยายไปทุกทิศทาง

การพัฒนาระบบโครงสรางสาธารณูปโภคพื้นฐานตางๆ กลายเปนปจจัยที่มีอิทธิพลในการดึงดูด

การพัฒนา ปจจุบันยานธุรกิจและการคา (CBD) กลายเปนศูนยกลางของการพัฒนาเมือง

บริเวณยานสีสม สาทร

ดังนั้นศูนยกลางเมืองของปกกิ่งและกรุงเทพมหานครจะเห็นไดชัดวาแตกตางกันในดาน

ความสําคัญ โดยปกกิ่งจะใหความสําคัญกับประวัติศาสตร โดยศูนยกลางเมืองนั้นเปนพื้นที่

อนุรักษ แตกรุงเทพมหานครนั้นเปนศูนยกลางเมืองเปนเขตเศรษฐกิจธุรกิจและการคา ปกกิ่งมี

ศูนยกลางที่เปนเมืองเกาซึ่งเปนพื้นที่อนุรักษแตก็ยังเปนศูนยกลางของเมือง ดังนั้นการพัฒนา

เมืองตองสงผลกระทบตออาคารเกาในบางสวน จึงจําเปนตองมีแผนในการพัฒนาเพื่อรักษา

อาคารเหลานั้นไว แตกรุงเทพศูนยกลางเมืองจะเนนพัฒนาในดานเศรษฐกิจ จึงแตกตางกันใน

แนวนโยบายและมาตรการตางๆรูปที ่6.16 ผังเคาโครงเมืองศูนยกลางกรุงเทพมหานคร

ที่มา : กรมโยธาธิการและผังเมือง

Page 17: Beijing Urban Planningบทที่6

6-17

6.3.2 เมืองหลายศูนยกลาง (Poly Centeic City)

การวางผังพัฒนาเมืองระบบหลายศูนยกลางของกรุงเทพมหานครนั้นกําหนดใหศูนยกลาง

เมืองเปนยานธุรกิจการคาและใหมีศูนยชุมชนหลายๆศูนยกระจายอยูบริเวณชานเมือง

กรุงเทพมหานครวางนโยบายนี้ตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 4 ที่ไดกําหนดให

มีลักษณะการพัฒนาเมืองแบบหลายศูนยกลาง เพื่อใหชุมชนภายใน ชุมชนชานเมือง และชุมชนรอบ

นอกกรุงเพทมหานครมีศูนยกลางกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมของตนเอง ตอมาในแผนฉบับที่ 5

ไดมีการกําหนดขอบเขตพื้นที่สีเขียวรอบเมือง (Green Belt) ทั้งนี้เพื่อรักษาไวซึ่งพื้นที่เกษตรกรรม

และเปนโครงขายการระบายน้ําและเปนพื้นที่ปองกันน้ําทวม

ตั้งแตการกําหนดแผนเมืองหลายศูนยกลางจนถึงปจจุบัน ศูนยกลางเมืองของกรุงเทพก็

ยังคงหนาแนนและมีแนวโนมที่จะเพิ่มความหนาแนนออกไปอีก ศูนยยอยที่วางแผนไวนั้นไมสามารถ

มีอิทธิพลเพียงพอจะทําใหเกิดการพัฒนาที่เทาเทียมศูนยกลางเมืองได เนื่องจากการกําหนด

นโยบายนั้นกําหนดจากสวนกลางมากกวาความตองการของทองถิ่น เมื่อเปรียบเทียบปกกิ่งกับ

กรุงเทพแลว จะเห็นไดวาเขตพัฒนาเศรษฐกิจหรือเมืองใหมตางๆของปกกิ่งนั้น มีจุดเดนในการ

พัฒนาที่ตางกัน ทําใหการคาการลงทุนนั้นชัดเจนและสามารถวางมาตรการการกระตุนเศรษฐกิจ

สําหรับเขตนั้นไดอยางขัดเจน แตงศูนยยอยของกรุงเทพจะเปนสวนของศูนยชุมชน ซึ่งเนนการพัก

อาศัยและการบริการภายในศูนยทําใหไมมีการเดินทางเขามาใชบริการกันระหวางแตละศูนยยอย

การพัฒนาจึงเปนไปตามความตองการของประชากร ซึ่งเปนเหตุหลใหผูคนที่อยูในศูนยยอยเดิน

ทางเขามาใชบริการโครงสรางพื้นฐาน,การศึกษา และทํางานภายในศูนยกลางเมือง

รูปที ่6.17 แสดงภาพรวมยุทธศาสตรการพัฒนาภาคกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ที่มา : วิชัย บุญวาศ, เอกสารประกอบการสอนวชิาStudio1 (กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง

มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2549)

Page 18: Beijing Urban Planningบทที่6

6-18

6.3.2 ดานโครงการพัฒนาเมือง

โครงการพัฒนาเมืองของกรุงเทพนั้น จะเปนการ

พัฒนาพื้นที่โดยยึดถือการใชประโยชนที่ดินเดิมเปนสวนใหญ

โดยกําหนดขอบเขตของการเติบโตทางเศรษฐกิจในยาน สีลม

สาธร ซึ่งยานนั้นมีความหนาแนนมากอยูแลว มีการกําหนด

เขตที่จะเพิ่มความหนาแนนของประชากรในเขตของการ

ใหบริการขนสงมวลชนซึ่งเขตการพัฒนาเหลานี้ไมไดมี

จุดมุงหมายที่ชัดเจน เหมือนการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจของ

ปกกิ่ง ซึ่งการกําหนดเปาหมายที่ชัดเจนในการพัฒนาพื้นที่จะ

สามารถกําหนดมาตรการจูงใจในการเขาไปลงทุนในพื้นที่นั้นๆ

ทําใหสามารถบรรลุเปาหมายที่กําหนดไวในแผนได ทั้งนี้

กรุงเทพมหานครยังขาดแผนนโยบายที่ชัดเจนในการพัฒนาใน

แตละพื้นที่และยังขาดการสนับสนุนดานงบประมาณ ดังนั้นเมื่อ

เปรียบเทียบการพัฒนาเมืองของปกกิ่งและกรุงเทพมหานครแลว กรุงเทพมหานครยังขาดการกําหนดขอบเขตที่ชัดเจนในการพัฒนาและการกําหนดพื้นที่สีเขียว

โดยรอบศูนยยอยตางๆ เพื่อปองกันไมใหการพัฒนาพื้นที่ขยายตัวเขาไปรุกล้ําพื้นที่ธรรมชาติ ซึ่งโครงการพัฒนาเมืองที่จะประสบผลสําเร็จตองมีการวางแผน นโยบาย

ที่เหมาะสมกับขนาดของเมืองและการทําไปปฏิบัติใหเปนไปตามแผนทีวางไว

รูปที ่6.18 พื้นที่อยูอาศัยหนาแนนมากของกรุงเทพมหานคร(ซาย)

ยานสีลม สาทรในปจจุบัน(ขวา)

ที่มา : สํานักผังเมืองกรุงเทพมหานคร

Page 19: Beijing Urban Planningบทที่6

6-19

6.3.3 ดานการพัฒนาการจราจรและขนสง

ปกกิ่งมีระบบการขนสงที่กระจายอยูทั่วเมือง และมีใหเลือกหลายหลาย

ทําใหประชาชนในเมืองนิยมใชระบบขนสงมวลชนของเมือง ถึงแมระบบขนสง

แบบรางจะยังมีนอยเกินไป แตก็ไดมีการวางแผนเพื่อเพิ่มระบบรางใหครอบคลุม

และเพียงพอตอความตองการในอนาคต

สวนในกรุงเทพมหานคร มีระบบการขนสงมวลชนกระจายอยูทั่วทั้งเมือง

คลายกับปกกิ่ง แตมีระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนและรถไฟใตดิน ที่ถือวานอยมาก

เมื่อเทียบกับเมืองหลวงอื่นๆของโลก และเสนทางของสองระบบนี้ก็ยังไมสัมพันธ

กัน ทําใหผูใชตองเสียเวลาในจุดเปลี่ยน และจากปญหาการเดินทางเขามาทํางาน

ภายในศูนยกลางเมืองทําใหกรุงเทพมีปญหาดานการจราจรติดขัด ซึ่งก็เกิดขึ้น

ภายในบริเวณเมืองชั้นในของปกกิ่งเชนกัน

สรุปไดวาในดานการพัฒนาระบบขนสงมวลชน ปกกิ่งยังถือไดวามีระบบ

รางที่นอยกวาประเทศในฝงยุโรปอยูมาก แตเมื่อเทียบสัดสวนก็มากกวากรุงเทพ

อยูมาก ซึ่งถารัฐบาลจีนปฏิบัติตามแผนการขยายการบริการ ซึ่งจะกอสรางอีก 5

เสนทาง ภายในป 2558 ซึ่งถาปกกิ่งทําสําเร็จระบบการขนสงของจีนจะแซงหนา

กรุงลอนดอนอีกดวย ซึ่งถากรุงเทพผลักดันระบบขนสงใหไดตามแผนก็จะชวยลดปญหาการจราจรของเมืองไดอีกมาก สิ่งสําคัญในการไปใหถึงเปาหมายของการ

วางแผน ขอกําหนดที่ชัดเจน การนําไปปฏิบัติ กรุงเทพก็จะสามารถเปนเมืองที่ประสบความสําเร็จในการวางผังเมืองได

รูปที่ 6.19 แสดงแนวเสนทางรถเมลดวนพิเศษ (BRT) ของกรุงเทพมหานครที่มา : สํานักผังเมืองกรุงเทพมหานคร

Page 20: Beijing Urban Planningบทที่6

6-20

6.4 บทวิเคราะหสวนสาธารณะและสนามโอลิมปกเพื่อเปรียบเทียบกับกรุงเทพมหานคร

6.4.1 สวนสาธารณะและพื้นที่สีเขียวของเมือง

จากการศึกษาขอมูลในการวางแผนพื้นที่สาธารณะ และที่สําคัญคือ โครงการ

Oylmpis Green หรือโอลิมปกสีเขียว ที่รัฐบาลจีนพยายามประชาสัมพันธ เพื่อปลุก

กระแสสิ่งแวดลอม ในการรณรงคดานตางๆ ที่จะสามารถชวยลดการใชพลังงานและ

ดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และที่สําคัญจุดเดนของการสรางพื้นที่สีเขียวใน

ปกกิ่งก็คือสวนสาธารณะโอลิมปก (Beijing Olympic Forest Park) ซึ่งสรางเพื่อรองรับ

สําหรับการแขงขันโอลิมปกป 2008 และสวนสาธารณะโอลิมปกนี้ มีจุดมุงหมายในการ

เรงผลักดันโครงการพัฒนาเมือง และพื้นที่เขียวของเมือง โดยขยายพื้นที่ใหมีขนาด

1135 เฮกเตอร สําหรับรองรับผูที่จะเขารวมการแขงขันกีฬาโอลิมปกของปกกิ่ง โดย

แนวความคิดในการออกแบบ Olympic Forest Park ที่สําคัญ คือการนําเอาศาสตร

โบราณของจีนอยาง ฮวงจุย” มาผสมผสานกับแนวความคิดแหงยุคสมัย แกนแหง

ธรรมชาติ ดังนั้นเมื่อเสร็จสิ้นการจัดงานแลว พื้นที่แหงนี้ก็จะกลายเปน

สวนสาธารณะสีเขียวขนาดใหญ ปอดแหงใหมของคนปกกิ่งและยังประกอบไปดวย

สะพานสีเขียว Green Bridge ทางสัญจรที่เชื่อมโยงสวนสาธารณะกับเมือง และ

ทะเลสาบขนาดใหญเปนเสมือนเครื่องปรับอุณหภูมิอยางดี ใหกับภูมิอากาศที่จะรอน

เย็นและแหงอยางรุนแรงของกรุงปกกิ่ง

รูปที ่6.20 แสดงภาพประชาสัมพันธของแนวคิดโอลิมปกสีเขียว(บน)แสดงสวนสาธารณะโอลิมปก (Beijing Olympic Forest Park)

ที่มา : Beijing Offical Website International

Page 21: Beijing Urban Planningบทที่6

6-21

นอกจากนี้พื้นที่สาธารณะของเมืองยังเปนพื้นที่ขนาดใหญ ที่สามารถรองรับ

ประชากรที่มีจํานวนมากของปกกิ่ง ทั้งนี้ประชาชนปกกิ่งนั้นก็ยังนิยมที่จะเขามาใชพื้นที่

สาธารณะของเมืองเพื่อทํากิจกรรม การจากศึกษาพื้นที่จะเห็นไดวาผูคนจะเขามาทํา

กิจกรรมในชวงเชาเปนจํานวนมาก และตลอดทั้งวันพื้นที่เหลานี้ก็ยังมีคนเขามาใช ซึ่งจะ

เปนกิจกรรม การละเลนพื้นเมือง และการพูดคุยแลกเปลี่ยนทัศนคติกัน ถือวาพื้นที่

สาธารณะตางๆ ของปกกิ่งประสบผลไดเปนอยางดีในดานปริมาณของผูใช

สวนพื้นที่โลงสาธารณะของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมีโลงเพื่อนันทนาการและ

การรับรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมในป พ.ศ. 2545 จากขอมูลสํานักสวัสดิการสังคม และ

สํานักงานเขตตางๆ ประกอบกับการใชแผนที่สารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) เพื่อใหทราบถึงจํานวนและขนาดพื้นที่ของที่โลงประเภทตางๆ ที่มีอยูเปนรายเขต มีสถิติที่

สําคัญดังนี้ ในป พ.ศ. 2545 กรุงเทพมหานครมีสวนสาธารณะทั้งสิ้น 49 แหง

ในขณะที่กรุงเทพมหานครมีขนาดพื้นที่โดยรวมเทากับ 1,568.737 ตารางกิโลเมตร โดยประชากรในกรุงเทพมหานครในป พ.ศ. 2549 มีจํานวนทั้งสิ้น

5,695,956 คน ความหนาแน นของประชากรเท ากับ 3,630.92 คนต อตารางกิโลเมตร กรุงเทพมหานครมีสวนสาธารณะ ขนาดใหญที่สุดคือ สวนหลวง ร.9 ขนาดพื้นที่

500 ไร เปนสวนสาธารณะระดับเมือง ให บริการประชาชนทั่วทั้ง กรุงเทพมหานคร สวนจตุจักร (เนื้อที่ 190 ไร) สวนสาธารณะขนาดตาง ๆ ของ กทม. ซึ่งปจจุบันมีอยู

ดวยกัน 7 แหง คือ สวนลุมพินี (เนื้อที่ 360 ไร) สวนธนบุรีรมย (เนื้อที่ 63 ไร 1 งาน 20 ตารางวา) สนามหลวง (เนื้อที่ 67 ไร) สวนพระนคร (เนื้อที่ 50 ไร) สวน สราญ

รมย (เนื้อที่ 23 ไร) และสวนหลวง (เนื้อที่ 555 ไร) รวมเนื้อที่ประมาณ 1,308 ไร พื้นที่สวนหยอมขนาด ตาง ๆ ตั้งแต 30 ตารางเมตร ไปจนถึง ประมาณ 18,000 ตาราง

เมตร ตามมุมถนน มุมอาคาร และทางสาธารณะ อีกกวา 80 แหง เนื้อที่รวมกันประมาณ 226 ไร นอกจากนั้นจะเป นสวนสาธารณะระดับตางๆลดหลั่นกันลงมา รวม

พื้นที่สวนสาธารณะ ทั้งสิ้น 2,481.69 ไร คิดเปนสัดสวนพื้นที่สวนสาธารณะตอประชากรในกรุงเทพมหานครเท ากับ 0.70 ตาราง เมตรตอคน นับวานอยมากเมื่อเทียบ

กับมาตรฐานสากลที่กําหนดไว วาสัดส วนของสวนสาธารณะต อ ประชากรจะตองเท ากับ 15 ตารางเมตรตอคน ขณะที่เมืองใหญ แหงอื่นของโลกลวนแล วแตมีสัดส วน

สวนสาธารณะตอประชากรสูงกว ากรุงเทพมหานครเกือบทั้งสิ้น

รูปที ่6.21 แสดงปริมาณสวนสาธารณะในเมืองของแตละประเทศที่มา : สํานักผังเมืองกรุงเทพมหานคร

Page 22: Beijing Urban Planningบทที่6

6-22

จากการศึกษามาตรฐานของสวนสาธารณะของประเทศตางๆ และ

มาตรฐานของประเทศไทย ซึ่งหนวยงานตางกําหนดไว ทําใหทราบวา

กรุงเทพมหานครยังมีพื้นที่สีเขียว และสวนสาธารณะไมเพียงพอ และไมตรง

กับเกณฑทางดานผังเมือง ซึ่งพื้นที่สวนสาธารณะและพื้นที่เปดโลงนั้นมี

ความหมายมากวาการจัดหาพื้นที่ทางดานกายภาพ หรือผังเมืองเพื่อ

ตอบสนองความตองการของชุมชน หากแตมีความหมายถึงความสัมพันธที่

เชื่อมโยงกันระหวางพื้นที่วางสาธารณะกับวิถีชีวิตประจําวัน

จากการเปรียบเทียบดานสวนสาธารณะและพื้นที่สี เขียวของ

กรุงเทพมหานครกับปกกิ่งแลวจะเห็นไดวาปกกิ่งมีพื้นที่สีเขียวเปนจํานวน

มาก จากนโยบายที่ปกกิ่งกําหนดพื้นที่สีเขียนรอบพื้นที่ในการพัฒนา (Green

Belt)ทําใหยังคงเหลือพื้นที่สีเขียวสําหรับจัดตั้งเปนสวยสาธารณะหรือพื้นที่

ปองกันการขยายตัวของเมืองภายในเขตเมืองชั้นในเปนจํานวนมากซึ่ง

กรุ ง เทพมหานครเปน เมืองที่ ขาดพื้ นที่ ที่ ส ามารถนํ ามาจัดตั้ ง เป น

สวนสาธารณะระดับเมือง มีเพียงสวนสาธารณะขนาดเล็ก และไมสามารถ

จัดหาพื้นที่ในเขตพื้นที่ชั้นในเพื่อพัฒนาเปนสวนสาธารณะไดรูปที ่6.22แสดงภาพประชาสัมพันธของแนวคิดโอลิมปกสีเขียว

ที่มา : Beijing Offical Website International

Page 23: Beijing Urban Planningบทที่6

6-23

6.4.2. สนามแขงขันกีฬาโอลิมปก

ในป 2008 นิตยสาร ไทม ของสหรัฐอเมริกากไ็ดประกาศการออกแบบที่มีอิทธิพลที่สุด 100รายแรก

ของโลก สนามกีฬารังนกก็ไดรับรางวัลการออกแบบที่มีอิทธิพลที่สุดดานสถาปตยกรรม ดังนั้นจะเห็นได

อยางชัดเจนวา ปกกิ่งประสบผลสําเร็จสําหรับการออกแบบสนามกีฬารังนก เพราะสนามกีฬาแหงนี้

สามารถเปนจุดดึงดูดสายตาของโลก ทั้งในเรื่องความแปลกตา แนวความคิด การทางดานการกอสราง ที่

สนามกีฬารังนกสามารถพัฒนาการวิจัย ระระบบการกอสรางที่ใชเทคโนโลยีสูง จนสนามรังนกจัดสรางแลว

เสร็จถึงแมจะมีความลําบากในการกอสรางมากก็ตาม ทําใหทั่วโลกยอมรับเกี่ยวกับเทคโนโลยี การออกแบบ

กอสรางของจีน สนามรังนก ไมไดเปนแคเพียงสนามกีฬาหลักในการแขงขันโอลิมปก แลเปรียบเสมือน

สัญลักษณของกีฬาโอลิมปก 2008 เลยทีเดียว

การกอสรางสนามรังนกยังใหความสําคัญกับวิสัยทัศนของ โอลิมปกกรีน มีความพยายามในการ

ออกแบบใหสนามรังนกใสใจกับสภาพแวดลอม โดยการใชลังแสงอาทิตย ซึ่งสามารถประหยัดพลังงาน

ไฟฟา หลังคมสนามจะมีระบบสะสมน้ําฝน จะเก็บและบําบัดน้ําฝน ไดประมาณ 5.8 ตันทุกป เพื่อใชในการ

รดน้ําตนไมและทําความสะอาดหองน้ํา

สนามกีฬาแหงนี้ประสบผลสําเร็จในดานอาคารที่มีเทคโนโลยีสูงกับการออกแบที่เปนมิตรตอ

สิ่งแวดลอม และแนวคิดตามขนบธรรมเนียมประเพณีของจีนเปนหลักสําคัญรูปที ่6.23 สนามกีฬาแหงชาติปกกิ่ง(สนามรังนก)ที่มา : www.Beijingchainaworld.com

Page 24: Beijing Urban Planningบทที่6

6-24

ถึงแมวาความพยายามที่จะผลักดันสนามรังนก.สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวจากทั่วโลกได

ปกกิ่งตองใชทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรธรรมชาติ และเงินทุนมหาศาลใหการกอสรางสนามรังนกแหงนี้

แตผลพลอยไดของการทุมเทใหกับเทคนิคการกอสราง ระบบตางๆภายในสนามทําใหปกกิ่งพัฒนา

เทคโนโลยี ซึ่งจะมีความสําคัญในการนําไปใชกับการกอสรางสิ่งกอสรางอื่นๆ ตอไป ทั้งนี้ในเรื่องของ

การดูแลรักษา หลังจากกีฬาโอลิมปก ซึ่งสนามแหงนี้จะใชเปนสนามแขงขันระหวางประเทศ หรือ

กิจกรรมอื่น แตรัฐบาลก็ตองเปนผูออกคาใชจายในการดูแลรักษาสนามเปนมูลคาสูง แตปกกิ่งสนาม

กีฬาแหงนี้ยังสามารถหารายไดจากการทองเที่ยวเพราะปกกิ่งนําเอาสนามกีฬารังนกมาเปนจุดดึงดูด

นักทองเที่ยวที่หลั่งไหลเขามาทองเที่ยวเพื่อชมความสวยงามและความมหัศจรรยของสนามกีฬา

หลายๆแหงในโอลิมปกครั้งนี้ ทั้งนี้ปกกิ่งอีกเรื่องที่ปกกิ่งใหความใสใจคือในเรื่องการประชาสัมพันธ

ขอมูลขาวสาร รายละเอียดของตัวสนามกีฬา การเตรียมงานตั้งเริ่มกอสรางจนสนามแลวเสร็จ ทําให

เปนที่จับตามองของทั่วโลก ถือเปนการสรางกระแสกอนการเปดตัวจริง และเสดงใหเห็นวากรุงปกกิ่งสามารถเปลี่ยนภาพจากนครอันเกาแก เปนโครงที่สรางกระแสดวย

สถาปตยกรรมทันสมัย สนามกีฬาแหงนี้ประสบผลสําเร็จในดานอาคารที่ผสานเทคโนโลยีล้ํายุคกับการออกแบบที่เปนมิตรตอธรรมชาติ สิ่งแวดลอมในอนาคต และ

แนวความคิดตามขนบประเพณีของจีนเปนหลักสําคัญ

สนามกีฬาในประเทศไทยนั้นมีเพียงไมกี่แหงที่มีความพรอมและอยูในมาตรฐานที่จะเทียบเทากับสนามกีฬาในปกกิ่ง ในกรุงเทพสนามราชมังคลากีฬาสถาน

ซึ่งเปนสนามกีฬาที่ใหญที่สุดและถือวาอยูในมาตรฐาน แตก็ยังมาสามารองรับการแขงขันระดับนานาชาติไดเพียงพอ เนื่องจากกรุงเทพนั้นการคมนาคมระบบการ

ขนสงยังไมดีพอ และถามีการจัดการแขงขันกีฬาระดับโลก จะตองมีการสรางเมืองใหมขึ้นมาเพื่อรองรับทั้งการแขงขันและการทองเที่ยวที่จะตามมา ซึ่งตองเปนการ

ลงทุนที่ใชการลงทุนสูง ประเทศไทยนั้นเคยจัดการแขงขันกีฬาระดับชาติ เชน เอเซียนเกมสและกีฬามหาลัยโลกมาแลวนั้น แตทั้งนี้ประเทศไทยเอายังขาดศักยภาพใน

ดานการลงทุนที่จะพัฒนาพื้นที่ การกอสรางสนามกีฬาและสิ่งกอสรางอื่นๆ ดังที่ปกกิ่งไดเตรียมแผนการและดําเนินการจนถือวาประสบผลสําเร็จ

รูปที ่6.24 ราชมังคลากีฬาสถานที่มา : http://th.wikipedia.org

Page 25: Beijing Urban Planningบทที่6

6-25

6.5 ขอเสนอแนะสําหรับการวางแผนพัฒนาเมืองของกรุงเทพมหานคร

จากการศึกษาขอมูลแผนพัฒนาปกกิ่งจะเห็นไดชัดวาปกกิ่ง ตั้งแตกอนมีการเปดประเทศ

จีน ไดมีการเรงพัฒนาเมืองในดานตาง เพื่อกาวสูความยิ่งใหญในทุกๆ ดาน ยิ่งเมื่อไดรับเปน

เจาภาพโอลิมปกป 2008 จีนก็ถือโอกาสนี้ประกาศความยิ่งใหญและทันสมัยของเมืองหลวงปกกิ่ง

เองก็ไดวางแผนและมาตรการเพื่อรองรับความเจริญ ซึ่งเมื่อศึกษาในรายละเอียด ขอดีและขอเสีย

และนํามาสรุปเปรียบเทียบกับกรุงเทพมหานครแลว จึงมีขอเสนอแนะสําหรับการวางแผนพัฒนา

กรุงเทพมหานครดังนี้

1. กรุงเทพมหานครเปนเมืองที่มีประวัติศาสตร ความเปนมา และโบราณสถานตางๆ ที่

สําคัญและมีความนาสนใจ เชนเดียวกับกรุงปกกิ่ง กรุงเทพมหานครควรที่จะดําเนินการ

พัฒนาเพื่ออนุรักษสถานที่สําคัญและโบราณสถานเหลานั้นอยางจริงจัง ซึ่งนอกจากจะ

เปนการอนุรักษเพื่อเปนแหลงศึกษาคนควาของอนุชนรุนตอไปแลว ยังเปนการพัฒนา

แหลงทองเที่ยวอยางมีคุณภาพและยั่งยืนดวย

2. แผนพัฒนาเมืองของกรุงเทพมหานครในนโยบายเกี่ยวกับเมืองระบบหลายศูนยกลาง

(Poly Centric City) ซึ่งมีการกําหนดพื้นที่พัฒนาเมืองไวภายในวงแหวนรอบนอก

ปจจุบันพื้นที่เหลานั้นยังไมประสบผลสําเร็จในดานการกระจายความเจริญออกไปสูชาน

เมืองควรมีแผนพัฒนาและเปาหมายที่ชัดเจน ซึ่งทองถิ่นสามารถนําไปปฏิบัติ และควรจัด

งบประมาณสําหรับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานใหเพียงพอ และมีความทันสมัย

เพื่อที่จะลดการเติบโตและแออัดภายในศูนยกลางเมือง

รูปที ่6.25 อาคารสมัยใหมของปกกิ่งที่มา : http://www.pixpros.net

Page 26: Beijing Urban Planningบทที่6

6-26

3. การพัฒนาศูนยชุมชนชานเมืองของกรุงเทพมหานคร ปจจุบัน

กําหนดไว 5 แหง รอบศูนยกลางเมือง ถึงแมวาจะมีแนวทาง

ในการพัฒนาเมืองในดานศูนยชุมชนชานเมือง แตปญหาการ

กระจุกตัวของการเจริญเติบโตยังมีอยู เพราะศูนยชุมชนชาน

เมืองนั้นยังไมมีแรงดึงดูดในการพัฒนาที่มากเพียงพอจะทําให

ประชาชน หรือการลงทุนกระจายไปยังศูนยนั้นๆ ดังนั้น

กรุงเทพมหานครควรตองกําหนดนโยบาย และแผนที่ชัดเจน

รวมทั้งแรงจูงใจเพื่อเพิ่มการลงทุนและพัฒนาระบบขนสง

โครงสรางพื้นฐานใหเพียงพอ และสามารถรองรับการพัฒนา

สําหรับเปนศูนยชุมชานเมือง

4. ในดานระบบการขนสงมวลชนที่กรุงเทพมหานครนั้นประสบ

ปญหาการจราจรติดขัด เนื่องจากระบบขนสงมวลชนนั้นยัง

ไมไดมาตรฐานและสะดวกรวดเร็ว ซึ่งกรุงจะเปนตองขยายเสนทางรถไฟฟาใหครอบคลุมและปรับมาตรฐานของระบบขนสงมวลชนทุกระบบใหมีความ

ทันสมัย ซึ่งจะทําใหประชาชนหันมาใชระบบขนสงมวลชนมากขึ้น ซึ่งถากรุงเทพผลักดันระบบขนสงใหไดตามแผนก็จะชวยลดปญหาการจราจรของเมืองได

5. การฟนฟูที่อยูอาศัยและชุมชนแออัด กรุงเทพควรมีการจัดงบประมาณเพื่อจัดทําโครงการสําหรับฟนฟูชุมชน ซึ่งในปกกิ่งมีโครงการที่สามารถฟนฟูยานชุมชน

แออัดเกาภายในพื้นที่เมือง เพื่อสนับดานการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และเปนการจัดระเบียบใหเมืองมีความสวยงามอีกดวย

รูปที ่6.26 สวนสาธารณะของปกกิ่งที่มา : http://www.pixpros.net

Page 27: Beijing Urban Planningบทที่6

6-27

6. การพัฒนาพื้นที่สวนสาธารณะและพื้นที่สีเขียวของเมืองในปกกิ่งนั้นมีการจัดพื้นที่

ขนาดใหญเพื่อเปนสวนสาธารณะสําหรับเมือง รวมทั้งมีเงินลงทุนเปนจํานวนมากเพื่อ

พัฒนาพื้นที่สีเขียวของเมือง แตกรุงเทพมหานครยังขาดการสนับสนุนในดานการลงทุน

และการจัดหาพื้นที่สําหรับพัฒนาเปนสวนสาธารณะระดับเมือง ควรมีมาตรการในการ

เวนคืน หรือการนําพื้นที่ที่วางเปลา ที่ดินของหนวยงานรัฐวิสาหกิจ พื้นที่สาธารณะ

ประโยชน และที่ดินเอกชนที่มีศักยภาพในการพัฒนาเปนสวนสาธารณะ เพื่อที่จะทําให

กรุงเทพมหานคร บรรลุเปาหมายในการเปนเมืองนาอยู

7. ปกกิ่งสามารถสรางกระแสในการปลุกจิตสํานึกเกี่ยวกับการอนุรักษ สิ่งแวดลอม ไมวา

จะเปนการรณรงคปลูกตนไม ตลอดจนการสรางระบบขนสงมวลชนใหม การหามใชถูก

พลาสติก ตลอดจนการทําความสะอาดทะเลสาบและปากแมน้ํา และโดยการหา

มาตรการตางๆเขามาใช เพื่อแสดงใหเห็นวาปกกิ่งเองไดใสใจในเรื่องสิ่งแวดลอม

หลังจากที่ทั่วโลกจับตามองปกกิ่ง ในเรื่องการใชทรัพยากรธรรมชาติ และเรื่องมลพิษ

ซึ่งปกกิ่งก็สามารถทําใหปฏิบัติตามมาตรการ วันฟาใสไดสําเร็จไปในบางสวนของเมือง

การแกปญหาของปกกิ่งในดานสิ่งแวดลอมหลายๆเรื่องกรุงเทพเองก็มีมาตรการในเรื่อง

สิ่งแวดลอม ที่จะทําใหกรุงเทพเปนเมืองสีเขียว แตการวางแผน การพัฒนาเหลานั้นยัง

ขาดในเรื่องเงินลงทุน การจัดหาพื้นที่ และมาตรการที่จะเห็นผลไดชัดเจน

8. กรุงเทพมหานครมีสนามกีฬาที่ไดมาตรฐานอยูแลว ควรพัฒนาในดานการจัดการและการวางแผนหลังจากการใชสนามเพื่อการแขงขันแลวเสร็จ ซึ่งสามารถ

ใชเปนสถานที่จัดงานหรือเพื่อการทองเที่ยวได ซึ่งปกกิ่งมีรายไดจากการทองเที่ยวเนื่องการการนําสนามกีฬาแหงชาติมาเปนจุดดึงดูดนักทองเที่ยว ซึ่งเมื่อมี

รายไดก็จะสามารถนํามาพัฒนาและจัดการดูแลรักษาได

รูปที ่6.27 พระราชวังตองหามที่มา : http://www.pixpros.net

Page 28: Beijing Urban Planningบทที่6

6-28

ในสวนของการพัฒนาเมืองในมีความเจริญกาวหนาและทันสมัยนั้น กรุงเทพมหานครจะตองคํานึงถึงผลกระทบตอวิถีชีวิตของประชาชน ควบคูไปกับการ

พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน และสิ่งแวดลอม ใหสามารถพัฒนาและดํารงอยูรวมกันไดอยางเหมาะสม การพัฒนาใหเปนเมืองที่นาอยูและยั่งยืน ควรมุงเนนการ

พัฒนาคุณภาพชีวิตในทุกดาน มีการวางแผนการใชทรัพยากรอยางคุมคา หมุนเวียน เกิดประโยชนสูงสุด ไมทําลายสิ่งแวดลอม และพัฒนาตามศักยภาพของแตละ

พื้นที่โดยใหสอดคลองกับการพัฒนาประเทศ เนนเอกลักษณและศักยภาพในแตละพื้นที่ ธํารงไวซึ่งวัฒนธรรมที่ดีงามเพื่อสรางความเจริญทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ

อยางยิ่งการดึงดูดนักทองเที่ยวเขาประเทศ การพัฒนาสูเมืองระดับโลกใหมีความทันสมัยทางความรูและเทคโนโลยีเชื่อมโยงในระดับโลก สามารถแขงขันไดกับนานา

ประเทศทั่วโลก โดยการสรางจุดเดนใหกับกรุงเทพมหานครโดยการมีเปาหมายที่ชัดเจน และเปนรูปธรรม

จากการวิเคราะหการวางผังเมืองของปกกิ่งจากการที่ไดไปศึกษาจากสถานที่จริง กรุงปกกิ่งมีความแตกตางกับการวางผังเมืองของเมืองอื่นๆทั่วโลก ทั้งใหดาน

การรับรูของเมือง ที่ปกกิ่งสามารถรักษาความเปนเอกลักษณในวิถีชีวิตของผูคน และออกแบบเมืองไมไดใชมาตรฐานเอริกา(American Standard) หรือที่กรุงเทพและ

เมืองอื่นๆใชกัน ปกกิ่งก็เห็นผลไดอยางชัดเจนในการสรางมาตรฐานการวางผัง ซึ่งการการผังในเมืองที่มีขนบประเพณีวิถีชีวิต วัฒนธรรมที่เปนเอกลักษณ กรุงเทพควร

ใหคามสําคัญถึงประเด็นทางดานสังคม มากกวาการนําหลักการและทฤษฏีที่เกิดขึ้นในฝงตะวันตก กรุงเทพเปนเมืองที่มีวัฒนธรรมเกาแก เหตุผลสําคัญของการเกิด

ภูมิปญญานั้นเพราะผูคนมีโอกาสไดพบปะและเชื่อมโยงกันได ผังเมืองกรุงเทพจึงจําเปนตองดําเนินการ การวางแผนโดยใชพื้นฐานของวัฒนธรรม เพื่อเปนตัวกําหนด

ทิศทางในการพัฒนา และการกําหนดโครงการพัฒนาเมือง โดยการวางแผนนั้นตองมีการกระตุนใหชุมชนและหนวยงานตางๆ เขามามีสวนรวมในการวางแผน และ

การนําแผนไปปฏิบัติ ซึ่งจะทําใหกรุงเทพเปนเมืองนาอยูได