วารสารสมาคมผู้ปกครองและครู ปีที่ 29...

70
Eakin PTA วารสารสมาคมผูปกครองและครู โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ปที29 ฉบับที78 ปการศึกษา 2552 Building

Upload: bangkok-christian-college

Post on 06-Apr-2016

262 views

Category:

Documents


14 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

EakinPTA วารสารสมาคมผูปกครองและครู

โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยปที่ 29 ฉบับท่ี 78 ปการศึกษา 2552

Building

ExecutiveMESSAGE

นายกสมาคมผูปกครองและครูผศ.ดร.นพ.ประกอบ ผูวิบูลยสุข

โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

ในปนี้เปนปที่คณะกรรมการสมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย (BCC-PTA) ไดดำเนินการมาครบหน่ึงป กิจกรรมตางๆ ที่ไดดำเนินการไปจะมีการนำเสนอใหทานสมาชิกไดทราบโดยวีดีทัศนในการประชุมประจำป กิจกรรมตางๆ ที่ดีมีประโยชนคณะกรรมการฯไดคงไว อาทิ การเดิน-ว่ิงเพ่ือสุขภาพ โครงการสนับสนุนวิชาการและดนตรี งาน BCC Children’s Day โครงการคลินิกใหคำปรึกษาสำหรับผูปกครองและนักเรียน โครงเพ่ิมพลังการเรียน โครงการเรียนอยางมีศักยภาพ โครงการย้ิมสดใส ฯลฯ ขณะเดียวกันก็มี

โครงการใหมที่นาจะเปนประโยชนเกิดขึ้น เชน โครงการออกกำลังกายวันละนิดเพ่ือใหครู บุคลากร ผูปกครองและนักเรียนท่ีสนใจไดเขารวมเดินออกกำลังกายรอบสนามฟุตบอลหรือเดินข้ึนบันไดแทนการใชลิฟท ซึ่งไดรับการตอบสนองเปนท่ีนายินดี โครงการ BCC-PTA Bowling ซึ่งจัดเปนคร้ังท่ีสองในปนี้ก็ไดรับความรวมมือเปนอยางดี สามารถเก็บรายไดไวสำหรับชวยเหลือครูและบุคคลากรท่ีเจ็บปวยหนักใชคาใชจายสูงในการรักษาพยาบาล ปนี้เปนปที่มีการระบาดของไขหวัดพันธุใหม คณะกรรมการฯมีความหวงใยเปนอยางย่ิงไดรวมกับโรงเรียนมีมาตรการดูแลปองกันท่ีกำลังดำเนินอยูและจะทำตอไป หวังวาครู ผูปกครองและนักเรียนของเราจะมีสุขภาพดีและปลอดภัยจากไขหวัดพันธุใหมนี้โดยท่ัวกัน

ผศ.ดร.นพ.ประกอบ ผูวิบูลยสุข

นายกสมาคมผูปกครองและครู โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

ลูก คือ แกวตาดวงใจของพอแม ถึงแมเศรษฐกิจจะอยูในสภาวะวิกฤตประกอบกับมีปญหาสุขภาพมีไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 ระบาดท่ัวกรุงเทพมหานครก็ตาม ความเปนพอแมจึงตองเอาใจใสอยางใกลชิดย่ิงข้ึน อุปสรรคและปญหาดังกลาวเปนปจจัยภายนอกท่ีโรงเรียนเขาใจดี จึงเนนเด็กนักเรียนเร่ืองการประหยัดและหลักการปองกัน โดยใหความรูอาการของไขหวัด และการใชเจลแหงสำหรับชำระลางมือทั่วโรงเรียนและการคัดกรองเด็กท่ีปวยเปนหวัด ใครขอเรียนใหทานผูปกครองทราบวาหากโรงเรียนจะดำเนินการโครงการใดก็ตาม ผลประโยชนจะตองตกอยูกับนักเรียนเปนอันดับแรก ขณะน้ีอาคารเรียนใหมสูง 16 ชั้น ใตดิน 2 ชั้น งานดานโครงสรางแลวเสร็จเรียบรอยแลว คงเหลือเฉพาะงานตกแตงภายใน คงจะสามารถเปดใชไดราวเดือนตุลาคม 2552 อาคารใหมดังกลาวเปนอาคารท่ีทันสมัย มีอุปกรณและเคร่ืองอำนวยความสะดวกครบครัน สำหรับงานฉลองครบรอบ 157 ป ซึ่งจะจัดในวันเสารที่ 22 สิงหาคม 2552 รูปลักษณของงานคงไม

ตางไปจากปกอนๆ จุดประสงคของการจัดงาน เพ่ือใหนักเรียนไดรูจักทำงานเปนทีม รูจักการบริหารดำเนินการ

การแกปญหา ความเปนน้ำหน่ึงใจเดียวกัน ในการจัดการศึกษาสมัยใหมนั้น นอกจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนยังเนนกิจกรรมที่หลากหลายเพ่ือคนหาตัวเองใหเจอ เพ่ือเสริมศักยภาพของนักเรียน สำหรับภาษาตางประเทศ โรงเรียนใหความสำคัญเปนกรณีพิเศษ เพราะในอนาคตจะมีการแขงขันกับผูคนมากมายกวาเดิม ยุคของขอมูลขาวสารไมนานก็จะเปล่ียนไปเปนยุคของการใชสติปญญา ตองใชสมองไตรตรองบนหลักการท่ีถูกตอง มีเหตุผล มีคุณธรรม และยุติธรรม

ขอพระเจาอวยพระพร

นายกูศักด์ิ สารกิติพันธ

ผูจัดการ

ผูจัดการนายกูศักดิ์ สารกิติพันธ

โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

“เธอเปนลูกของใครไมสำคัญ เธอเปนลูกศิษยฉันสำคัญกวาจะอบรมบมสติเสริมปญญา ใหเจากลาเติบใหญจนไดดี”

ExecutiveMESSAGE

ผูอำนวยการูดร. วรนุช ตรีวิจิตรเกษม

โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

การพัฒนาเด็กและเยาวชนเปนภารกิจสำคัญเบ้ืองตนของพอแมในการสรางสรรคพฤติกรรมและบุคลิกภาพ สวนโรงเรียนหรือครูเปนผูปรับปรุง และพัฒนาสานตอดานความรู และจริยธรรม ผูปกครองกับครูจึงตองประสานรวมมือกันพัฒนาลูกๆ ของเราใหเจริญกาวหนาเปนพลเมืองดี เปนผูใหญที่ดี และเปนผูนำท่ีดีของชาติตอไป สมาคมผูปกครองและครูฯ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ตระหนักถึงความสำคัญดังกลาว จึงใหการสนับสนุนสงเสริมการจัดการเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาทักษะความสามารถ การใหความรูแกผูปกครองในการดูแลลูก ตลอดจนการเขารวมกิจกรรม / โครงการตางๆ อยางตอเน่ืองตลอดปการศึกษา ในนามของโรงเรียนขอขอบคุณสมาคมผูปกครองและครูฯ คณะกรรมการเครือขาย และผูปกครองทุกทานในความรวมมือ รวมแรง รวมใจ รวมกันพัฒนาลูกอันเปนท่ีรักย่ิงของเราใหมีคุณภาพ ทั้งดานรางกาย จิตใจ อารมณ และสังคม ตลอดจนการใหความรู ทักษะแนวทางปฏิบัติและการดำรงชีวิตอยูในสังคมอยางมี

ความสุข

ขอพระเจาทรงอวยพระพร

ดร. วรนุช ตรีวิจิตรเกษม ผูอำนวยการโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

พระเยซูตรัสวา “จงยอมใหเด็กเล็ก ๆ เขามาหาเรา อยาหามเขาเลย เพราะวาแผนดินของพระเจายอมเปนของคนเชนเด็กเหลานั้น”

ลูกา 18:16

Content

1.1. กำหนดการประชุม 012.2. รายงานการประชุม 023.3. รายงานการเงิน 084.4. รายนามผูปกครองเครือขาย 145.5. กิจกรรม PTA 246.6. กิจกรรมท่ี PTA ใหการสนับสนุน 277.7. บทความส่ือสัมพันธ 35

Agendaกำหนดการประชุมใหญประจำป 2552

AgendaA

gend

a

01

1กำหนดการและระเบียบวาระประชุมใหญสามัญสมาคมผูปกครองและครู

โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ประจำป 2552วันเสารที่ 15 สิงหาคม 2552 เวลา 08:00 - 11:00 น. ณ หอธรรม โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

08:00 น. ลงทะเบียน08:30 น. เร่ิมประชุมตามระเบียบวาระ08:30 น. วาระท่ี 1 อธิษฐานเปดการประชุม โดย ดร.วรนุช ตรีวิจิตรเกษม ผูอำนวยการ08.35 น. วาระท่ี 2 กลาวตอนรับ โดย ผศ.ดร.นพ.ประกอบ ผูวิบูลยสุข นายกสมาคมฯ 08.45 น. วาระท่ี 3 การแสดงของนักเรียน 10.00 น. วาระท่ี 4 เร่ืองแจงใหทราบ 4.1 รายงานการดำเนินงานและกิจกรรมของสมาคมฯ 4.2 แนะนำกรรมการสมาคมฯ และกรรมการเครือขายผูปกครอง 4.3 มอบเกียรติบัตรและของท่ีระลึกแกวิทยากรโครงการคลินิกใหการปรึกษา 4.4 รับรองรายงานการประชุมใหญสามัญ ประจำป 2551 4.5 รายงานและรับรองการเงินและงบดุล ปการศึกษา 2551 วาระท่ี 5 เร่ืองอื่นๆ11:00 น. วาระท่ี 6 อธิษฐานปดการประชุม โดย อาจารยกูศักด์ิ สารกิติพันธ ผูจัดการ

*************************************

Min

utes

of M

eetin

g

02

2

รายงานการประชุมใหญสามัญประจำป 2551สมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

วันเสารที่ 13 กันยายน 2551 เวลา 8.00 - 11.30 น. ณ หอธรรม

ผูเขาประชุมผูปกครอง 545 คน ครู 315 คน

วาระที่ 1 อธิษฐานเปดการประชุมโดย ดร.วรนุช ตรีวิจิตรเกษม ผูอำนวยการ

วาระที่ 2 กลาวตอนรับ โดย ผศ.ดร.นพ. ประกอบ ผูวิบูลยสุข นายกสมาคมผูปกครองและครูฯ

วาระที่ 3 การแสดงดนตรีโดยวงดุริยางค วงดุริยางค บรรเลงเพลงใหผูเขารวมประชุมฟงท้ังหมด 5 เพลง อำนวยเพลงโดย อาจารยเอกพงษ สิ้นเคราะห และ อาจารยเอกพล มณีโชติ ภายใตการดูแลของ อาจารยชัยสิทธ์ิ เล็กประยูร หัวหนางานดนตรี และอาจารยเพ็ญจันทร วัฒนมงคล รองผูอำนวยการ ฝายกิจการนักเรียนและศาสนกิจ

วาระที่ 4 การนำเสนอครอบครัวคนเกงของ บีซีซี จากการแขงขันโอลิมปกวิชาการระหวางประเทศ ประจำป พ.ศ.2551 นักเรียนโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยไดรับรางวัล 2 เหรียญทอง จึงไดเชิญครอบครัวคนเกง

บีซีซี มาแบงปนประสบการณ 1. ทพญ.จินดา อังพานิชเจริญ ผูปกครองของนายภาคภูมิ อังพานิชเจริญ นายภาคภูมิ อังพานิชเจริญ ไดรับรางวัลเหรียญทองโอลิมปก สาขาเคมี จากการแขงขัน

โอลิมปกวิชาการระหวางประเทศ เมื่อวันท่ี 12 - 21 กรกฎาคม 2551 ณ กรุงบูดาเปสต ประเทศฮังการี นายภาคภูมิ อังพานิชเจริญ ไดรับทุนโครงการพัฒนาและสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษ

ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไปศึกษาตอ ดานวิทยาศาสตรเคมี ตั้งแตระดับปริญญาตรีจนถึงระดับปริญญาเอก ณ สหราชอาณาจักร ปจจุบัน นายภาคภูมิ อังพานิชเจริญ ไดเดินทางไปเรียนปรับพ้ืนฐานดานภาษาอังกฤษ

และ A-Level ที่เมืองโรเซสเตอร สหราชอาณาจักร

2. ทพญ.วันเพ็ญ มนูรังษี ผูปกครองของเด็กชายพศิน มนูรังษี เด็กชายพศิน มนูรังษี นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 ไดรับรางวัลเหรียญทอง และ เกียรติบัตรพิเศษ การแขงขันคณิตศาสตรโอลิมปกระหวางประเทศ โดยไดรับคะแนนรวม

Minutes of Meetingรายงานการประชุม

ประเภทบุคคลเปนอันดับที่ 4 ของโลก และคะแนนรวม ประเภททีมเปนอันดับที่ 6 ของโลก เม่ือวันท่ี 10- 22 กรกฎาคม 2551 ณ กรุงมาดริด สหราชอาณาจักร สเปน

อาจารยอุดมพร พัสถาน ผูดำเนินรายการ ไดสัมภาษณครอบครัวคนเกง บีซีซี เก่ียวกับ การอบรมเล้ียงดู การสนับสนุน และดูแลเร่ืองการเรียน การคัดเลือกโรงเรียนสำหรับลูก การใชเวลาวาง ของครอบครัว และการวางแผนชีวิต ตลอดจนการฝากขอคิดการดูแลบุตรในดานตางๆ

วาระที่ 5 เร่ืองแจงใหทราบ 5.1 รายงานการปฏิบัติงานและกิจกรรมของสมาคมฯ รายงานการปฏิบัติงานและกิจกรรมของสมาคมฯ ดวย Multi Vision

5.2 แนะนำกรรมการสมาคมฯ และกรรมการเครือขายผูปกครอง 5.2.1 นายกสมาคมฯ แนะนำกรรมการสมาคมผูปกครองและครูฯ วาระประจำปการศึกษา 2549 - 2551 1. ผศ.ดร.นพ. ประกอบ ผูวิบูลยสุข นายกสมาคมฯ 2. ผศ. พรศิริ อัญญานุภาพ อุปนายกคนท่ี 1 3. ทพญ. จินดา อังพานิชเจริญ อุปนายกคนท่ี 2 4. ดร.วรนุช ตรีวิจิตรเกษม เลขาธิการ 5. นางวิจิตรา พรหมบุตร รองเลขาธิการ 6. นางอุดมพร พัสถาน ผูชวยเลขาธิการ 7. นางศิรินุช ตั้งสุขสันต เหรัญญิก 8. นางเพ็ญจันทร วัฒนมงคล นายทะเบียน

9. นายสุวภัทร พรหมบุตร บรรณารักษ 10. นางอรุณี รุจิวนารมย ฝายประชาสัมพันธ

11. นายสุรินทร อนุชิราชีวะ ผูชวยฝายประชาสัมพันธ 12. นายสุวัฒน สุขสงเคราะห ฝายปฏิคม 13. นายวัฒนกิจ สิทธิสถิตอังกูร ผูชวยฝายปฏิคม 14. นายธนากร อุนปโยดม ฝายกิจกรรม

15. พ.ต.ท.มานะ กลีบสัตบุศย ผูชวยฝายกิจกรรม 16. นางอัญชลี จริยวัฒนวิจิต ผูชวยฝายกิจกรรม 17. ผศ.พรรณี รัตนชัยสิทธ์ิ ผูชวยฝายกิจกรรม

18. นาวาตรี ดร.วุฒิพงษ พงษสุวรรณ ผูชวยฝายกิจกรรม 19. นายกูศักด์ิ สารกิติพันธ ผูชวยฝายกิจกรรม

20. นายวิรัช วงษสูง ผูชวยฝายกิจกรรม

03

2

Min

utes

of M

eetin

gMinutes of Meeting

รายงานการประชุม

Min

utes

of M

eetin

g

04

2

5.2.2 นายกสมาคมฯ แนะนำกรรมการเครือขายผูปกครองแตละระดับชั้น ตั้งแตระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

5.3 มอบเกียรติบัตรและของท่ีระลึกแกวิทยากรโครงการคลินิกใหการปรึกษา นายกสมาคมฯ กลาวขอบคุณ และมอบเกียรติบัตร พรอมมอบของที่ระลึกแก ตัวแทนวิทยากรโครงการคลินิกใหการปรึกษา ปการศึกษา 2550

5.4 มอบเกียรติบัตรแกกรรมการสมาคมฯ ป 2549 - 2551 ดร.วรนุช ตรีวิจิตรเกษม ผูอำนวยการ มอบเกียรติบัตรแกกรรมการสมาคมฯ ป 2549 - 2551 5.5 รับรองรายงานการประชุมใหญสามัญ ประจำป 2550 ที่ประชุมพิจารณาและมีมติรับรองรายงานการประชุมใหญสามัญประจำป 2550 สมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

5.6 รายงานและรับรองการเงินและงบดุล ปการศึกษา 2550 อาจารยศิรินุช ตั้งสุขสันต เหรัญญิกสมาคมฯ รายงานท่ีประชุมทราบวา การตรวจสอบบัญชีของสมาคมฯ โดยบริษัท บวร อินเตอรฯ ลอว แอนด บิสซิเนส จำกัด ซึ่งมีนายบวร โจมฤทธ์ิ เปนผูรับผิดชอบตรวจสอบบัญชี โดยไมคิดคาใชจาย ไดมอบหมายให นางสุคนธ ฤทธิโรจน ผูตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต เปนผูตรวจสอบงบรายไดและคาใชจาย สำหรับปสิ้นสุด วันท่ี 30 เมษายน 2551 และ 2550 และงบดุล ณ วันท่ี 30 เมษายน 2550 และ 2551

สรุปรายไดและคาใชจาย : รายรับ รวมรายรับ 4,293,633.38 บาท

รายจาย รวมรายจาย 3,289,819.27 บาท รายไดสูงกวา (ต่ำกวาคาใชจาย ) 1,003,814.11 บาท เงินทุนสะสมตนปยกมา 9,974,939.16 บาท รายไดสุทธิยกไปทุนสะสม 10,978,753.27 บาท

• ที่ประชุมรับรอง

วาระที่ 6 พิจารณาผูตรวจสอบบัญชี ป 2551 - 2553

คณะกรรมการสมาคมฯ เสนอบริษัท บวร อินเตอร ลอว แอนด บิสซิเนส จำกัด โดยมี คุณบวร โจมฤทธ์ิ และคุณสุคนธ ฤทธิโรจน เปนผูตรวจสอบบัญชีของสมาคมในป 2551 - 2553

• ที่ประชุมรับรอง

PTA 2009

วาระที่ 7 เร่ืองอื่นๆ 7.1 ดร.วรนุช ตรีวิจิตรเกษม ผูอำนวยการ กลาวขอบคุณผูปกครองที่เขารวมประชุม และ แจงเร่ืองกิจกรรม/โครงการตางๆ ที่โรงเรียนจัดทำเพ่ือพัฒนาศักยภาพนักเรียนอยางตอเน่ือง เชน โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนเรียนดี - เรียนต่ำกวาเกณฑ โครงการพัฒนาทักษะดานศิลปะ ดนตรี กีฬา นอกจากน้ี ไดขอความรวมมือผูปกครองชวยสนับสนุนใหนักเรียนเขารวมกิจกรรมตางๆ ของโรงเรียน 7.2 การแสดงคอนเสิรตของวงดุริยางค งานกิจกรรมดนตรี จะจัดคอนเสิรต Go Forward 2008 ในวันศุกรที่ 31 ตุลาคม 2551 เวลา 19.00 น. ณ หอธรรม ขอเชิญทุกทานเขารวมชมคอนเสิรตในวัน เวลา ดังกลาว 7.3 โครงการ BCC Family Sports Day โรงเรียนจะจัดการแขงขันกีฬาสี BCC Family Sports Day และงานวันเด็กในวันท่ี 9 มกราคม 2552 ณ สนามฟุตบอล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ขอเชิญทุกทานรวมกิจกรรม 7.4 นายกสมาคมฯ กลาวขอบคุณ คุณจริยา ตันติวงศ ผูปกครองเด็กชาย ธนวิทย ตันติวงศ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 3/4 ที่ใหความอนุเคราะหจัดดอกไมตกแตงเวที วาระที่ 8 การเลือกต้ังกรรมการบริหารสมาคมฯ ประจำป 2551 - 2553 ผศ.ดร.นพ.ประกอบ ผูวิบูลยสุข นายกสมาคมฯ ประธานท่ีประชุมแจงท่ีประชุมทราบเรื่องการหารือให ผูจัดการและครูใหญตั้งกรรมการสรรหากรรมการชุดบริหารสมาคมฯ นั้นกรรมการสรรหาไดเสนอช่ือ คณะกรรมการบริหารสมาคมเรียบรอยแลวตามเอกสารแนบ

ผลการเลือกต้ังกรรมการบริหารสมาคมผูปกครองและครูฯ ป 2551 - 2553 กรรมการฝายผูปกครอง 10 ทาน (อันดับที่ 1 - 10) อันดับที่ หมายเลข รายนามผูสมัคร คะแนน 1. 1 ผศ.ดร.นพ. ประกอบ ผูวิบูลยสุข 473 2. 2 ผศ. พรศิริ อัญญานุภาพ 435 3. 3 ทพญ. จินดา อังพานิชเจริญ 434 4. 9 รศ.ดร.สุรศักด์ิ ลิขสิทธ์ิวัฒนกุล 407

5. 5 นาวาตรี ดร.วุฒิพงศ พงศสุวรรณ 388 6. 4 นายสุวัฒน สุขสงเคราะห 378 7. 7 นางอรุณี รุจิวนารมย 367 8. 8 นายธวัชชัย ปยนนทยา 362 9. 6 พ.ต.อ.มานะ กลีบสัตบุศย 345 10. 10 ผศ.พอ.หญิง ขวัญใจ ธนกิจจารุ 342

11. 12 นางอรวรรณ พยุหนาวีชัย 301 12. 14 นางอุบลรัตน รังสีวิจิตรประภา 226 13. 11 นายสัมฤทธ์ิ ลูวีระพันธ 165 14. 13 นางอรพินท คุณาพร 126

05

2

Min

utes

of M

eetin

gMinutes of Meeting

รายงานการประชุม

Min

utes

of M

eetin

g

06

2

กรรมการฝายครู 9 ทาน (อันดับที่ 1 - 9) อันดับที่ หมายเลข รายนามผูสมัคร คะแนน 1. 2 นางศิรินุช ตั้งสุขสันต 521 2. 4 นายวัชรพงษ อภิญญานุรังสี 520 3. 1 นางเพ็ญจันทร วัฒนมงคล 512 4. 5 นางอุดมพร พัสถาน 471 5. 6 นายสุวภัทร พรหมบุตร 447 6. 3 นายสุรินทร อนุชิราชีวะ 446 7. 7 นางสาววิไลวรรณ อินทรีย 433 8. 8 นายธวัชชัย มิ่งมงคล 397 9. 12 นางสาวสุดฤทัย สัจติประเสริฐ 385 10. 9 นางสาวนิรมล บุษปวนิช 363 11. 10 นายวัฒนกิจ สิทธิสถิตอังกูร 363 12. 11 นางวฤษพร สุวรรณไชยรัตน 207

สรุปรายชื่อและตำแหนงกรรมการบริหารสมาคมผูปกครองและครูฯ ป 2551 - 2553 1. ผศ.ดร.นพ.ประกอบ ผูวิบูลยสุข นายกสมาคมฯ 2. นายธวัชชัย ปยนนทยา อุปนายกคนท่ี 1 3. รศ.ดร.สุรศักด์ิ ลิขสิทธ์ิวัฒนกุล อุปนายกคนท่ี 2 4. ดร.วรนุช ตรีวิจิตรเกษม เลขาธิการ

5. นางอุดมพร พัสถาน ผูชวยเลขาธิการ 6. นางศิรินุช ตั้งสุขสันต เหรัญญิก 7. นางเพ็ญจันทร วัฒนมงคล นายทะเบียน 8. นางสาวสุดฤทัย สัจติประเสริฐ บรรณารักษ 9. ผศ.พรศิริ อัญญานุภาพ ฝายประชาสัมพันธ 10. นายสุรินทร อนุชิราชีวะ ผูชวยฝายประชาสัมพันธ

11. นายสุวัฒน สุขสงเคราะห ฝายปฏิคม 12. นายสุวภัทร พรหมบุตร ผูชวยฝายปฏิคม 13. นาวาตรี ดร.วุฒิพงศ พงศสุวรรณ ฝายกิจกรรม 14. นายกูศักด์ิ สารกิติพันธ ผูชวยฝายกิจกรรม 15. ทพญ.จินดา อังพานิชเจริญ ผูชวยฝายกิจกรรม 16. พ.ต.ท. มานะ กลีบสัตบุศย ผูชวยฝายกิจกรรม

17. นางอรุณี รุจิวนารมย ผูชวยฝายกิจกรรม 18. ผศ.พอ.หญิง ขวัญใจ ธนกิจจารุ ผูชวยฝายกิจกรรม 19. นายวัชรพงษ อภิญญานุรังสี ผูชวยฝายกิจกรรม 20. นางสาววิไลวรรณ อินทรีย ผูชวยฝายกิจกรรม 21. นายธวัชชัย มิ่งมงคล ผูชวยฝายกิจกรรม

PTA 2009

PTA Committee

วาระที่ 9 อธิษฐานปดการประชุม และขอพระพร โดย อาจารยกูศักด์ิ สารกิติพันธ ผูจัดการ

นางอุดมพร พัสถาน บันทึก นางสาวปราณี บุญคลัง บันทึก นางนงนุช คงสำราญ บันทึก / พิมพ ดร.วรนุช ตรีวิจิตรเกษม ตรวจทาน

07

2

Min

utes

of M

eetin

gMinutes of Meeting

รายงานการประชุม

1. ผศ.ดร.นพ.ประกอบ ผูวิบูลยสุข นายกสมาคมฯ

2. นายธวัชชัย ปยนนทยา อุปนายกคนท่ี 1

3. รศ.ดร.สุรศักด์ิ ลิขสิทธ์ิวัฒนกุล อุปนายกคนท่ี 2

4. ดร.วรนุช ตรีวิจิตรเกษม เลขาธิการ

5. นางอุดมพร พัสถาน ผูชวยเลขาธิการ

6. นางศิรินุช ตั้งสุขสันต เหรัญญิก

7. นางเพ็ญจันทร วัฒนมงคล นายทะเบียน

8. นางสาวสุดฤทัย สัจติประเสริฐ บรรณารักษ

9. ผศ.พรศิริ อัญญานุภาพ ฝายประชาสัมพันธ

10. นายสุรินทร อนุชิราชีวะ ผูชวยฝายประชาสัมพันธ

11. นายสุวัฒน สุขสงเคราะห ฝายปฏิคม

12. นายสุวภัทร พรหมบุตร ผูชวยฝายปฏิคม

13. นาวาตรี ดร.วุฒิพงศ พงศสุวรรณ ฝายกิจกรรม

14. นายกูศักด์ิ สารกิติพันธ ผูชวยฝายกิจกรรม

15. ทพญ.จินดา อังพานิชเจริญ ผูชวยฝายกิจกรรม

16. พ.ต.ท. มานะ กลีบสัตบุศย ผูชวยฝายกิจกรรม

17. นางอรุณี รุจิวนารมย ผูชวยฝายกิจกรรม

18. ผศ.พอ.หญิง ขวัญใจ ธนกิจจารุ ผูชวยฝายกิจกรรม

19. นายวัชรพงษ อภิญญานุรังสี ผูชวยฝายกิจกรรม

20. นางสาววิไลวรรณ อินทรีย ผูชวยฝายกิจกรรม

21. นายธวัชชัย มิ่งมงคล ผูชวยฝายกิจกรรม

01

02 03 04 05

06 07 08 09

10 11 12 13

14 15 16 17

18 19 20 21

คณะกรรมการสมาคมผูปกครองและครูฯ

Fina

ncia

l Rep

ort

08

3

รายงานการเงินFinancial+ Report

รายงานของผูสอบบัญชี

เสนอ สมาชิก สมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุล ณ วันท่ี 30 เมษายน 2552 และ 2551 งบรายไดและคาใชจายสำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของสมาคมผูปกครอง และครูโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตอง และครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลาน้ี สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา

ขาพเจาไดปฎิบตัิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดใหขาพเจาตองวางแผนและปฎิบัติงาน เพ่ือใหไดความเช่ือมั่นอยางมีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลท่ีขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญหรือไมการตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการท้ังท่ีเปนจำนวนเงิน และการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช และประมาณการเก่ียวกับรายการทางการเงินท่ีเปนสาระสำคัญ ซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทำข้ึน ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการท่ีนำเสนอในงบการเงินโดยรวมขาพเจาเชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา

ขาพเจาเห็นวางบการเงินขางตนน้ีแสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี 30 เมษายน 2552 และ 2551 ผลการดำเนินงานและงบรายไดและคาใชจาย สำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละป ของสมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โดยถูกตองตามท่ีควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รบัรองทั่วไป

(นางสุคนธ ฤทธิโรจน) ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขท่ี 4119

บริษัท บวร อินเตอร ฯ ลอว แอนด บิสซิเนส จำกัด เลขท่ี 98/29 ถนนเอกชัย แขวงบางบอนเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร

โทร 451-0503, 451-0515

Fina

ncia

l Rep

ort

09

3

รายงานการเงินFinancial+ Report

สมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยงบดุล

ณ วันท่ี 30 เมษายน 2552 และ 2551 หนวย:บาท สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน 2552 2551 เงินฝากสถาบันการเงิน (หมายเหตุ 2) 12,754,461.25 11,635,454.33 รวมสินทรัพยหมุนเวียน 12,754,461.25 11,635,454.33รวมสินทรัพย 12,754,461.25 11,635,454.33 หน้ีสินและทุนสะสม หน้ีสินหมุนเวียน ภาษีเงินได คางจาย (หมายเหตุ 6) 2,340.00 1,909.95 คาใชจายคางจาย (หมายเหตุ 4) 137,300.00 94,900.00 เจาหน้ีโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย 458,700.00 232,801.11 รวมหนี้สินหมุนเวียน 598,340.00 329,611.06รวมหน้ีสิน 598,340.00 329,611.06ทุนสะสม ทุนการศึกษาจากผูมีจิตศรัทธา 2,400.00 2,400.00 ทุนบริจาคโครงการอาหารกลางวัน 112,900.00 112,900.00 ทุนบริจาคโครงการดานวิชาการ 3,000.00 3,000.00 โครงการชวยเหลือครูเจ็บปวย 671,077.00 208,790.00 ทุนสะสม สิ้นป (หมายเหตุ 5) 11,366,744.25 10,978,753.27 รวมทุนสะสม 12,156,121.25 11,305,843.27

รวมหนี้สินและทุนสะสม 12,754,461.25 11,635,454.33 รับรองถูกตอง

ลงชื่อ…………………………………นายกสมาคม (ผศ.ดร.นพ.ประกอบ ผูวิบูลยสุข)

โปรดดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน

สมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยงบรายไดและคาใชจาย

สำหรับป สิ้นสุด วันท่ี 30 เมษายน 2552 และ 2551

หนวย:บาท รายได 2552 2551 คาลงทะเบียนสมาชิก ฯ 1,130,000.00 928,000.00 คาบำรุงสมาคม ฯ 3,011,168.00 2,708,750.00 ดอกเบ้ียรับเงินฝากธนาคาร (หมายเหตุ 3) 275,918.49 561,383.38 รายไดอื่น (คารูปถายของสมาชิกเพ่ือทำบัตร) 117,000.00 95,500.00 รวมรายรับ 4,534,086.49 4,293,633.38 คาใชจาย 1.คาใชจายเก่ียวกับการเรียนการสอน สนับสนุนโครงการวิชาการ 486,280.00 352,442.00 กิจกรรมสอนดุริยางค 216,840.00 152,380.00 กิจกรรมสอนเครื่องสายสากล 163,760.00 140,400.00 กิจกรรมสอนดนตรีไทย 168,400.00 172,100.00 2. คาใชจายเก่ียวกับนักเรียน โครงการทุนอาหารกลางวัน 12,675.00 15,825.00 อาหารเล้ียงพิธีจบหลักสูตร 81,600.00 75,000.00 โครงการ STUDENTS OF THE MONTH 2,244.00 2,012.00 โครงการ BCC SPIRIT BANK 38,661.00 10,095.00 โครงการสงเสริมสุขภาพ 0.00 20,000.00

โครงการจัดงานวันเด็ก 150,000.00 140,300.00 โครงการเพ่ิมพลังการเรียน 4,000.00 5,000.00 โครงการเรียนอยางมีศักยภาพ 12,000.00 4,000.00 โครงการกิจกรรมคณะสี 0.00 40,000.00

รับรองถูกตอง ลงชื่อ…....………………………………นายกสมาคม

(ผศ.ดร.นพ.ประกอบ ผูวิบูลยสุข) โปรดดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน

Fina

ncia

l Rep

ort

10

3

PTA 2009

Fina

ncia

l Rep

ort

11

3

รายงานการเงินFinancial+ Report

สมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยงบรายไดและคาใชจาย

สำหรับป สิ้นสุด วันท่ี 30 เมษายน 2552 และ 2551 3. คาใชจายเก่ียวกับผูปกครองและกิจกรรมสมาคม ฯ 2552 2551 โครงการคลีนิคใหคำปรึกษา 6,544.00 11,790.00 โครงการพบผูปกครอง-ใหความรู 22,807.84 16,866.00 โครงการโรงเรียนพ่ีโรงเรียนนอง 20,000.00 20,000.00 โครงการสายใยประสานบาน-โรงเรียน 32,555.68 52,867.59 คาใชจายในการประชุมใหญ 50,638.00 34,770.00 คาทำวารสารสมาคมฯ 205,440.00 189,750.50 คารับรองการประชุมของกรรมการ 5,115.00 4,715.00 คาฟลมทำบัตรสมาชิก ฯ 0.00 33,464.25 คาตอบแทนเจาหนาท่ีฝายบัญชี 12,000.00 12,000.00 คาการกุศล 21,000.00 27,900.00 4. คาใชจายเก่ียวกับคาตอบแทนและสวัสดิการ เงินสมทบออมสินครู 394,200.00 393,200.00 คาของขวัญครูเกษียณ 191,400.00 109,160.00 5. คาใชจายอ่ืน ๆ สนับสนุนกิจกรรม 22,500.00 66,500.00 งาน BCC “คืนสูเหยา” 5,000.00 4,000.00 เดินเพ่ือสุขภาพ 833,944.23 782,808.60 คาใชจายทัศนศึกษาของครู 300,000.00 300,000.00 ภาษีเงินได (หมายเหตุ 6) 29,931.85 58,048.33 เบ็ดเตล็ด 56,310.91 42,425.00

รวมคาใชจาย 3,545,847.51 3,289,819.27 รายไดสูงกวาคาใชจาย 988,238.98 1,003,814.11

รับรองถูกตอง ลงชื่อ……........……………………………นายกสมาคม (ผศ.ดร.นพ.ประกอบ ผูวิบูลยสุข) โปรดดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน

Fina

ncia

l Rep

ort

12

3

PTA 2009

สมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยหมายเหตุประกอบงบการเงิน

สำหรับป สิ้นสุด วันท่ี 30 เมษายน 2552 และ 2551

1. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ 1.1 การรับรูรายได 1.1.1 การรับรูรายได รับรูตามเกณฑคงคางยกเวน คาบำรุงสมาชิกและเงินบริจาครับรูตามเกณฑ เงินสด 1.2.1 การรับรูคาใชจาย สมาคมรับรูคาใชจายตามเกณฑคงคาง โดยคาใชจายทุกจำนวนจายผานโรงเรียนกรุงเทพ- คริสเตียนวิทยาลัย 2. เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน ประกอบดวย (หนวย:บาท) 2552 2551 เงินฝากธนาคาร-ออมทรัพย 872,816.11 591,000.00 เงินฝากธนาคาร-ออมทรพัย 602,225.66 0.00 เงินฝากธนาคาร-ออมทรัพย 82,990.28 82,541.42 เงินฝากธนาคาร-ประจำ 447,284.58 438,339.27 เงินฝากธนาคาร-ประจำ 10,749,144.62 10,523,573.64 รวม 12,754,461.25 11,044,454.33 3. ดอกเบ้ียรับ ประกอบดวย (หนวย:บาท) ดอกเบ้ียเงินฝากประจำ 260,573.66 553,864.56 ดอกเบ้ียเงินฝากออมทรัพย 15,344.83 7,518.82

รวม 275,918.49 561,383.38 รับรองถูกตอง

ลงชื่อ……........……………………………นายกสมาคม (ผศ.ดร.นพ.ประกอบ ผูวิบูลยสุข)

Fina

ncia

l Rep

ort

13

3

รายงานการเงินFinancial+ Report

สมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยหมายเหตุประกอบงบการเงิน

สำหรับป สิ้นสุด วันท่ี 30 เมษายน 2552 และ 2551 2552 25514. คาใชจายคางจาย ประกอบดวย (หนวย:บาท) กิจกรรมสอนดุริยางคคางจาย 64,900.00 37,400.00 กิจกรรมสอนดนตรีไทยคางจาย 38,400.00 34,500.00 กิจกรรมสอนเครื่องสายสากลคางจาย 34,000.00 23,000.00 รวม 137,300.00 94,900.00 5. เงินทุนสะสม (หนวย:บาท) เงินทุนสะสมคงเหลือ 10,378,505.27 9,974,939.16 รายไดสูงกวาคาใชจาย 988,238.98 1,003,814.11 เงินทุนสะสมสิ้นป 11,366,744.25 10,978,753.27 ยอดเงินทุนสะสม ณ วันตนงวด ต่ำกวายอดยกมา จากป 2551 จำนวน 600,248.00 บาท เปนคาใชจาย

โครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรูของนักเรียนท่ีใหถือเปนคาใชจายจากเงินทุนสะสม 6. ภาษีเงินได คำนวณโดย (หนวย:บาท) 10% จากดอกเบ้ียรับ 27,591.85 56,138.33 2% จากรายไดอื่น 2,340.00 1,910.00 รวมภาษีเงินได 29,931.85 58,048.33 หัก ภาษีเงินไดถูกหัก ณ ที่จาย 27,591.85 56,138.38 ภาษีเงินได สมาคมคางจาย 2,340.00 1,909.95

รับรองถูกตอง

ลงชื่อ……........……………………………นายกสมาคม (ผศ.ดร.นพ.ประกอบ ผูวิบูลยสุข)

รายนามคณะกรรการเครือขายผูปกครอง ปการศึกษา 2552PTA Member

Elem

enta

ry

1. คุณปณิชา สิทธิเลิศจรรยา ประธาน2. คุณทวีศักด์ิ หิรัญญะประทีป รองประธาน3. คุณกิติมา ลำธารทอง เลขานุการ4. คุณศิริเพ็ญ พงษวัฒนาสุข กรรมการ5. คุณอติภา เกิดสีทอง กรรมการ

1. คุณกริช คีรีวัลย ประธาน2. คุณเพ็ญศิริ ฉัมมาลี รองประธาน3. คุณรัตนา จันทวิภาค เหรัญญิก4. คุณนัชชา ชินกองหลา กรรมการ5. คุณปทิตตา จันทรวิภาดิลก กรรมการ

1. คุณวินัย ตระกูลมาภรณ ประธาน2. คุณพินนนรา ณ ระนอง รองประธาน3. คุณวรจรรย จูฑปริกขานนท เลขานุการ4. คุณณัฐพร ศิริวัฒนาโกศล กรรมการ5. คุณจักรกฤช เมธาศุภฤกษ กรรมการ

1. คุณธีรพงค ผลวิวัฒน ประธาน2. คุณพิศิษฐ ชีวะเรืองโรจน รองประธาน

3. คุณจันทรรุง ศรีตระกูลชาง เลขานุการ4. คุณสุจิตราภรณ นาคะลักษณ กรรมการ5. คุณทัศนียา ดวงแกว กรรมการ

1. คุณปยะฉัตร ถนัดธนูศิลป ประธาน2. คุณจันทนา ตันติลักษณ รองประธาน

3. คุณนวลลออ แซตั้ง เลขานุการ4. คุณเพ็ญทิพย เช่ียวชาญกิจการ กรรมการ5. คุณอรทัย รัตนมหาวงศ กรรมการ

1. คุณสุนทร ชุติการมงคล ประธาน

2. คุณบุญเลิศ เหลียงกอบกิจ รองประธาน3. คุณสงศรี สัตยตระกูลวงศ เลขานุการ4. คุณสิทธิพร เวทการ กรรมการ5. คุณสุพจน เอมละออ กรรมการ

01

09EIP

10EIP

02

03

04

05

06

1. คุณธนากร เลิศกิตศิริ ประธาน2. คุณเอกสิทธ์ิ สุวรรณเลิศวัฒนา รองประธาน3. คุณอรรถกร โพธิสมภรณ เลขานุการ4. คุณประดิษฐ แจมประเสริฐกุล กรรมการ5. คุณธนพร ทวีพันธุสานต กรรมการ

1. คุณกิตติพันธุ เกียรติสุนทร ประธาน2. คุณชัยชาญ วรยศศรี รองประธาน3. คุณปญจมา จันทรสระนอย เลขานุการ4. คุณพรผกา เจริญย่ิง กรรมการ5. คุณพันทิพา ธนฤกษ กรรมการ

1. คุณทะยะ ทองปาน ประธาน2. คุณพลอยดวงพร วงศชนะภัย รองประธาน3. คุณสายสมร เลิศคชลักษณ เลขานุการ4. คุณใจทิพย พันทรัพยกุล กรรมการ5. คุณสิริพร ธัญเมธาวงศ กรรมการ

1. คุณสุวิทย ธรณินทรพานิช ประธาน2. คุณสุรพันธ ชินนะเกิดโชค รองประธาน3. คุณนิลวรรณา อึ้งอัมพร เลขานุการ

4. คุณสุนันทา พรพูนสวัสด์ิ กรรมการ5. คุณดวงสมร วิริยะกิตติ กรรมการ

1. คุณชาญคริตส ออนอำไพ ประธาน2. คุณอดิชัย เปรมชัยพร รองประธาน

3. คุณกรรณิการ เหลาพงษศร เหรัญญิก4. คุณรัตนา ชูลาภรุงเรือง การเงิน5. คุณโรจนินทร วิรโชติกุลโรจน กรรมการ6. คุณพัชรินทร วองนัยรัตน กรรมการ

1. คุณพรสวรรค สุภัทรวัน ประธาน2. คุณภารุจา ภูรีสถิตย รองประธาน3. คุณพจริน เล็กเจริญ เหรัญญิก4. คุณอัญชลี เรารุจา เลขานุการ

07

08

10EIP

Grade 02

Grade 01

01

02

PTA

Mem

ber

14

4

PTA

Mem

ber

15

4

รายนามคณะกรรการเครือขายผูปกครอง ปการศึกษา 2552PTA Member

Elem

enta

ry

5. คุณเพ็ญนภา พรมณีพงษ กรรมการ6. คุณสุธิดา วัฒนธาดากุล กรรมการ

1. คุณธัญวรัตน ศิริเลิศ ประธาน2. คุณวิเชียร มูลหลา รองประธาน3. คุณปทุมเทพ สวัสดิ์ฤทธิรณ เลขานุการ4. คุณมัญชุสา งามศิริกุลชัย เหรัญญิก5. คุณอุษา สรรเสริญนิเวศ กรรมการ6. คุณสมคิด เจริญสิน กรรมการ7. คุณดาวรุง วาสะสิริ กรรมการ8. คุณมณฑา จิรบุญเลิศ กรรมการ 1. คุณอรวรรณ พยุหนาวีชัย ประธาน2. คุณดรุณวรรณ พรายพัทธยา รองประธาน3. คุณภิชานนท ฤกษสัจจนนท เลขานุการ4. คุณสิตางค เลิศวลีรัตน เหรัญญิก5. คุณสรายุส พุทธคุณ กรรมการ6. คุณณรงคฤทธ์ิ แจมฟา กรรมการ7. คุณจริยา อรุณชัยทิพย กรรมการ

1. พันโทชลชัย เกิดแจม ประธาน2. คุณมณฑา ศรีสถิตอนันต เลขานุการ3. คุณจันทนา เตชะคุณากรกุล เหรัญญิก4. คุณภานี พ่ึงจรูญศักด์ิ กรรมการ

1. คุณธีรนิติ์ เทศรัตนวงศ ประธาน2. คุณปานหทัย เกียรติกังวาฬไกล รองประธาน3. คุณธันยาดา ธีรภานันท เลขานุการ4. คุณเกรียงศักด์ิ สุวิทยะศิริ กรรมการ5. คุณตรีนุช ไทยเจีย กรรมการ

1. คุณนิตยา ปรานนรเศรษฐ ประธาน2. คุณกิติพร วัชรบุษย กรรมการ

3. คณุวิฑูรย อารยะพิพัฒนกุล กรรมการ4. คุณอัจฉริยา ลิมนินาท กรรมการ5. คุณสุวิทย กุลสรรคศุภกิจ กรรมการ

03

09EIP

04

05

06

07

1. คุณชัยพงษ ลือศิริเจริญพงศ ประธาน2. คุณนิรมล วองวัฒนาสกุล รองประธาน3. คุณพรพรส ธาตุนิยม เหรัญญิก4. คุณจันทรสุดา โสภณากิจโกศล กรรมการ5. คุณยุวนาถ กอเจริญวัฒน กรรมการ6. คุณกุลชา วิทยานุพงศ กรรมการ7. คุณสมศรี พุทธธรรมวงศ กรรมการ8. คุณศิริพร พิชญากร กรรมการ 1. คุณสุวรรณา ศุภภัทรเศรษฐ ประธาน2. คุณพีรพัฒน ตรีรัตนภรณ รองประธาน3. คุณศุภรา เตชะนิธิสวัสด์ิ เหรัญญิก4. คุณสุดารัตน เกษมชัยนันท กรรมการ5. คุณพิชิต พงษสุขเวชกุล กรรมการ6. คุณปญจกานต อินทรนนทวิไล กรรมการ

1. คุณอาริสรา ปติชัยชาญ ประธาน2. คุณทิพวรรณ ลิขิตอำนวยพร กรรมการ3. คุณลิลลี่ ชัยสมพงษ กรรมการ4. คุณอุษา สายแสง กรรมการ5. คุณพิสิษฐ วรรณวิทยาภา กรรมการ

1. คุณธรวัตร สถิรวิวัฒนกุล ประธาน2. คุณสุกัญญา วิจิตรวรศาสตร รองประธาน3. คุณธันยธรณ ชุติวณิชยกุล เลขานุการ4. คุณอาทิตยา ศิริพรพาณิชย กรรมการ

5. คุณปยาภรณ ศักด์ิศรีเลิศคำ กรรมการ

1. คุณวัฒนา มวงเจริญ ที่ปรึกษา

2. คุณธนนท วริศนราทร ประธาน3. คุณวรารัตน ธรรมถุติ รองประธาน4. คุณทิพรัตน รัตนวงศสวัสด์ิ เลขานุการ5. คุณศิริพร สุดยอดดี เหรัญญิก6. คุณณัฐพล ตัณฑประพันธ กรรมการ7. คุณพรพิมล ศรีคิรินทร กรรมการ

08

10EIP

Grade 0301

02

8. คุณปริญญา งามเลิศนภาพร กรรมการ

1. คุณประพัฒน หาญพานิชกิจ ประธาน2. คุณปญญาวัตร ภูริวิภาค รองประธาน3. คุณวรุณยุพา เหรียญเจริญสุข เลขานุการ4. คุณอรพินท สมพันธสาทิตย กรรมการ5. คุณชาญชัย อวยพรรุงรัตน กรรมการ6. คุณดาว เจียงเจ็ง กรรมการ7. คุณขวัญพัฒน ยาแกว กรรมการ8. คุณเย่ียมอุทัย เหมนิธิ กรรมการ9. คุณลดาวัลย สุทธิสิทธ์ิ กรรมการ10.คุณเกรียงไกร ปญญาเอกะวิทู กรรมการ

1. คุณกำพล รุงพราน ประธาน2. คุณกนกรัตน ร่ำรวยธรรม เลขานุการ3. คุณภิตินันท พรสินธุเศรษฐ เหรัญญิก4. คุณกุลพัชร ปญญาวชิร กรรมการ5. คุณวีรศักด์ิ เจียรภัทร กรรมการ

1. คุณมนตทิพย ตรีรัตนาเศรษฐ ประธาน2. คุณสุภาพร กิติทวีเกียรติ รองประธาน

3. คุณพรทิพย รัตนวิภาส เลขานุการ4. คุณวิภาวรรณ เรืองศุข กรรมการ5. คุณรุงนภา จันทรสวาง กรรมการ6. คุณธนิต บูรณปริญญากุล กรรมการ7. คุณเอกรัตน รุจิรเศรษฐกุล กรรมการ

1. คุณสุภัสตรา ฉันทานุมัติ ประธาน2. คุณมาลี ทองทวีชัยกิจ รองประธาน3. คุณศักด์ิศรี กำหอม เลขานุการ

4. คุณพรชัย อนันตศิริกุล กรรมการ5. คุณวาสนา ฉัตรชัยสิทธิกุล กรรมการ

6. คุณพิมพจรี รอบสันติสุข กรรมการ7. คุณชูพรรณ โกวานิชย กรรมการ

03

09EIP

04

05

06

1. คุณพิมลวรรณ ลิ้มปราชญา ประธาน2. คุณยาใจ เจริญรัตน รองประธาน3. คุณรุงรัตน สุนทรสิทธิพงศ เลขานุการ4. คุณพรปรียา สิทธิปญญา กรรมการ5. คุณนงนุช ภัทรากุลพิเชฐ กรรมการ

1. คุณปญจนีย ศรีสมวงศ ประธาน2. คุณสายฝน อภิวัฒนาวงศ รองประธาน3. คุณดานี รุงเรืองบางชัน เลขานุการ4. คุณสุรวุฒิ กอเศรษฐรัชต กรรมการ5. คุณรุงนภา จนัทรวิเมลือง กรรมการ6. คุณมนทิรา ธัญญะวัน กรรมการ

1. คุณสมศักด์ิ อัศวนันทวดี ประธาน2. คุณอภิรดี จีวะระพุทธ กรรมการ3. คุณชลทิพย ชำนาญรัตนกุล กรรมการ4. คุณนิษณา บรรณสารตระกูล กรรมการ5. คุณทรงศรี ปรมี กรรมการ

1. คุณโชคชัย มนตรีอมรเชฐ ประธาน2. คุณสุพรรณี ปญญาวรคุณ กรรมการ

3. คุณณัฏฐนันท ไพศาลธนวัฒน กรรมการ4. คุณศศิธร อยูประยงค กรรมการ

5. คุณปณิชญา บัวคำศรี กรรมการ

1. คุณกัลยาณี บรรณประดิษฐ ประธาน

2. คุณไพศาล อภิรักษนุสิทธ์ิ รองประธาน3. คุณเสาวณีย พิทยาพงษชาติ เลขานุการ4. คุณวันชัย วัฒนธาดากุล เหรัญญิก

5. คุณเฉลิมชัย งามสวย กรรมการ6. คุณสุเทพ อาบสุวรรณ กรรมการ7. คุณสิริพร ธนสมบัติสิริ กรรมการ8. คุณสิริพิชยา พุทธาอิทธิพัฒน กรรมการ

07

08

10EIP

Grade 0401

PTA

Mem

ber

16

4

2009 PTA

PTA

Mem

ber

17

4

รายนามคณะกรรการเครือขายผูปกครอง ปการศึกษา 2552PTA Member

Elem

enta

ry

1. คุณวรเมศ ลิมปอมร ประธาน2. คุณนันทกา วิกิณิยะธนี รองประธาน3. คุณบุสมวรัจนต วิริยะธนิต เหรัญญิก4. คุณพิสุทธ์ิ ปาปะเขา เลขานุการ5. คุณรุงโรจน กูสุดใจ กรรมการ

1. คุณณัฏฐิตา ศกุนะศิลปน ประธาน2. คุณวนิดา วงษยะลา รองประธาน3. คุณหงษลัดดา พงศสุวรรณ เลขานุการ4. คุณพรทิพา อัศวมณีกุล กรรมการ5. คณุวีรศักด์ิ วงศมิตรไมตรี กรรมการ

1. คุณประสานสุข พิทยาจิรกุล ประธาน2. คุณสุมลจิต พรหมายน เลขานุการ3. คุณอารีย ธรรมปญญวัฒน เหรัญญิก4. คุณอุษณีย พรไกรศรี กรรมการ5. คุณศุภาวีร ไชยวิรุณเจริญ กรรมการ6. คุณกิตินันท ขาวไชยา กรรมการ

1. คุณรัชดา นามวรรณ ประธาน2. คุณหฤดี ลิมปนวงศแสน รองประธาน

3. คุณเกตมณี แซตั้น เลขานุการ4. คุณเพ็ญศรี รุงวิทยา เหรัญญิก5. คุณมนัสชัย เตชะบุญประธาน กรรมการ

6. คุณยุพดี ลิมปนานุวัฒน กรรมการ 1. คุณพนิดา ธนไพศาลกิจ ประธาน2. คุณนภาพร สมประสพสุข รองประธาน3. คุณอุบลสิริ ศรีทองสุข เลขานุการ

4. คุณพิชญา ตันสุวรรณนนท เหรัญญิก5. คุณเพ็ญนภา สวางงามวงศ กรรมการ

1. คุณธีรธร ธุวานนท ประธาน2. คุณเกษม พรอนันตรัตน รองประธาน3. คุณรัชนีย ศิริชาติชัย เลขานุการ4. คุณเพ็ญนภา ทับทิมเทศ เหรัญญิก

02

09EIP

03

04

05

07

5. คุณธิดา เกศาศรัย กรรมการ6. คุณพนัชกร พัฒนวศิน กรรมการ

1. คุณดวงดี สุริโยดร ประธาน2. คุณเขมิกา วิเชียรดิลกกุล รองประธาน3. คุณสุภาพร เธียรเจริญธนกิจ เลขานุการ4. คุณจุฑาพร วัฒนาเลขาวงศ เหรัญญิก5. คุณหัสชน วิมุตตินันท กรรมการ6. คุณลินดา คูเกษมรัตน กรรมการ 1. คุณสุขฤดี สันติเมธวิรุฬ ประธาน2. คุณสุมาลี ชำนาญรัตนกุล เลขานุการ3. คุณจิราพร นาคศฤงคาริน เหรัญญิก4. คุณโกเมท ตรีนก กรรมการ5. คุณวริวรรณ สมนึก กรรมการ

1. คุณปราณี ชวยประสาทวัฒนา ประธาน2. คุณกมลพร สีทาโคตร เลขานุการ3. คุณสมบูรณ บัวทอง กรรมการ4. คุณนพสินธุ ชัยปาริฉัตร กรรมการ5. คุณกฤตนันท สุวรรณอาจ กรรมการ6. คุณวิบูลย กมลพรวิจิตร กรรมการ

1. คุณวิภาพรรณ เจนสกุล ประธาน

2. คุณรจนพรรณ วุฒิกมลชัย รองประธาน3. คุณเอ้ืองคำ นุชวงษ เลขานุการ4. คุณเชิดศักด์ิ จิระพรชัยชาญ กรรมการ

5. คุณอัญชลี ศิลาทอง กรรมการ 1. วาท่ีร.ต.สุรเสกข ประจักษภักดี ประธาน2. คุณบุญศรี วิสุทธิไพฑูรย รองประธาน3. คุณเกรียงศักด์ิ โกศัย เลขานุการ

4. คุณเชิดชัย ทองกุนา กรรมการ5. คุณมาลี วิจิตรโสภณ กรรมการ

08

10EIP

Grade 0501

02

06

1. คุณปราณี ฤทธีวีรกูล ประธาน2. คุณสุชาตา หนูทอง รองประธาน3. คุณนริศรีย พวงพลับ เลขานุการ4. คุณกมลวรรณ อัศวชัยไพศาล เหรัญญิก5. คุณระพีพรรณ หัตถะศิลปกุล กรรมการ 1. คุณอัญชลี จริยวัฒนวิจิตร ประธาน2. คุณเพ็ญศิริ นิตยโฆษกุล เหรัญญิก3. คุณวลัยพรรณ บุญจรัสรวี เลขานุการ4. คุณมณีพรรณ ฉันทศิริพันธ กรรมการ5. คุณจินตนา รัตนแกวกาญจน กรรมการ 1. คุณวสันต เคหสุขเจริญ ประธาน2. คุณชุลีพร เกียรติสุขศรี รองประธาน3. คุณศิรินันท ยุบลบัณฑิตกุล เลขานุการ4. คุณสุขุมาล สินเจริญ กรรมการ5. คุณอรัญญา เลาหกรรณวนิช กรรมการ 1. คุณธิดารัตน กองแกว ประธาน2. คุณเกรียงศักด์ิ สุวิทยะศิริ กรรมการ3. คุณเบญจรงค วัชรสิงห กรรมการ4. คุณพัชรีพร ลือกาญจนวนิช กรรมการ5. คุณสุรางค ศรีบูรพา กรรมการ 1. คุณสุกัญญา เอ้ือชูชัย ประธาน2. คุณเยาวลักษณ กังวานเวชกุล เลขานุการ3. คุณโชคชัย ตันตราภิรมย กรรมการ

4. คุณกาญจนา เจริญถาวรสุข กรรมการ5. คุณบุญญิสา รงคสินเทียร กรรมการ

1. คุณปราณี รังสีมงคล ประธาน2. คุณนภาพร เสถียรธรรมกุล เลขานุการ3. คุณกาญจนา มุขลาย กรรมการ

4. คุณดลฤดี ทรงพุฒิ กรรมการ5. คุณทิพยา ทรรปณจินดา กรรมการ

03 09EIP

04

05

06

1. คุณกรณดิษฐ จิตรัตนเก้ือกูล ประธาน2. คุณสมศรี แซเตีย รองประธาน3. คุณณัฐฐาศิริ รอดดวยบุญ เลขานุการ4. คุณวันทนา ตรีวิศวเวทย เหรัญญิก5. คุณนลินี ฉลองโภคศิลชัย กรรมการ6. คุณอมรพรรณ บุญเปลง กรรมการ 1. คุณสุชาติ เดนวิทยา ประธาน2. คุณวรลักษณ เสนาจักร รองประธาน3. คุณมุกดา เหลาชูวงศ เลขานุการ4. คุณธีรนุช เศตะพราหมณ เหรัญญิก5. คุณสหพร พูลเพ่ิม กรรมการ

1. คุณอุบลรัตน รังสีวิจิตรประภา ประธาน2. คุณขนิษฐา เกียรติสมภพ เลขานุการ3. คุณนทิยา ผลวัฒนะ เหรัญญิก4. คุณมาลี สุเสรีชัย กรรมการ5. คุณวิสิษฎ วิวัฒนวงศวนา กรรมการ

1. คุณบุญสง กุยวงศ ประธาน

2. คุณชณิจตา ปทิตตาบุตร กรรมการ3. คุณพรทิพา รัตนกูล กรรมการ4. คุณปสุดา ณรงคพันธ กรรมการ

5. คุณณัฐวดี อินทรนาค กรรมการ 1. คุณพิมพร ศิริวรรณ ประธาน2. คุณสมบูรณ เจริญวุฒิวงษา รองประธาน3. คุณพนิดา ดาบุตร เหรัญญิก

4. คุณภมร ทินตระกูล เลขานุการ5. คุณชลิต จารุมนถิรบวร กรรมการ6. คุณเสาวณีย พิทยาพงษชาติ กรรมการ

7. คุณบุญยนุช บุญศิริพัฒน กรรมการ

10EIP

Grade 0601

PTA

Mem

ber

18

4

2009 PTA

07

08

02

03

PTA

Mem

ber

19

4

รายนามคณะกรรการเครือขายผูปกครอง ปการศึกษา 2552PTA Member

Elem

enta

ry

1. คุณธงชัย จินดาทองดี ประธาน2. คุณมาลี อนันตหนอ รองประธาน3. คุณวัลภา สุขผลธรรม เหรัญญิก4. คุณทิพรัตน รัตนวงศสวัสดิ์ เลขานุการ5. คุณพรพรรณ ยศทวีพรอนันต กรรมการ

1. คุณสมนึก โกบเจริญ ประธาน2. คุณสุภาพร พาสนาโอฬาร รองประธาน3. คุณอุรารัย วรมหาคุณ เลขานุการ4. คุณพัฒนา มณีกันตา กรรมการ5. คุณกชพร มหาศาลสกุล กรรมการ

1. คณุนันทวัน ฉัตรสกุลเพ็ญ ประธาน2. คุณบุณยนุช บุญศิริพัฒน เลขานุการ3. คุณวิลาวรรณ พงษพันธปญญา กรรมการ4. คุณจันทิมา สุทิน กรรมการ5. คุณชุลีพร ออนแสงคุณ กรรมการ6. คุณจินตนา วิชาพานิชย กรรมการ

1. คุณนงนภัส วงศสวัสดิ์ ประธาน2. คุณนิศานาถ พงษสวัสดิ์ เลขานุการ3. คุณชญานี ปยะชโลทร เหรัญญิก4. คุณขนิษฐา ศุกระชาต ประชาสัมพันธ5. คุณดารณี ลิมปษเฐียร กรรมการ

6. คุณชัชพร ไชยถาวรกุล กรรมการ

1. คุณละวา บุญถนอม ประธาน2. คุณสมศรี จิระประดิษฐา รองประธาน3. คุณขวัญใจ เนตรภู เลขานุการ

4. คุณชนินันท โรจนเจริญงาม กรรมการ5. คุณสุวิไล ตั้งเจริญรุงโรจน กรรมการ6. คุณณัฐวุฒิ วิสาวนนท กรรมการ

7. คุณบันลือ ขันติวัฒนา กรรมการ

04 09EIP

05

06

07

1. คุณศรีสุมล แตงนอย ประธาน2. รศ.ทญ.สุภาณี รัศมีมาสเมือง รองประธาน3. คุณเอมอร จิรวงศาพันธุ เลขานุการ4. คุณสุวรรณา ชัยพุฒิ เหรัญญิก5. คุณสุชาดา เลิศสินธวานนท กรรมการ

1. คุณสัมฤทธ์ิ ลูวีระพันธ ประธาน2. คุณจิตรลดา วิชยสถิต เลขานุการ3. คุณนวลละออ เจนจรัสสกุล กรรมการ4. คุณทิพยวรรณ ประสพสุข กรรมการ5. คุณสมชาย ธัญญศิริ กรรมการ

10EIP

08

Seco

ndar

y

01

04

05

06

07

08

1. คุณสมเกียรติ วงศาโรจน2. คุณชาญชัย ตันติราษฎร3. คุณเบญจพร สมุทรโคจร4. คุณวรารัตน ทักษิณวราจาร5. คุณวัชราภรณ วโรภาษ6. คุณพุทธสา ชัยวิริยกุล7. คุณนิสาชล กอธีระกุล 1. คุณสุธิดา ดารารัตนโรจน2. คุณปณิชา สิทธิเลิศจรรยา3. คุณวรรณี ผาณิตพงศ4. คุณอัญชลี เจริญวัฒนวิจิตร5. คุณจุฑามาศ รัตนโอภาส6. คุณบุญศรี จงเจริญชัยกุล7. คุณโชติพันธ สมบุญตนนท 1. คุณประพันธ จันทรนฤกุล2. คุณสุพิชา ศรีธนภัครางกูร3. คุณนฤมล อาภาสุทธิรัตน4. คุณศุภกิจ ทุนคา

1. คุณสมเกียรติ กุลธรรมโยธิน2. คุณสายวุฒิ พัฒนเสถียรกุล

3. คุณเทพมนตรี ลิมปพยอม

1. ม.ล.กรรณิการ อินทวัฒน2. คุณอังคณา ฉายสุวรรค

3. คุณอำไพ ภราดรพวงพันธ4. คุณสลิลรัตน โกมลวิภาต

5. คุณธัญญารัตน พัฒนปรัชญาพงศ

1. คุณวรนิติ วรนิติโกศล2. คุณสำเริง ศรีพงษกุล3. พ.อ.หญิง ขวัญเรือน

4. คุณสนิชา มวงคำ

Grade 0801

PTA

Mem

ber

20

4

2009 PTA

1. คุณศักด์ิศรี นิลวลัยกุล2. พันเอกธวัชชัย ศิริปรุ3. คุณเจียระไน เรืองกิตตธนาธร4. คุณกัลยา โศภิษฐกมล5. คุณเอกชัย ศีลคุปต6. คุณธนัทธร นาคสมบูรณ7. คุณสมหมาย มวงมณี 1. คุณอารีรัตน ออนจันทร2. คุณสุรัตนา วรรณศิริกุล3. ดต.เกษียร นิ่มกลัด4. คุณจันทรทิมา วงศผาสุกสถาพร5. คุณสุภาพร กิตติวณิชพันธุ 1. คุณวลัยพรรณ บุญจรัสรวี2. คุณอิทธิพงศ เทียมราษฎร3. คุณสมใจ มีรุงเรือง4. คุณมณฑา ศรีสถิตอนันต

1. คุณเสาวรส สัจจเทพ

2. คุณพิจารณา สามะบุตร3. คุณวิเชียร วัฒนกิจศิริ

4. คุณอัจรา โมมินทร

1. คุณวีรภรณ พลภาณุมาศ2. คุณชุติพัฒน ธรรมารัตน3. คุณสุขวสา ธนิกวงศ

1. คุณนุวัตร ประสิทธ์ิวรนันท

2. คุณแกวตา ชัชวาลอมรกุล3. คุณดวงพร พงษเฉลิม4. คุณสุขวสา ธนิกวงศ

5. คุณจตุรพร พิมพะสิงห

Grade 07

02

03

09

10

02

PTA

Mem

ber

21

4

รายนามคณะกรรการเครือขายผูปกครอง ปการศึกษา 2552PTA Member

Seco

ndar

y

5. คุณวราห ชื่นมะโน6. คุณวนิดา ทัศนปญญา7. คุณบงกช ศรีนาเทพ8. ม.ล.สราวุฒิ ทองแถม ณ อยุธยา9. คุณธนิตย อมรชัยยาพิทักษ

1. คุณสมถวิล ลิ้มเจริญ2. คุณอิศรี ชื่นจิตร3. คุณลัดดา หรูอนันต4. คุณโขมพัสตร จิรจริยากุล

1. คุณพรทิพย ปรีชาชาญพาณิชย2. คุณอโนชา โสณมัย3. คุณกมลพร นกจันทร4. คุณทรงพล พิริยจิตรกรกิจ5. คุณอาภากร พันธกัทลี

1. คุณมานพ ผากา2. คุณสุขอารมณ เพ่ิมพันธุวรวัฒน3. คุณณัฐยา จันทรเชียร4. คุณสุพัตรา มากเมือง

1. คุณวงศจันทร สมบูรณศักดิกุล2. คุณศิริ ศิริภูมิตภาพ

1. คุณวันทนี โรจนฤทธิไกร2. คุณศิริทิพย วิสุทธาจารี

1. คุณเสาวรส กอสุราษฎร2. พ.ต.ท.นฤพนธ วานิชนุเคราะห

1. พ.ต.ท.ราชรัฐ โชติดำรงค2. คุณสุชาติ ซื่อสัจจกุล

3. คุณสุรัตน ชัยเจริญสุข

03

1. คุณเพ็กแฮ สันตินธรกุล2. คุณสรรครวี บุญเกตุ3. คุณธนากร อุนปโยดม4. คุณสุชาติ เดนวิทยา

1. คุณธงศักด์ิ จันทรมานิตย2. คุณรุงทิพย สมบูรณสิริโภค3. คุณสมบัติ สถิตถาวรวงศ4. คุณชลิต กิติญาณทรัพย5. คุณวราพร กองแดนไพร

1. คุณมยุรี ภวภูตานนท2. คุณประสงค ศิริพัฒนกุลขจร3. คุณปรียา แววหงษ

4. คุณเสาวพา เวศกาวี5. คุณกมล พรชัยทิพยรัตน

1. คุณปริสา เตียตระกูล2. คุณศักด์ิศรี นิลวลัยกุล3. คุณอมรชัย สุวริยาศัย4. คุณสุนันท มีเถือน5. คุณบรรพต เมฆสถาพรกุล

1. คุณสุภา ดวงกมลมาศ2. คุณนภัสสร ชำนาญพูด3. คุณเบญจมาศ พรไพบูลยสุข4. คุณมนรดา เอ้ืออารักษพงศ

1. คุณขนิษฐา ลิ่ววงศขจร2. คุณองคอร นิมบุญจาช3. คุณอิศราภรณ ซุง4. ผอ.ธัญญะ โรจนพานิช

5. คุณยงยุทธ ลิ่วโรจนสกุล

10

Grade 09

04

05

06

07

08

09

01

03

04

06

07

1. คุณเบญจา กัลยาวินัย2. คุณอุบลรัตน รังสีวิจิตรประภา3. คุณสุธิดา ดารารัตนโรจน4. คุณสุรียรัชต เจริญวัฒนชัย5. คุณพีรพรรณ พรหมบน

1. คุณเรณู รุงเรืองเสถียร2. คุณสาลินี อินทรสุขศรี3. คุณวรลักษณ เสนารักษ4. คุณสมสิน แซเตีย

1. คุณลัดดา จิรวดีกานต2. คุณรินทรทอง วรรณศิริ

1. คณุหทัยรัตน เจริญวัฒนานนท2. คุณไพจิตร เกสรวิบูรณ3. คุณมาลี อัศวสุปรีชา4. คุณชลธิชา ฤกษสุริยพันธ

1. คุณบุญชื่น สินธุวิกัยวงศ2. คุณนวลทิพย ไกรลาศรัตนศิริ3. คุณสมศรี ศรีวรรณทิพย4. คุณปริศนา จิระกรกุล5. คุณรัตนา จารุภัทรพงศ6. คุณดลพร สรุปราษฎร

7. คุณนงนุช ไกรโสภา8. คุณจงโปรด คชภูมิ9. คุณอรนุช หงสศิริกาญจน

1. คุณปริญญา เกียรติเสริมสุข2. คุณนาถนุดา สังคีตานนท3. คุณสุรางค พงษสามารถ

4. คุณประภากร ตุลยนิมิตกุล5. คุณอรพินท คุณาพร6. คุณนวลอนงค ศุภเมธาพร

1. คุณณัฐชนก ปยะประชากร2. คุณนคเรศ พูนศิริวงศ3. น.อ.สามารถ โปษะกฤษณะ4. คุณอุไร สายสุด5. คุณสุวลี เอ้ืองชูถ่ิน 1. คุณวรกฤติ วิทยานุภาพ2. คุณทัศนีย ธิติธางกูร 1. คุณยุพดี มายะการ2. คุณพรทิพย นนทศุข3. พ.ต.ต.ฟาฟ้น มวงจินดา4. คุณนันทพร จูอนุชาติ5. คุณศิริวรรณ ปติสาร 1. คุณมณี ลีซุย2. คุณพิชามญชุ ลาภพิพิธมงคล3. คุณวราภรณ เจริญสินทวีกุล

1. คุณมยุลฉัตร วังแกว2. ทพญ.วันเพ็ญ มนูรังษี3. คุณสุวรรณา มงคลอดิสัย4. คุณพัลลภา คลองพิทักษ5. คุณสุนันท ลิ้มนิธิธรรม

1. คุณชูเกียรติ พานิชวิทิตกุล2. คุณเพียงตา หลิมไชยกุล

1. คุณศันสนีย นุตกุล

2. คุณสุภาวรรณ เหมะวัต3. คุณพรรณลักษณ กาญจนภัทรโภคิน

1. คุณหลุย วิวงศศักด์ิ2. คุณป่นมณี พันธกัทลี3. คุณสุวรรณา วงศสุรไกร

05

Grade 11

PTA

Mem

ber

22

4

2009 PTA

Grade 10

08

09

01

02

03

04

07

08

09

04

06

07

08

รายนามคณะกรรการเครือขายผูปกครอง ปการศึกษา 2552PTA Member

PTA

Mem

ber

23

4

Seco

ndar

y

1. คุณสรอยทิพย ทิพยเนตร 2. คุณนวชนม แสงสวาง3. คุณอรสิรี หนูพรหม4. คุณอรชดา ดีอุดมวงศา5. คุณเรืองรอง คำพอ 1. คุณสมบูรณ เจริญวุฒิวงษา2. คุณแสงฟา โชติวิจิตร3. คุณเพ็ญประภา จิตลดาพร4. คุณธนีนาถ ตรีรัตนวีรพงษ5. คุณยุพดี วิโรจนโภคา

1. คุณพรทิพย ภูติภัทร2. คุณวิมลพรรณ ขจรฤทธ์ิเดชา

1. คุณกิติพรรณ การุณรัตนกุล2. คุณสุรเวทย อินทพันธ3. คุณชุลีรัตน การะเวกพันธ4. คุณสุวรรณี ศุภเบญจกุล5. คุณอัมพวรรณ วณิชเดโชชัย

1. คุณสมภรณ สกุลสิทธิเดชา2. คุณละอองทิพย ศรีฉันทะมิตร

3. คุณธฤติ สำราญเวทย4. คุณเสาวลักษณ สุริยมงคล5. คุณศุภลักษณ รัตนมิ่งมงคล

1. คุณผองพรรณ ตันฉายงาม

2. คุณสุณิสา สาครเสถียร3. คุณขนิษฐา พรพัฒนไสว4. คุณวรนุช เลิศสัตการ

1. คุณศิริกันยา สิริสุทธิ

01

1. คุณบุญสม เสมอกาย09Grade 12

02

03

04

05

06

07

PTA

Act

ivity

24

5

ActivityPTA กิจกรรม

วันเด็ก 255201

คณะกรรมการสมาคมผูปกครองและครูฯ รวมกับผูปกครองเครือขาย

และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย จัดกิจกรรมเสริมทักษะ และกีฬานันทนาการ แกนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา เน่ืองในวันเด็กแหงชาติ เม่ือวันท่ี 9 มกราคม 2552

ActivityPTA กิจกรรม

PTA

Act

ivity

25

5เดินเพื่อสุขภาพ02

ผศ.ดร.นพ. ประกอบ ผูวิบูลยสุข นายกสมาคมผูปกครองและครูฯ ประธานจัดงาน BCC เดินเพ่ือสุขภาพคร้ังท่ี 6 กลาวรายงานวัตถุ-ประสงคในการจัดงาน โดยไดรับเกียรติจาก ศ. พิเศษ เรวัต ฉ่ำเฉลิม ประธานกรรมการกองทุนอาจารยอารีย เสมประสาท เปนประธานเปดงาน เพ่ือสนับสนุนใหนักเรียนไดออกกำลัง-กายและนำรายไดสวนหน่ึงสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เมื่อวันท่ี 1 กุมภาพันธ 2552 ณ สวนลุมพินี

BCC-PTA Bowling03

PTA

Act

ivity

26

5

2009 PTA

ผศ.ดร.นพ. ประกอบ ผูวิบูลยสุข นายกสมาคมผูปกครองและครูฯ ประธานจัดการแขงขัน BCC-PTA Bowling ซึ่งจัดโดยสมาคม เพ่ือนำรายได

ชวยเหลือครูที่เจ็บปวยข้ันวิกฤต ณ เมเจอรโบว เซ็นทรัลพระราม 3 เมื่อวันท่ี 1 สิงหาคม 2552

Act

ivity

sup

port

by

PTA

27

6

ActivityPTAกิจกรรมที่ PTA ใหการสนับสนุน

supported by

พิธีจบหลักสูตร01

ผศ.ดร.นพ.ประกอบ วิบูลยสุข นายกสมาคมผูปกครองและครูฯ และคณะกรรมการ รวมเปนเจาภาพแสดงความยินดีกับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 6 (รุน 156) ที่จบหลักสูตรในปการศึกษา 2551 เม่ือวันท่ี 14 กุมภาพันธ 2552 ณ โรงแรม The Tawanna Bangkok

คุณสุวัฒน สุขสงเคราะห กรรมการสมาคม

PTA ฝายปฏิคม เปนผูแทนมอบของที่ระลึกแดคุณครูที่เกษียณในปการศึกษา 2551จำนวน 5 ทาน ไดแก คุณครูอุไร ประสงคสิน

คุณครูสุรีย โลหเพชร คุณครูสุนิต แสงขำคุณครูชาญยุทธ กิจเจริญการคา และคุณครูยุพิน รัตนไพรวรรณ ณ หองประชุม 1 อาคารสิรินาถ เมื่อวันท่ี 27 มีนาคม 2552

มอบของที่ระลึกแดครูเกษียณ02

2009 PTA

Act

ivity

sup

port

by

PTA

28

6ดุริยางค - เคร่ืองสาย03

งานของกลุมดุริยางคป 25511. งานอาลัยพระพ่ีนาง 2. คอนเสิรต our first step วันท่ี 30 พฤษภาคม3. เดินงานวันปยะมหาราช วันท่ี 23 ตุลาคม 4. เดินถวายพระพร วันท่ี 5 ธันวาคม5. Go forward 2009 วันท่ี 7 พฤศจิกายน6. งานคืนสูเหยา 22 พฤศจิกายน7. Asian 10 th วันท่ี 28 พฤศจิกายน8. งานสโมสร lion 9. งานเดินฉลองวัน x’ mas

งานของกลุมดุริยางคป 25521. งานเดินเพ่ือสุขภาพ 2. เดินนำขบวน สมาชิกสภา congress 7 3. รับสมัครสมาชิกใหม 4. งานไหววครูดนตรี 4 มิถุนายน

Act

ivity

sup

port

by

PTA

29

6

ActivityPTAกิจกรรมที่ PTA ใหการสนับสนุน

supported by

Interact04

คายอาสาพัฒนาชนบท โรงเรียนบานคลองแหงวิทยา จ.อุทัยธานี

คายอาสาพัฒนาชนบท เปนกิจกรรมหน่ึงของสโมสรอินเตอรแรคท เพ่ือบำเพ็ญประโยชนตอสังคม โดยเยาวชนอายุระหวาง 14-18 ป ซึ่งสโมสรอินเตอรแรคทของเราไดรับการสนับสนุนสวนหนึ่งจากสมาคมผูปกครองและครูฯ โรงเรียนกรุงเทพ-คริสเตียนวิทยาลัย ทำใหผมและสมาชิกทุกคนไดมีโอกาสไปจัดคายพัฒนาชนบทที ่โรงเรียนบาน-คลองแหงวิทยา จังหวัดอุทัยธานี ที่นี้สภาพจิตใจของนักเรียนสวนใหญจะไมคอยดีนัก

เนื ่องจากบางคนขาดความ-อบอุนจากพอแม ทำใหสโมสรอินเตอรแรคทของเราเล็งเห็นถึงปญหาน้ี จึงมี

การจัดทำกิจกรรมตางๆ มากมายใหกับ

นองๆ เชน กิจกรรมสันทนาการเพ่ือความบันเทิง และการเลนกีฬากับนองๆ ซึ่งเปนโรงเรียน ทำใหคณะของเรา

ประทับใจมาก เน่ืองจากเด็กๆ นารัก และเช่ือฟงพ่ีๆ เปนอยางมาก ทำใหกิจกรรมของเราเต็มไปดวยความสนุก-สนานและรอยย้ิมจากทุกๆ คน ถึงแมจะเหน่ือยแคไหนก็ตาม แตเราก็เต็มไปดวยความสุข

ผมไดมีโอกาสไปเยี ่ยมบานของน ักเร ียนท ี ่ม ีผลการเร ียนด ีแต ยากจน จึงมอบทุนการศึกษาจากสมา-

คมผูปกครองและครูฯ และผมก็ยังไดพูดคุยกับผู ปกครองของนักเร ียน และซักถามประวัติตางๆ ซึ่งพบวา

นักเรียนสวนใหญ พอแมของเขาจะท้ิงลูกไวใหอยูกับปู ยา ตา ยาย เล้ียง ซึ่งสะทอนใหเห็นวาสังคมของแถบนั้นอาจ

จะยังไมดีเทาท่ีควร แตเมื่อพวกเราไดไปมอบทุนการศึกษาพรอมของใชในชีวิตประจำวันใหเขา ไดพูดคุยกับเขา ทำใหผูปกครองของเด็กๆ ถึงกับรองไหเลย

ทีเดียว เพราะขนาดของใชในชีวิตประจำวันน้ันเขายังขาดแคลนเลย แตพวกเราไดมาเติมเต็มใหเขา ผมรู ส ึกประทับใจมากจริงๆ ครบั และสุดทายน้ีผมตองขอขอบคุณคณาจารย และสมาคมผ ู ปกครองฯ ทุกท านท ี ่สน ับสน ุนในการจ ัดค ายครั้งน้ี และผมก็ขอฝากใหสโมสรอิน

เตอร แรคทร ุ นต อไปได สร างความ-สุขใหกับสังคมไทยตอไปครับ วรพงษ ฐิติถาวรนันท นายกสโมสรอินเตอรแรคท ประจำปบริหาร 2551-2552

2009 PTA

Act

ivity

sup

port

by

PTA

30

6คืนสูเหยา05

xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx

xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx

Act

ivity

sup

port

by

PTA

31

6

ActivityPTAกิจกรรมที่ PTA ใหการสนับสนุน

supported by

งานแนะแนว06

กับการสนับสนุนจากสมาคม PTAโดย อ.วัฒนกิจ สิทธิสถิตอังกูร

หัวหนางานแนะแนว

งานแนะแนว โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ไดดำเนินโครงการตางๆเพ่ือชวยเหลือพัฒนานักเรียน โดย

ไดรับการสนับสนุนจากสมาคมผูปกครองและครูอยางตอเน่ือง

ในปการศึกษา 2551 ที่ผานมาไดรับการสนับสนุนจากสมาคม 4 โครงการ ดังน้ี

โครงการคลินิกใหการปรึกษา เปนการเปดโอกาสใหผูปกครอง ครู และนักเรียน เขาพบกับ นักจิตวิทยา จิตแพทย เพ่ือพูดคุยเก่ียวกับประเด็นปญหาตางๆ ที่ประสบ ทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุมเพ่ือชวยกันหาแนวทางในการคลีคลายปญหาท่ีเกิดขึ้น อันนำไปสูการแกปญหาท่ีถูกตอง สงผลใหนักเรียนไดรับการชวยเหลือพัฒนาอยางตอเน่ือง

ตามหลักการท่ีถูกตอง มีผูปกครองใหความสนใจใชบริการเปนจำนวนมาก ทั้งน้ีไดรับกาสนับสนุนจากหนวยงานตางๆ

ภายนอกโรงเรียนหลายหนวยงาน

1

2009 PTA

Act

ivity

sup

port

by

PTA

32

6โครงการเรียนอยางมีศักยภาพ เปนการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยวิทยากรพิเศษ แพทยหญิงจิตรา วงศบุญสิน จากโรงพยาบาลบางปะกอก1จัดใหกับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 เพ่ือปลูกฝงใหนักเรียนมีทักษะท่ีถูกตองทั้งดานการอาน การคิด การจำ การเขียน เพ่ือใชเปนเคร่ืองมือในการเรียนใหประสบความสำเร็จตอไปในระดับชั้นท่ีสูงขึ้นเพ่ือใหทั่วถึงจึงจัดใหกับนักเรียนทุกคน แบงเปน 2 รุน นักเรียนไดรับความสนุกสนานและใหความสนใจเขารวมกิจกรรมเปนอยางดี

2

โครงการเพ่ิมพลังการเรียนเปนการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยวิทยากรพิเศษ อ.วรรณสวัสดิ์ อุทัยพันธ จากมหาวิทยาลัยธุรกิจ-

บัณฑิตย โดยคัดเลือกนักเรียนจากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่จะตองพัฒนาการคะแนนในการเรียนใหสูงขึ้น เขารับการอบรมเทคนิคการเรียน ปรับทัศนคติ สราง-เสริมกำลังใจ ใหไปพัฒนาการเรียนของตนเองใหสูงขึ้นตอไป มีนักเรียนเขารวม 50 คน นักเรียนใหความรวมมือในการฝกปฏิบัติเปนอยางดี

3 โครงการทุนอาหารกลางวันสำหรับครอบครัวที่ไดรับผลกระทบทางเศรษฐกิจ อาจสงผลใหนักเรียนไมไดรับความพอเพียงดาน

ความเปนอยู การสนับสนุนเงินเพ่ือเปนคาใชจายสำหรับอาหารกลางวันของนักเรียนจึงเปนส่ิงท่ีจำเปน สมาคมผู-ปกครองและครูไดจัดสรรงบประมาณสนับสนุนเปนประจำทุกปอยางตอเน่ือง ทำใหนักเรียนไดรับอาหารอยางพอ-เพียงและเกิดกำลังใจในการศึกษาเลาเรียนตอไป

4

จะเห็นไดวาสมาคมผูปกครองและครู สามารถมีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนกิจกรรมตางๆของโรงเรียน

อยางตอเน่ือง ทั้ง 4 โครงการดังกลาว เปนตัวอยางท่ีดีของการประสานความรวมมือกันระหวาง บาน โรงเรียน และชุมชน สงผลใหนักเรียนอันเปนท่ีรักของเรากาวหนาพัฒนาอยางตอเน่ืองสืบไป

J. A. EakinOur New Learning Center

Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

35

ฉบับที่ 124 - 125 ปกษแรก - ปกษหลัง เดือนกันยายน 2551

เปนขอความ ที่เราชาวไทยท้ังหลายคุนเคยกันดี ซึ่งในบริบทของทีมสุขภาพจิต พวกเราไดมีการนำดนตรีมาใชเพ่ือการบำบัดรักษาผูมีปญหาทางสุขภาพจิตมาเปนระยะเวลานานพอสมควร มีหลักฐานบางสวนที่เปนรายงานการศึกษาผลของดนตรีตอการบำ-บัดทางจิตไวดังน้ี

มีรายงานการศึกษาเรื่องของดนตรีกับเรื่องของสุขภาพจิต จากการศึกษาของจินตนา สงคประเสริฐ และคณะ โรงพยา-

บาลสวนปรุง กรมสุขภาพจิต ไดศึกษาเร่ืองดนตรีบำบัดกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย และเผยแพรตีพิมพในวารสารจิตวิทยาคลินิก ปที่ 26 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2538, 23-30 ความวา “ในปจจุบันมีการนำดนตรีมาใชบำบัดโรคตางๆ ไดอยางมีผลดีย่ิงทั้งโรคทางกายและทางจิตเวช (กรีกเปนชาติแรกใชพิณดีดรักษา

โรคซึมเศรา) มีการคนพบวาดนตรีใชลดอาการเจ็บปวดจากการ-คลอด จากการถอนฟน รักษาคนท่ีมีความเครียดกังวล แยกตัวจากสังคม หรือคนพิการซ้ำซอนไดดีตลอดจนผูปวยจิตเภท ผูมี

พฤติกรรมถดถอย เหงาเศราได ดวยเหตุนี้จึงไดนำดนตรีบำบัดมาใชกับผูปวยจิตเวช ทั้งโดยการเปดเทปจังหวะเราใจ มีการ-

ขยับตัวเขาจังหวะ ใชดนตรีแบบเคาะจังหวะ และอุปกรณเกิดเสียงใหผู ปวยไดเขยาหรือฟงเพลงแลวใหบอกถึงความรูสึกที่ไดจากเพลง โดยการบำบัดคร้ังละ 1 - 1.30 ชั่วโมง สัปดาหละ 2ครั้งพบวาผูปวยมีอาการเร้ือรงั พฤติกรรมถดถอย แยกตัว จะกลับ

เขาสูสังคมไดอยางรวดเร็ว ในชั่วโมงท่ี 2 ของการบำบัดผูเหงา-เศราจะย้ิมแยมได หลังจากไมเคยย้ิมมานานแลว” นี้เปนรายงานการศึกษาของบุคลากรสุขภาพจิตในการชี้ใหเห็นคุณประโยชนของดนตรีกับการบำบัดผูปวยจิตเวช

ขณะเดียวกันในตางประเทศเร็วๆ นี้ ไดมีบทความราย-งานพิเศษที่ไดอธิบายถึงความเกี่ยวของของดนตรีกับการเปลี่ยน

แปลงของอารมณ ซึ่งบทความดังกลาวไดเผยแพรทางหนังสือ-พิมพมติชนสัปดาห วันท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ปที่ 25 ฉบับที่ 1267 ในหัวขอ ดนตรี-คณิตศาสตรทางอารมณ

ดนตรีบำบัด-คณิตศาสตรทางอารมณ(Music therapy-Mathematics of Feelings)โดย DMH Staff กรมสุขภาพจิต

ความมหัศจรรยของดนตรีกับมนุษยชาติ ไดมีบทพระราชนิพนธตอนหน่ึงทางดานดนตรี ของพระบาทสมเด็จพระ-มงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 6

ที่วา “ชนใดไมมีดนตรีกาล

ในสันดานเปนคนชอบกลนัก”

5+8=ขอมูลอางอิง: มติชนรายสัปดาห ประจำวันท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ปที่ 25 ฉบับที่ 1267 คอลัมน รายงานพิเศษ: ดนตรี-คณิตศาสตร ทางอารมณ (Music-Mathematics of Feelings) ของ Philip Bethge ซึ่งแปลมาจาก *บทความทางวิทยาศาสตรจากในนิตยสารเยอรมัน “เดียรสปเก้ิล” (Der Spiegel) ฉบับที่ 31/28 ก.ค.2546 โดย ดวงดี คงธัญญะงาม

2009 PTA

Art

icle

7

36

ดนตรีบำบัด-คณิตศาสตรทางอารมณฉบับที่ 124 - 125 ปกษแรก - ปกษหลัง เดือนกันยายน 2551

(Music-Mathematics of Feelings) ของ Philip Bethge ซึ่งแปลมาจาก *บทความทางวิทยาศาสตรจากในนิตยสารเยอรมัน“เดียรสปเก้ิล” (Der Spiegel) ฉบับที่ 31/28 ก.ค.2546 โดย ดวงดี คงธัญญะงาม ซึ่งใหมุมมองของดนตรีกับของอารมณ ไวดังน้ีคือ “เสียงเพลงสามารถชวนใหเกิดอารมณเศรา หรือทำใหมีความปลาบปลื้มยินดี อีกท้ังทำใหหวาดกลัวจนขนลุก ตั้งชันเสียวสันหลังข้ึนมาก็ได สิ่งน้ีเปนข้ึนไดอยางไร นักวิจัยไดทำการคนควาเพ่ือไขปริศนาวาจากคล่ืนแรงเหว่ียงในธรรมชาตินั้น มันเปล่ียนสภาพกลายมาเปนอารมณความรูสึกของมนุษยไดอยางไร แลวปริศนาของนักคีตกวีทั้งหลายมีความเปนมาอยางไร เพราะดนตรีนี่หรือเปลา ที่ทำใหมนุษยเปนสัตวสังคม

ดนตรีเปนศิลปะที ่แปลกที ่สุดที ่มนุษยประดิษฐขึ้นมาเม่ือเทียบกับการวาดภาพ การแตงกลอน การแกะสลักรูปป้น เสียงสอดคลองกันเพียงเสียงเดียว หรือทำนองเด่ียวเฉยๆ ก็ยังไมมีความหมาย

ในตัวแกนของดนตรีนั้น คือคณิตศาสตรลวน เปนแรงแกวงของลมที่ถูกคำนวณดวยตัวเลข ซึ่งความถ่ีหางของแรงเหว่ียงในอากาศน้ันๆ เขาไปทับซอนกัน แลวความมหัศจรรยอยางหนึ่งก็บังเกิดขึ ้นจากคณิตศาสตรกลายมาเปนความรู สึกทาง

อารมณ ดนตรีสามารถกระตุนจิตใจไดอยางลึกซ้ึง ใหเกิดการคิดถึงอาลัย หรือรูสึกถึงความมีชัยชนะ แลวเพราะเหตุไรจึงเกิดมีความสัมพันธกันระหวางตัวเลขกับเสียง มนุษยเร่ิมรองรำทำเพลง

มาตั้งแตเมื่อใด แลวทำไมจึงตองมีการรองเพลง

ดวยเครื่องมืออันทันสมัยนักวิทยาศาสตรหลายแขนง

เชน นักจิตวิทยา นักประสาทวิทยา นักคำนวณ ผูเช่ียวชาญดานสมอง นักวิชาการดานดนตรีพากันสืบหาปรากฏการณที่วาน้ีอยางถึงรากถึงบึง ย่ิงคนก็ย่ิงพบหลักฐานวาดนตรีนั้นผูกพันอยู

กับชีวิตมนุษยมานานนักหนา ในสมัยหินมีการน่ังลอมกองไฟ และรองเพลง พรอมกับเตนไปรอบๆ กองไฟ ในถ้ำท่ีพวกเขาอาศัยอยูไดพบขลุยทำจากกระดูกหงส ที่เจาะไว 3 รู คาดวาจะมีอายุราว 35,000 ป

เสียงท่ีเกิดขึ้นจะโดยธรรมชาติ หรือจากเคร่ืองดนตรีก็ตามเปนข้ึนเน่ืองจากมีการส่ันไหวหลายๆ ครั้ง แลวแกวงทับซอนกันไปมา ดนตรีกำเนิดมาแตธรรมชาติที่ผันแปรมาเปน

วัฒนธรรม เริ่มจากเสียงกระทบของทอนไมที่กลวง เสียงหวีดคลายการผิวปากจากลมพัด เสียงกระแสน้ำไหล ใบไมสีกันกรอบแกรบ เสียงเหยียบทรายดังกรอดๆ เสียงผ้ึงพึมพำ หรือแมแตแคกอนหินกลิ้งตกลงมาก็เปนตนเหตุใหมนุษยรับรูเรื ่องดนตรีและนำไปตีความ

ทำนองกับจังหวะนั้นทำปฏิกิริยาตอระบบสมองตรงสวนท่ีรับรูเร่ืองเศรา เร่ืองยินดี ความใฝฝน ความปรารถนาตางๆ ดังน้ัน การชมภาพยนตรที่ไรเสียงเพลงประกอบ จะไมสามารถถายทอดความรูสึกใหผูชมไดเลย พูดไดวาดนตรีคือผูเปดประตูใหเกิดความรูสึกทางจิตใจ

มีนักประสาทวิทยาหลายคนท้ังชาวเยอรมัน (Stefan Koelsch) และชาวแคนาดา (Anne Blood) ทดลองดวยการวัดคล่ืนสมองของพวกอาสาสมัคร โดยใชสายเคเบิลเปนประจุไฟฟาท่ีติดเชื่อมอยูกับผายางสวมหัวคลายหมวกอาบน้ำในหลายๆ จุดรอบศีรษะเพ่ือจะดู

วาเสียงเพลงประเภทใดที่เจาตัวบอกวาชอบหรือไมชอบจะเขาไปทำปฏิกิริยาตอสมองสวนไหนบาง และนาง Blood ก็สรุปออกมาวา เพลงท่ีเจาตัววาไพเราะน้ัน ขมับซายและสมองสวนหนาจะทำงานแลวเขาไปกระตุนท่ีสมองสวนกลาง ซึ่งจุดน้ันทำใหคนเรามีความสุข แลวสมองบริเวณเดียวกันน้ีแหละท่ีถูก

กระตุนดวย เมื่อเวลาเรารับประทานอาหาร รวมเพศ หรือเสพยา ในทางตรงกันขามเมื่อใหฟงเพลงท่ีบอกวาไมชอบ หรือฟงแลวมี

อาการสยองแบบระทึกใจ การทำงานของเสนประสาทจะยิงไปท่ีขมับขวา ที่นาสนใจคือสมองแถบนี้ก็ทำงานดวยเม่ือคนเราถูกย่ัว

ยวนใหโกรธ”

สวนนักคนควาดานวิวัฒนาการชาวญ่ีปุน ฮาจิเมะ ฟูกุยวิเคราะหวา “การรองรำทำเพลงรวมกันในกลุมสุภาพบุรุษทำใหความเขมขนในฮอรโมนกาวราว (Testosterone) ลดลง และถา

รองรวมกันท้ัง 2 เพศจะลดการหล่ังสารคอรติซอน (Cortisone) ซึ่งเปนการลดความเครียด”

เปนความสามารถของประสาทหู เพราะขางในหูคนเรามีเซลลประสาทเปนเสนขน 5,000 เสน ซึ่งทำหนาท่ีแปรสภาพใหเกิดพลังคล่ืนเสียงเปนไฟฟาในกระแสประสาท การบันทึกเสียงผานเย่ือแกวหูเกิดข้ึนโดยความกดของอากาศ (โมเลกุลอากาศ

เล็กจี๊ดเดียว) ที่แกวงไปมา พอเสียงเขาไปในหูแลวยังมี

Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

37

การขยายตอโดยใหเสียงผานเขากระดูกขอตอในหู แลวมีแผนบางๆ รองรับที่จะสงตอไปยังสารเหลวท่ีอยูในสวนลึกน่ันคือ กระบวนการทำใหเกิดอารมณ ความรูสึกทางใจจนมนุษยเขาไปสัมผัสกับมิติอื่นได

นักคนควาหลายคนยังสงสัยอีกวาธรรมชาติใหมีดนตรีไวเราอารมณซึ ่งเปนระบบที่รางกายจะใหรางวัลตนเองอยางนั้นหรือ บางรายวิเคราะหวานาจะเก่ียวกับการหาคูเพราะการรองเพลงโดยเฉพาะในสัตว เชน นก หรือแมลงสงเสียงรองเพ่ือกระตุนใหเพศตรงขามมาผสมพันธุ

ฝายนาย David Huron ชาวอเมริกันนักวิจัยดานดนตรีจากมหาวิทยาลัยโอไฮโอกลาววา “ดนตรีนาจะเกิดขึ้นเพ่ือใหคนอยูรวมกลุมกัน เพราะมนุษยตองการความสัมพันธภาพดานสังคมเปนอยางย่ิง งานหลายๆ อยางท่ีตองการกำลังใจ ตองการระดมคนหลายๆ คนมารวมมือกัน เชน นายพรานจะออกไปลาสัตว เหลาทหารจะออกไปสูรบกับขาศึก ชาวนาเก็บเก่ียวผลิตผล สตรีรวมกลุมกันประดิษฐงานหัตกรรม ฯลฯ”

ทฤษฎีอันเดียวกันนี้ที่วาดนตรีเปนตัวเชื่อมประสานของสังคมนั้น นักคนควาดานวิวัฒนาการชาวญ่ีปุน นายฮาจิเมะ ฟูกุย เสริมวา “ย่ิงมีกลุมมนุษยเพ่ิมมากข้ึน การไกลเกล่ียความตรึงเครียดในสังคม และทางเพศก็ย่ิงมีความสำคัญมากข้ึนดวย และดนตรีนี่แหละ คือทางออก”\

เมื ่อนักวิชาการทั ้งหลายเห็นรองรอยการสรางของ

ธรรมชาติที่วาน้ี ก็เชื่อแนวาคล่ืนเสียงดนตรีที่เกิดจากการแกวงไปมาของลม (หรือโมเลกุลในอากาศ) ตามตัวเลขอันซับซอน แลวเขามากระทบกับเสนประสาทหูจนเกิดกระบวนการไปกระตุนความรูสึกทางอารมณดังท่ีกลาวมาแลว เมื่อเปนเชนน้ีในสมองมนุษยนาจะตองมีการวางรากฐานทางดนตรีไวอยู กอนแลว

ดังน้ัน เด็กตัวเล็กๆ จึงเปนเปาในการทดลองเพ่ือการศึกษาในเร่ืองนี้ เพราะในหัวเด็กน้ันเขาถือวา ยังไมทันมีสีสันของวัฒนธรรมใดๆ เขาไปยอม

จิตแพทยหญิงชาวคานาดา Sandra Drehub ไดทดสอบ

กับเด็กตัวนอยๆ โดยจัดใหคุณหนูๆ เขาไปอยูในหองทดลองท่ีมีของเลนนาเพลิดเพลินสารพัดชนิด และมีลำโพงขยายเสียงอยูในนั้นดวยเพ่ือทำการทดสอบคนหารากฐานแหงดนตรีในสมองเด็ก

การทดลองของแพทยหญิงท่ีวาน้ีก็ใชวิธีงายๆ คือเปดเพลงเด็กในทำนองเด่ียวเรียบๆ สำหรับใหเด็กเล็กๆ ที่เพ่ิงจะเร่ิมหัดพูดฟง แลวลองแอบใสทำนองอ่ืน ที่มีเสียงเพ้ียนแทรกเขาไปเปนระยะๆ โดยท้ิงชวงหางบาง ถ่ีบาง แลวแพทยผูทำการทดลองคนน้ีก็ตองพบกับความนาพิศวงย่ิงเพราะมนุษยตัวนอยๆ ที่กำลังเพลินกับของเลนอยูนั้นตองชะงัก และหันหัวไปทางลำโพงทุกคร้ังเมื่อไดยินทำนองแปลกปลอม ซึ่งไมเขากับจังหวะเพลงท่ีเปดอยูเลย

คำถามที่วาธรรมชาติไดฝงหลักสูตรความสอดคลองในการประสานเสียงท้ังหลายไวในสมองมนุษย แลวมีการถายทอดยีนอันน้ีไปเรื่อยๆ ใชหรือไมนั้น หากจะเอาคำตอบน้ีคงตองไปหาอาสาสมัครที่แทบจะไมมีโอกาสไดยินเสียงเพลงเลยมาทดสอบซึ่งคงหาไมพบแน เพราะเด๋ียวน้ีเปนยุคไฮเทคอิทธิพลของดนตรีไดแพรขยายไปท่ัวทุกหยอมหญา ไปท่ีไหนก็มีเสียงเพลงกระจายไปท่ัวโลก เชน ในเรือบินในรถยนต ในครัว ตามสำนักงาน หางสรรพสินคา สถานีรถไฟ แมแตในกระตอบของหมูบานเล็กๆประเทศปาปวนิวกินีแสนหางไกลความเจริญก็ยังมีเสียงเพลงของRobbie Williams แววมาตามสายลม

พูดถึงอิทธิพลของเสียงเพลงแลว จะเห็นบุคคลในตำ-แหนงสำคัญตางๆ ใชเพลงเปนท่ีปลอบขวัญ และกำลังใจมนุษย เชน ตอนท่ีกำแพงเมืองเบอรลินถูกพังทำลายเม่ือ พ.ศ.2532 ผู ใหญผู โตทางการเมืองพากันรองเพลงชาติอยางกลาหาญ หรือในวันท่ี 11 กันยายน พ.ศ.2544 ในตอนค่ำหลังจากตึก World Trade ในเมืองนิวยอรกถลม ผูแทนราษฎรรวมกลุม และพากัน

รองเพลง “พระผูเปนเจาทรงอวยพระพรอเมริกา” (God bless America) เพ่ือลดความชอกช้ำทางจิตใจ ย่ิงในโบสถ การนมัส-การไมเคยเลยสักครั ้งเดียวที ่จะปราศจากการรองเพลงถวายเกียรติพระผูเปนเจา นักคนควาชาวอังกฤษ นาย Ian Cross จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจกลาวเสริมวา “การมีเพลงเปรียบเสมือนมี

สนามท่ีเลนในจิตใตสำนึก เพราะหัวใจของดนตรีนั้น ใหอิสระในการไปตีความ ทำใหเกิดการสรางสรรคไปตามความนึกคิด และฝกดานจินตนาการ นั่นคือเรื่องจำเปนท่ีขาดไมไดในการจะพัฒนาสมอง”

กลาวโดยสรุป จะเห็นไดวาเร่ืองของดนตรีที่มีผลตออารมณ (สุขภาพจิต) ของมนุษยเราน้ันเปนไปอยางมหัศจรรยย่ิง

2009 PTA

Art

icle

7

38

ฉบับที่ 126 ปกษแรก เดือนพฤศจิกายน 2551

เติมหวาน-สื่อใจ คืนบานอุนไอรักฉบับที่ 126 ปกษแรก เดือนพฤศจิกายน 2551

เติมหวาน-สื่อใจ คืนบานอุนไอรัก เมื่อชีวิตรักเร่ิมจืดชืด เม่ือครอบครัวเร ิ ่มไมม ีความสุขจะทำอยางไร เพ่ือใหความรักความเขาใจที่เคยมีอยูในชีวิตรักและครอบครัวหวนคืนมาอีกคร้ัง

พ.ญ.พรรณพิมล หลอตระกูล ผูอำนวยการสถาบันราชานุกูล ใหเทคนิคและวิธีการแตงเติมชีวิตรักและครอบครัวกลับมามีสีสันข้ึนเหมือนเม่ือวันวาน กับกลุมพนักงานบริษัท

พลวัตร จำกัด ภายใตโครงการเสริมสรางคุณภาพชีวิตพนักงานและครอบครัว (Work and Life Balance) ซึ่งมูลนิธิศูนยพิทักษ

สิทธิเด็กจัดทำข้ึน เพ่ือสงเสริมใหพนักงานท่ีมีครอบครัวสามารถดูแลเด็กๆ ไดอยางเหมาะสม ประการสำคัญคือทำใหครอบครัวของพนักงานมีความสุข สงผลใหทำงานอยูในองคกรไดอยางมีความสุขและมีประสิทธิภาพสูงสุด

ปจจัยหน่ึง ท่ีทำใหชีวิตรักและครอบครัวมีปญหา

ยุงยากน่ันคือ การสื่อสารที่ไมตรงกันของคนในครอบครัวโดยเฉพาะ “การสื่อสารความรัก” ตอกันและกัน

การส่ือสารไมจำกัดอยูเพียงแคการพูด แตครอบคลุมถึงการกระทำทุกอยางที่จะทำใหอีกฝายรับรูวาเรายังคงรักและหวง-ใยเสมอ

พ.ญ.พรรณพิมลกลาววาในแตละคนจะแสดงออกถึงความรักแตกตางกัน ฉะน้ันคนรักหรือคนในครอบครัวเดียวกันจะ

ตองคอยหมั่นสังเกตวาคนที่เรารักนั้นเขามีวิธีการแสดงออกซึ่งความรักอยางไรบาง วิถีแหงรักน้ันแบงออกไดเปน 5 รูปแบบ คือ

1. การแสดงออกดวยการสัมผัส หลายครอบครัวคงใชวิธีนี้บอกรักกันเปนประจำทุกวัน การกอด โอบไหล จับมือ ลูบศีรษะ หรือเพียงแตไดนั่งอิงแอบอยูใกลกัน จูงมือกันขามถนนบางเพ่ือใหอีกฝายรับรูถึงความรักท่ีเราสงไป โดยไมจำเปนตองพูดคำวา “รัก”

โดยเฉพาะกับเด็กเล็กๆ เขาสามารถสัมผัสและรับรูถึงความรัก ความหวงใยท่ีพอแมมีใหผานการสัมผัสไดเปนอยางดีและสอดคลองกับความตองการตามวัยของเด็ก เพราะย่ิงเด็กเล็กจะย่ิงตองการใหพอแมโอบกอด อุม ปลอบโยน และดูแลมากเปนพิเศษ

2. การใชเวลารวมกัน การใชเวลาทำกิจกรรมรวมกันของคนในครอบครัว

เปนอีกหนึ่งทางเลือกของวิธีการบอกรักที ่หลายครอบครัวใชสรางความสัมพันธของคนในครอบครัวใหเขมแข็ง เชน เด็กเล็กตองการใหพอแมเลนหรือทำอะไรรวมกับเขา หรือครอบครัวมีเวลาวางในการทำกิจกรรมรวมกันสัก 1 วัน เพ่ือไปเที่ยวพักผอน

Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

39

รับประทานอาหารรวมกัน ชวยสานสายสัมพันธของคนในครอบครัวใหแข็งแรงขึ้นได

3. ตองการความเปนพิเศษ ความพิเศษเปรียบไดกับการใสปุยพรวนดินใหกับตนไมเปนสิ่งท่ีอาจไมตองทำทุกวัน แตควรทำบางเพ่ือเพ่ิมสีสันใหชีวิคู เชน การจำวันเกิดของอีกฝายได เพียงเทาน้ีก็ถือเปนความพิเศษที่มาเติมความรักไมใหเหี่ยวเฉาเหมือนดอกไมที่ไมไดรับการรดน้ำพรวนดิน เพ่ือสรางความม่ันใจใหอีกฝายวาเรายังรักเขาอยู

4. ความโรแมนติก ควรทำอะไรบางเพ่ือใหรูวาเรายังรักกันอยู เชน กอดกันบางในโอกาสพิเศษ พาไปรับประทานอาหารนอกบาน การใหดอกไมในวันพิเศษ เปรียบเหมือนการเติมน้ำมันตะเกียงใหชีวิตดูมีสีสันข้ึน บางคร้ังบางคนก็อาจไมตองการ แตเม่ือทำแลวก็รูสึกดี เพราะความรูสึกน้ันไดหายไปนานแลว

5. สัญญาทางใจ แตละคนมีการแสดงความรักท่ีแตกตางกัน บางคนแสดงความรักดวยการพูด บางคนแสดงออกดวยการกระทำ แตบางคนอาจไมแสดงออกมาเลย ดังน้ันตองหาจุดท่ีเช่ือมใหคนในครอบครัวสัมผัสไดวา ครอบครัวของเรารักกัน มีความคิดท่ีวาเรามาอยูดวยกันอยางน้ี เราใชชีวิตอยูรวมกันแลว ตองเชื่อใจและไวใจกันและกัน เชน เมื่อเวลาท่ีอีกฝายไมอยูเราอาจคิดถึงกันและหวงใยวาเขาจะเปนอยางไร แตเราก็ควรม่ันใจและเช่ือใจวาถึงอยางไรเราและเขาก็ยังรักกัน เพราะเราเลือกท่ีจะมาอยูดวยกันตลอดไป

บางคร้ังการใชชีวิตคู หรือการอยูเปนครอบครัวจะมีปญหาความไมเขาใจเกิดขึ้น มีสถานการณที่ทำใหเกิดความไม

สบายใจกันท้ังสองฝาย หรือสรางความเดือดเน้ือรอนใจใหกับคนในครอบครัวบางในบางโอกาส และเปนจุดเร่ิมตนของการใชความรุนแรงภายในครอบครัวได

พ.ญ.พรรณพิมล จึงใหคำแนะนำดีๆ เก่ียวกับการมีมุมมองในดานบวก หรือคิดเชิงบวก แมจะตองตกอยูในสถานการณดานลบ ซึ่งจะทำใหเราและครอบครัวผานพนไปได เทคนิคคือ

- สังเกตพฤติกรรมและดูจากพฤติกรรม ควรดูจากพฤติกรรมของแตละคนในครอบครัวกอนวาอารมณในขณะน้ันเปนอยางไรบาง เชน ลูกคิดเสมอวาพอแมไมเคย ใสใจเขาเลย และมักแสดงอาการประชดประชันพอเสมอ ซึ่งพออาจมองขามในบางเร่ืองที่คิดวาไมสำคัญก็ได และลูกเองก็อาจมองขามในสิ่งท่ีพอทำใหเชนกัน เพราะคาดหวังมากเกินไปที่จะใหพอแสดงความเอาใจใสมากกวาน้ี จึงทำใหเกิดความไมเขาใจกัน ตองลองพิจารณา ดูวาท่ีผานมาน้ันพอทำอะไรเพ่ือเราบาง ที่แสดงใหเห็นวาน่ันคือการแสดงความรัก พอเองก็ควรสังเกตวาลูกน้ันตองการใหเราแสดงความรักตอเขาอยางไร

- จับความรูสึก สะทอน หรือคิดหาเหตุ เมื่อเราเริ ่มสังเกตพฤติกรรมและทราบความตองการของอีกฝายไดแลว สิ่งท่ีตามมาคือ เราจะสามารถจับอารมณและความรูสึกของคนในครอบครัวได และจะทราบวาจะทำอยางไรตอไป เชนเม่ืออีกฝายเงียบไปโดยไมมีการส่ือสาร เราก็สามารถทราบไดวาอารมณในขณะน้ันเขารูสึกอยางไร และรูวิธีที่จะเขาหาอีกฝายได

- เสริมแรงจับจุดแข็งและสะทอน เด็กเมื่อเริ่มโตขึ้นก็ตองการความรักความเอาใจใสจากพอและแม อยากใหพอแมเปนเพ่ือนเลน เชน เมื่อพอทำงานกลับมาเหน่ือยๆ ลูกอยากใหเลนดวย พอก็จำเปนตองเสียสละเวลาเลนกับลูกบาง อาจจะเปนเวลาไมนานมากนัก และเม่ือตองการพักผอน หรือถาเปนในสถานการณลบ เชน วันเกิดของลูกแตพอ

ยังติดประชุมอยูและอาจไปไมทัน อาจบอกลูกวาพออาจจะไปชา แตจะพยายามไปใหทันใหได และเม่ือพอกลับถึงบานตองใชเวลาสวนน้ันกับครอบครัวใหเต็มที่

- ติดตามผล เมื่อแตละครอบครัวลองปฏิบัติตัวและใชการสื่อสารเชิงบวกมากข้ึนแลว ลองดูวาวิธีไหนท่ีใชไดผลท่ีสุด เพ่ือครั้งตอไปวิธีนั้นจะนำมาใชไดอีก หากปฏิบัติอยางน้ีไดแลวความขัดแยง ไมเขาใจกัน ก็จะไมเกิดข้ึนภายในครอบครัวอีก

คิดดี สื่อสารดี และแสดงความรักสม่ำเสมอ จะชวยใหความสัมพันธ ความรัก และความเขาใจกลับสูครอบครัวอีกคร้ัง…-

2009 PTA

Art

icle

7

40

ฉบับที่ 127 ปกษหลัง เดือนพฤศจิกายน 2551

“อีคิว” เสริมไอคิว ใสใจอารมณลูกฉบับที่ 127 ปกษหลัง เดือนพฤศจิกายน 2551

“อีคิว” เสริมไอคิว ใสใจอารมณลูก

ปญหาการใชความรุนแรงในปจจุบันเริ่มเกิดขึ้นในหลากหลายรูปแบบ

โดยเฉพาะปญหาการใชความรุนแรงท่ีเกิดขึ้นกับเด็ก ไมวาจะเปนการถูกกระทำจากผูใหญหรือวาเด็กดวยกันเอง โดยสาเหตุมาจากปญหาการควบคุมอารมณตนเองของผูกระทำผิด เพราะชวงเวลาที่ผูกระทำผิดลงมือกระทำนั้นเปนชวงอารมณชั่ววูบ ขาดการย้ังคิด เน่ืองดวยมีความบกพรองทางอารมณ ดวยเหตุนี้นอกจากจะใหความสำคัญกับไอคิวของเด็กแลว จึงจำเปนท่ีสังคมตองหันมาสนใจการพัฒนาดานอารมณ

ของเด็ก หรือ อีคิว กันอยางจริงจัง

จากการสำรวจขอมูลของสำนักพัฒนาสุขภาพจิต ซึ่งสำรวจความฉลาดทางอารมณ กับระดับสติปญญาของเด็กไทย

เมื่อป 2545 เปรียบเทียบกับการสำรวจคร้ังลาสุดเมื่อป 2550 มีขอนาสนใจคือ เด็กเล็กอายุ 3 - 5 ขวบ ดานท่ีลดลงอยางชัดเจนคือ

1. ความสามารถรูตัวเราเอง คือการเขาใจลักษณะ

อารมณของตนเอง ซึ่งถือเปนความสามารถแรกของเด็กต้ังแตแรกเกิด ความไวตออารมณเปนเร่ืองที่เด็กรับรู แตวาเด็กจะตองเขาใจแคไหนเทาน้ันเอง สิ่งน้ีคือจุดเร่ิมตนของมุมมองตออารมณ

เหมือนเด็กเร่ิมเก็บพิมพเขียวทางอารมณ เพราะอารมณเปน

ขอมูลจาก มูลนิธิศูนยพิทักษสิทธิเด็ก

Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

41

นามธรรม เปนสิ่งตองเรียนรูดวยการสัมผัสเอง เพราะใชภาษาอธิบายไมได

2. ความสามารถในการจัดการกับอารมณในสถาน-การณตางๆ เราอาจจะผิดหวัง เสียใจ ดีใจมาก ทุกอารมณในแตละสถานการณเราจะมีวิธีการดูแล และจัดการอารมณของตัวเราเอง เพ่ือจะไดไมไปถึงจุดท่ีเราดูแลไมได

3. พลังใจ เปนสิ่งท่ีพูดกันมาก แตคนสวนใหญมักพูดถึงวิธีจัดการทางอารมณมากกวา ในความเปนจริงคนเราตองมีพลังใจที่จะดำเนินชวิีต ถึงจะประสบความสำเร็จ เพราะคนท่ีมีพลังจะสามารถตอสูและกาวเดินตอไปเร่ือยๆ เพ่ือไปสูเปาหมายที่ตั้งใจ

4. ความสามารถในการเขาใจผูอ่ืน เร่ืองอีคิวไมใชเร่ืองที่มองเฉพาะตัวเอง แตพอเราเขาใจตัวเอง มีพลังของตัวเราเอง เราตองเรียนรูที่จะเขาใจคนอื่นวาคนอ่ืนก็มีอารมณ คนอื่นมีจุดแข็งจุดออนที่เหมือนหรือตางจากเราอยางไร

5. ความสามารถในการอยูรวมกัน หมายถึงสัม-พันธภาพ วาเราจะใชชีวิตรวมกันอยางไร ในครอบครัว ในที่ทำงาน ในสังคม เราตองอยูรวมกันดวยความสามารถน้ี

ในหลักพ้ืนฐาน 5 ขอ ดังกลาว มี 2 ขอท่ีเด็กมักขาดไป คือ ขอ 2 เรื่องการจัดการกับอารมณ

ปญหาที่นำไปสูการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงการที่เราเผชิญสถานการณไดไมดี บางทีไมใชเพราะเราไมสามารถควบคุมตัวเราเองได

อีกขอหนึ่ง คือ ขอ 3 พลังใจ เพราะตัวน้ีเปนตัวท่ีจะทำใหเราไปสูความสำเร็จ เปนศักยภาพของแตละคน ถาเรารูวาไมมีใครที่ชีวิตไมมีอุปสรรค ถาเราขามไปได และรูสึกวาวันทุกวันเปนวันท่ีทาทาย ชีวิตก็จะสนุกสนานทาทายใหกาวไปสูความสำเร็จ

ในฐานะจิตแพทย พ.ญ.พรรณพิมลใหคำแนะนำแกพอแมผูปกครองถึงวิธีการสรางอีคิวใหลูกอยางถูกวิธีดังนี้

ประการแรก คือ ความสามารถในการเขาใจลูก อารมณเปนขอมูลท่ีติดตัวเรามากอน เด็กมีพ้ืนอารมณมาตั้งแตแรกเกิด ไมเหมือนกับอยางอื่นท่ีเรามาเรียนรูในภายหลัง ถาพอแมใชเวลากับเขาใสใจที่จะทำความเขาใจอารมณของเขาเพื่อจะรูวาเราจะชวยเขาไดอยางไรในการจัดการกับอารมณตามลักษณะท่ีเขาเปน

ประการที่สอง พอแมตองไวในเรื่องความรูสึกของเด็ก สิ่งน้ีไมงายเพราะเวลาเราเปนผูใหญ เราก็ไมไดมีอารมณที่จะเขาใจความรูสึกของเด็ก อีกท้ังเร่ืองตางๆ ก็มีเยอะ ปญหาเยอะ

บางทีเราก็ไมทันสังเกต หรือขี้เกียจ กลับมาจากทำงานก็หมดแรงแลว ความไวตรงน้ีพอแมตองรูวาจุดไหนท่ีเด็กไมไหว แลวเขาตองการความชวยเหลือจากพอแมในเรื่องอารมณ ถาพอแมมีความไวตรงน้ี จะเขาถึงเวลาท่ีลูกมีอารมณบางอยางท่ีเปนปญหา และเรียนรูไปดวยกันวาตอนนั้นเขาตองการความชวยเหลือจากเรา ถาเราปลอยใหเขาเรียนรูเองมันก็ไดสวนหน่ึง แตถาพอแมชวยเหลือก็จะดีในเรื่องพัฒนาการทางดานอารมณ

ประการที่สาม เรื่องวัยของเด็ก อารมณของเด็กพัฒนาไปตามวัยของเขา พอแมตองยอมรับและเขาใจเรารูวาเด็กตองเรียนรูเร่ืองอารมณ แตบางครั้งเราไมใหเขาเรียนรูเลย เชน เขารองไห เราบอกใหเขาเงียบหยุด อันน้ีไมใชเคร่ืองมือในการเรียนรูตามวัย

ของเขา แตการท่ีเราคุยกับเขา ไดพูดกันเร่ืองอารมณ เด็กจะ

พัฒนา

ประการสุดทาย บรรยากาศในครอบครัวและตนแบบจากพอแม เปนส่ิงท่ีเด็กเรียนรูมากท่ีสุดในเร่ืองอารมณ เขาดูจากตัวตนแบบ บางอยางก็ซึมซับมาเปนตัวอารมณของเขา เขาอาจจะ

ไมเหมือนพอเลยทีเดียว แตอารมณของพอก็คือตนแบบที่ลูกซึม-ซับไดงาย

การพัฒนาอารมณของลูกใหอยูในภาวะปกติ โดยสภาพแวดลอมที่เกิดขึ้นภายในครอบครัวจะเปนสิ่งที่ชวยลกูในเรื่องน้ีเปนอยางมาก โดยมีพอแมเปนตนแบบท่ีดีในการจัดการกับอารมณตัวเองและสามารถอยูรวมกับสังคมไดอยางปกติสุข...-

2009 PTA

Art

icle

7

42

ฉบับที่ 128 ปกษแรก เดือนธันวาคม 2551

ป้นลูกแกรง...แพใหเปนฉบับที่ 128 ปกษแรก เดือนธันวาคม 2551

ปจจุบันปญหาการฆาตัวตายกลายเปนทางออกสุดทายที่คนในสังคมเลือกใชแกปญหาโดยเฉพาะในเด็ก

และเยาวชนท่ีมีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อยๆ เพียงเพราะผิดหวังจากเรื่องเล็กนอย เพราะสังคมในยุคปจจุบัน

เปนสังคมของการแขงขัน ผูคนในสังคมตางคนตางอยู ขาดความเอื้อเฟ้อตอกัน และตองเจอกับ

ภาวะกดดันตางๆ มากมาย

ป้นลูกแกรง...แพใหเปน

ขอมูลจาก มูลนิธิศูนยพิทักษสิทธิเด็ก

จากสถิติของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) พบวาสาเหตุการเสียชีวิตของเด็กและเยาวชนมาก

ที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก1. อุบัติเหตุเนื่องจากด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล รอยละ 40 -

50 ทำใหมีเด็กเสียชีวิต 16 รายตอวัน2. ติดเชื้อเอชไอวี โดยเด็กผูชายมีพฤติกรรมเส่ียงดวยการด่ืมเหลา สูบบุหรี่ มีเซ็กซที่ไมปลอดภัย สวนเด็ก ผูหญิงเกิดจากการ

มีเซ็กซที่ไมปลอดภัย และโรคเสพติด เชน ติดเกม และการบริ-โภคนิยม3. ภาวะความเครียดจากหลายสาเหตุจนนำมาสูการฆาตัว

ตาย พบวาท่ัวประเทศมีเด็กฆาตัวตายประมาณปละ 600 ราย เฉลี่ยวันละ 2 คน การเลี้ยงดูของพอแมมีสวนสำคัญในการพัฒนาความ-คิดของลูก เพ่ือใหลูกปรับตัวเขากับสังคมใหได พรอมรับสภาพความกดดัน ผิดหวัง เสียใจตางๆ ได เพราะตามขาวหนาหนังสือพิมพปจจุบันการฆาตัวตายของเด็กเยาวชนหรือแมแตผูใหญที่มี

วุฒิภาวะ สวนใหญสาเหตุที่เปนแรงจูงใจคือ ความผิดหวัง เชน ผิดหวังจากคนรัก ผิดหวังท่ีสอบไมได เปนตน สิ่งเหลาน้ีแสดง

ใหเห็นวาการเล้ียงดูของพอแมมีสวนชวยลูกได ไมเพียงแคใหความรักแกลูกเพียงอยางเดียว

นายสรรสิทธ์ิ คุมพประพันธ ผูอำนวยการมูลนิศูนยพิทักษสิทธิเด็ก แสดงความคิดเห็นและแนะนำการเล้ียงดูลูกให

รู จักทักษะการดำเนินชีวิตในสังคมที่ตองเจอกับสภาวะกดดันรอบดานไวอยางนาสนใจ คือ • เลี้ยงลูกใหมีพัฒนาการตามวัยพอแมผูปกครองควรเรียนรูเกี่ยวกับพัฒนาการตามวัยของเด็กและตองสนับสนุนชวยเหลือ สอนเด็กใหเหมาะสมกับพัฒนาการตามวัย โดยเฉพาะพอแมที่มีลูกกำลังเปนวัยรุนมักจะผิดพลาดอยู

บอยครั้ง คือมักจำวิธีการปฏิบัติตอเด็กเล็กๆ ไปใชกับเด็กวัยรุน เชน ไปบอกเด็กวาผมยาวมากไปแลวนะ แตงตัวอยางน้ันอยางน้ีการสอนแบบน้ีไมใชวิธีการท่ีเหมาะสมกับเด็กวัยรุน ควรพูดชัก-จูงใจมากกวา เชน การท่ีลูกใสเส้ือสายเด่ียว ไมควรไปบอกวาสวมไมได แตอาจจะตองคุยวาการนุงสายเด่ียวเพ่ือวัตถุประสงคอะไร เพราะรูสึกวาเปนแฟช่ันหรือเปลา ถาเปนความตองการสราง

การยอมรับ ก็มีวิธีอื่นท่ีทำใหคนยกยองใหความนับถือและใหความสำคัญกับเราได โดยท่ีไมดูที่เส้ือผาก็ได แนะใหลูกเลือก

Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

43

ทางอ่ืน เชน ความฉลาด เรียนเกง มีมนุษยสัมพันธที่ดี โอบออมอารี ชอบชวยเหลือผูอื่นอาจจะไดรับการยอมรับมากกวาการใสสายเด่ียว คนท่ีนิยมแฟช่ันบางคนอาจยอมรับในตัวเราแตคนท่ีไมนิยมเขาก็จะเฉยๆ แตถาลูกไปสอบไดเหรียญทองโอ-ลิมปก คนสวนใหญจะยกยองนับถือ ลักษณะท่ีคุยกับลูกวัยรุนตองคุยดวย เหตุผล เพราะเขาตองการการโตแยงดวยเหตุผลเพ่ือใหไดขอสรุป เขาจะไมรับฟงเหตุผลธรรมดาตองโตแยงใหถึงแกนแทของเร่ืองที่พอแมและจะไปหาแนวทางของเขาเอง พอแมอีกกลุมหนึ่ง คือ คิดวาลูกตัวเองเกง ฉลาด คิดเองไดหมด เพราะฉะน้ันอะไรท่ีลูกทำไดกลายเปนดีเลิศหมดทุกอยาง ถือวาเปนการทำลายลูกเพราะตามขอเท็จจริงไมมีใครทำไดอยางน้ัน ไมมีใครสามารถเรียนรูดวยตัวเอง ตองเรียนรูจากคนอ่ืน เปนลักษณะเฉพาะของสังคมมนุษย เพราะมนุษยเปนสัตวสังคม มนุษยจะพัฒนาตัวเองได ตองพัฒนาตัวเองดวยการติดตอสื่อสารกับสังคม ไมมีใครจะศึกษาเรียนรูดวยตัวเองได จำเปนตองเรียนรูจากสังคมแวดลอม อยางท่ีเด็กจำนวนมากฆาตัวตายเพราะเพียงพายแพครั้งเดียว

•สอนลูกใหแพเปนพอแมตองปลอยใหลูกหกลมและลุกข้ึนมาเองบาง เพราะบางเร่ืองลูกตองเรียนรูดวยตัวเอง พอแมเปนเพียงแคคนชี้แนะ สั่งสอน แตไมใชไปทำใหลูก พอแมบางคนลูกอายุ 20 กวา ยังไปรับไปสง

ลูกเหมือนกับลูกยังเปนเด็กเล็กๆ ถาเปนอยางน้ีเขาจะดูแลตัวเองไมไดเลย หากกลัวคนอ่ืนจะมาคุกคามสวัสดิภาพก็ตองฝกใหเขามีทักษะรับมือกับปญหาเอง เพราะหากวันใดไมมีพอแมแลวเขาจะอยูดวยตัวเองไดอยางไร ควรฝกใหลูกเห็นวาการแพเปนเร่ือง

ธรรมดาท่ัวไป แตการชนะเสียอีกเปนเร่ืองยกเวน เปนลักษณะเฉพาะ แตคนแพมีมากมาย คนซื้อลอตเตอรี่ที่ถูกรางวัลท่ี 1 เปนลักษณะเฉพาะ เพราะเปนคนจำนวนนอยมาก เด็กจำเปนจะตองเรียนรูเร่ืองการพายแพ ผิดหวัง •สอนใหเด็กไมหมกมุนกับตัวเอง

พอแมตองชักจูงใหเด็กไปทำอะไรเพ่ือคนอ่ืนบาง เชน งานบานชวนเขาทำงานบาน แบงหนาท่ีความรับผิดชอบ พอแมไมควรทำให พอแมบางคนลูกไมตองทำอะไรเลย พอแมทำใหหมด เมื่อเด็กโตข้ึนจะเปนคนหมกมุนกับตัวเอง มองอะไรเขาหาตัวเองทุกอยาง

รูสึกวาตัวเองเปนศูนยกลางคนอ่ืน จึงควรแนะนำใหลูกไปทำกิจ-กรรมบำเพ็ญประโยชนตางๆ หรือไปเปนอาสาสมัคร จะทำใหเขาคิดเก่ียวกับตัวเองนอยลง และคิดเก่ียวกับคนอื่นเก่ียวกับสังคมภายนอกมากข้ึน โดยเฉพาะท่ีสำคัญ คือเขาจะนึกถึงจิตใจคนอื่นมากเปนพิเศษ หากเขาผานกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน เพราะการไปทำกิจกรรมเหลาน้ีคือการคิดเพ่ือผูอื่น ไมไดคิดเก่ียวกับตนเอง ไมเหมือนกิจกรรมพัฒนาตัวเอง เก่ียวกับการฝกฝนดนตรีทำงานศิลปะ แมจะเปนการพัฒนาเหมือนกัน แตเปนการพัฒนาท่ีอยูกับตัวเอง แตกิจกรรรมอาสาสมัครเปนกิจกรรมพัฒนาตนเอง เพ่ือเชื่อมกับสังคมภายนอก

การเลี้ยงลูกใหเปนคนดีมีคุณภาพเปนที่ยอมรับของสังคม ยืนหยัดตอสูชีวิตดวยตนเองได พ่ึงพาตนเองและใหผูอื่นพ่ึงพาไดดวย ตองเขาใจวาความรัก ความปรารถนาดีตอลูกจะมีผลอยางแทจร ิงก็ต อเมื ่อเลี ้ยงลูกใหเขาเปนตัวของตัวเอง รูจักตัวเอง และคิดดวยตนเอง

การสอนใหลูกมีทักษะการใชชีวิต เพ่ืออยูรวมกับผูอื่นในสังคมเปนสิ่งสำคัญในการเลี้ยงลูกในสังคมยุคปจจุบันที่ตองเจอกับสภาวะความกดดันตลอดเวลา เพราะสังคมนอกบานยอมแตกตางกับในบาน การเล้ียงดูและใหความรักคงไมเพียงพอใหลูกเติบโตเปนผูใหญทั้งรางกายและความคิดได แตการใหลูกได

เรียนรูประสบการณจากโลกภายนอก เรียนรูจักความผิดหวัง การแกปญหาดวยตัวเอง เปนส่ิงจำเปนสำหรับลูกไมแพกัน เพราะถาเขาผานจุดน้ันได เขาจะกลายเปนคนท่ีแข็งแกรงอยูในสังคมได

อยางปลอดภัยและมีความสุข ...-

พอแมอีกกลุมหนึ่ง คือ คิดวาลูกตัวเองเกง ฉลาด คิดเองไดหมด เพราะฉะนั้นอะไรที่ลูกทำไดกลายเปนดีเลิศหมดทุกอยาง ถือวาเปนการทำลายลูกเพราะตามขอเท็จจริงไมมีใครทำไดอยางนั้น

2009 PTA

Art

icle

7

44

คลายปม “พี่รังแกนอง” ใชความรัก - ความเขาใจฉบับที่ 129 ปกษหลัง เดือนธันวาคม 2551

ฉบับที่ 129 ปกษหลัง เดือนธันวาคม 2551

ทั้งท่ี บางครั้งรูวาเปนปญหาตามประสาวัย อารมณและความไร-เดียงสา แตพอแมก็อดเผลอดุวา ลงโทษเด็กไมไดทำใหเด็กท่ีเจอสถานการณเชนน้ีเกิดปมดอย และคอยสรางเร่ืองไมสิ้นสุด

ศ.เกียรติคุณ แพทยหญิง วันเพ็ญ บุญประกอบ หนวยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล และกรรมการมูลนิธิศูนยพิทักษสิทธิเด็ก กลาววา เด็ก

สวนใหญโดยเฉพาะอายุ 2 - 5 และ 6 ป เวลามีนองจะยังไมเขาใจวานองตองการการดูแล โอบอุมและเล้ียงดู เอาใจใสเปนพิเศษ

เด็กจึงเห็นวาพอแมและผูใหญ รวมถึงญาติมิตรตางใหความรัก เอาใจใส เอ็นดูนองและทำอะไรใหนองตลอดเวลา จนเด็กรูสึกเหมือนถูกละท้ิง ถูกลืม

ดังน้ัน เมื่อเกิดความรูสึกเหมือนวา “ไมมีใครรักเขาแลวเพราะทุกคนรักและดูแลแตนอง” บวกกับพอแม ญาติ

มิตร มีการวากลาวเด็กทำนองวา โตแลวอยารังแกนอง หรือดุและตีเด็กบอยๆ เวลาเด็กแกลงนอง ทำนอง เด็กจึงรูสึกโกรธเคืองเห็นนองเปนตัวการตนเหตุทำใหถูกลงโทษและเกิดความรูสึก

ไมชอบนอง อิจฉานอง เกลียดนอง รวมถึงอาจพาลโกรธนอยใจพอแมหรือคนท่ีลงโทษ ซึ่งสงผลใหกลายเปนเด็กด้ือและไมเชื่อฟงผูใหญมากข้ึน มักหาเรื่องกับนองเปนประจำ ย่ิงผูใหญสอน หามหรือ ดุวา ลงโทษ ก็ย่ิงไปเพ่ิมความรูสึกดานลบ และกอใหเกิดปฏิกิริยาตอบโต

พอแมตองทำความเขาใจเรื่องของการอิจฉา และการแขงขัน แกงแยงแขงดี ระหวางพ่ีนองวาเปนเร่ืองที่พบไดเสมอตามธรรมชาติ เมื่อฝายหน่ึงรูสึกวากำลังสูญเสียความรัก ความสำคัญ

ถาผูใหญเขาใจเรื่องเหลาน้ี และยอมรับความรูสึกของเด็กท่ีกำลังมีความทุกขไมมีความสุข หรือกำลังโกรธเคืองผูคนรอบขาง

คลายปม “พี่รังแกนอง” ใชความรัก - ความเขาใจ

ครอบครัวที่มีลูกมากกวาหนึ่งคน คงหนีไมพนปญหาการทะเลาะเบาะแวง รังแกกันของเด็กๆ

Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

45

พรอมกับนอยเน้ือต่ำใจ เด็กจะมีเปาหมายท่ีระบายออกดวยได คือนองหรือเด็กอายุนอยกวาตัวเล็กกวา ฉะน้ันการเปล่ียนทาทีการปฏิบัติของผูใหญตอเด็ก ควรอยูในรูปแบบของการประนีประนอม ไมควรดุวาหรือทะเลาะกับเด็กบอยๆ และควร เอาใจใสเขามากข้ึน เน่ืองจากเด็กทุกคน ไมวาจะอยูในวัยใดก็ลวน ยังตองการความรักจากพอแมหรือผูใหญรอบขางอยู ดังน้ัน ผูใหญจำเปนตองมีเวลาสวนตัวใหเด็กดวย อาจสลับกันระหวางพอแม หรือปูยาตายาย อีกท้ังเวลานองโยเย รองไหผูใหญก็ควรอุมปลอบและบอกวา “หนูเปนเด็กเล็กรองได เห็นไหม พ่ีหนูเขาโตแลว เขาพูดรูเร่ือง เขาไมรองไห โตข้ึนหนูเปนเด็กดีอยางพ่ีนะ” ซึ่งเปนการหาเร่ืองชมทางตรงบาง ทางออมบาง นอกจากน้ี ถาเด็กเปนเด็กเลนแรง เน่ืองจากเด็กวัย 2 - 6ป จะยังเลนอะไรไมคอยเปน ควรใหเด็กเลนตามลำพังบาง กับพอ-แมบาง ถาเม่ือใดที่เด็กเลนแรงใหหยุดเสีย และบอกวา “แรงไป” และเร่ิมตนใหม รวมทั้งเวลาท่ีเลนกับนอง พอแมตองอยูดวยเพ่ือคอยระวังการพล้ังเผลอ หรือเปนคนคอยช้ีแนะการเลนท่ีถูกตองถาบังเอิญนองเกิดรองอยาดวนวาพ่ี แตควรอุมนอง และบอกวา “พ่ีเขาไมไดตั้งใจ เห็นไหมพ่ีเขาเสียใจแลวนะ” อาจบอกใหขอโทษกันก็ได เพราะเร่ืองขอโทษนี้เปนเร่ืองที่ควรหัดใหมีขึ้นเปนนิสัย นองก็ขอโทษพ่ี แมยังไมรูจักก็จับมือพนม “ขอโทษ ขอบคุณ” พ่ีเองก็ขอโทษ ถาเพล่ียงพล้ำ โดยพอแมอาจทำเปนตัวอยาง เชน เผลอเอามือไปชนเขา ก็บอกขอโทษ จะเอ้ือมไปหยิบอะไรที่ใกลเขาก็ขอโทษ และขอใหเขาสงให อยางน้ี เปนตน เปนการแสดงตัวอยางใหเห็นอยูเสมอๆ และใหปฏิบัติดวยกัน เพื่อสรางสันติสุขและความสัมพันธในครอบครัว พอแมควรบอกลูกอยางสม่ำเสมอวา พอแมรักเขา เอาใจ-ใสเขา และภูมิใจในตัวเขา โดยเฉพาะเวลาเขาทำอะไรได

หรือมีความสามารถใหเห็น เชน เขียนอักษร เขียนสระได ชวยเหลือห้ิวของใหพอแม เช็ดโตะ หยิบของเลนใหนอง พาไปไหนเขาไมงอแง ฯลฯ เปนตน

พอแมอาจปรารภกับลูกวา พอแมภูมิใจและสบายใจมาก เมื่อลูกโตข้ึนและทำอะไรไดอยางน้ี อยากใหนองโตไวๆ เทา

ลูก จะไดพูดกันรูเร่ือง ซึ่งการเล้ียงดูเด็กตองปฏิบัติกับเขาตามวัยและชวยในการพัฒนาไปเร่ือยๆ ไมตองตอกย้ำความผิดหรือแสดงอารมณตอกัน ถาเด็กพูดวา “ไมนามีนองเลย” พอแมควรกอดและ

บอกวา “พอแมเขาใจ ลูกคงหมายถึงวา นองมากวนลูก

ทำใหลูกลำบากใจ บางครั้งพอแมก็ตองอดทนกับนองมากเหมือนกัน พอแมกำลังรอใหนองโตและรูเรื่องขึ้น เรามาชวยกันดีไหม?” พอแมตองพยายามใหเด็กเกิดความรูสึกวาพอแมไมลืมเขา ยังเห็นความสำคัญของเขาอยู พอแมสามารถภูมิใจเขาไดเพียงเห็นเขามีสวนดี ย้ิมแยมแจมใส เอาใจใสดูแล และใหเวลากับเขา

เด็กจะรูสึกดีเมื่อมีความมั่นใจในตัวพอแมและความรักของพอแม เด็กสบายใจไดเมื่อไร เขาจะดีกับนองได แตพอ-แมคงไมลืมวาเด็กๆ ยังมีการขัดแยงกัน ตางคนตางเอาแตใจ

คิดอะไรในมุมมองของตนเอง พอแมมีหนาท่ีใหความยุติธรรมและไกลเกล่ียใหประนีประนอมกัน มากกวาการตัดสินถูกผิดอยางเดียว

เรื่องของเด็กบางทีผูใหญก็ควรมองใหเปนเรื่องธรรม-ชาติและดูแลอยางปกติ เด็กอาจมีอิจฉากันบาง ทะเลาะกันบาง โดยเฉพาะเม่ืออยูบานเดียวกัน แตถาผูใหญดูแลอยางเขาใจและดวยใจที่เมตตา การตัดสินปญหาหรือเขาไปแกไขสถานการณก็

จะเปนปกติ แลวปญหาท่ีเคยคิดวาใหญก็ไมใชอีกตอไป...-

2009 PTA

Art

icle

7

46

“คุณครู” มือปราบ เมื่อนักเรียนรังแกกันฉบับที่ 130 ปกษแรก เดือนมกราคม 2552

ฉบับที่ 130 ปกษแรก เดือนมกราคม 2552

“คุณครู” มือปราบเมื่อนักเรียนรังแกกันเมื่อนักเรียนรังแกกัน

การรังแกกันของเด็กนักเรียนภายในโรงเรียน

หลายคนอาจคิดวาจะตองเปนการใช

กำลังดวยความรุนแรงในการ

ทำรายกัน แตความเปนจริงแลว

การรังแกกันของเด็กนักเรียนยังมีอีกหลายรูปแบบที่เด็กแสดงออกมา เชน คุณแมทานหนึ่งที่ลูกสาวกำลัง

เผชิญปญหากับเพื่อนที่โรงเรียน

เพียงเพราะลูกสาวมีความคิดเห็น

ไมตรงกับเพื่อนในกลุม แตเพื่อนกลับโกรธ

และพยายามชักชวนเพื่อนคนอื่นๆ

ในชั้นเรียนและตางชั้นเรียน ไมใหมาพูดคุย

เลนกับลูกสาว

Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

47

กรณีนี ้เปนอีกรูปแบบหนึ่งของการรังแกกันที ่มักจะเกิดขึ้นกับเด็กนักเรียนสวนใหญที่มีความคิดเห็นไมคลอยตามหรือแตกตางจากเพ่ือน จะถูกเพ่ือนปฏิเสธไมชอบหนา เพิกเฉย ไมเลนดวย ปฏิเสธไมใหเขากลุม ทำใหเด็กรูสึกไมอยากไปโรง-เรียน หมดกำลังใจทอแท และกลายเปนคนท่ีซึมเศรา ซึ่งหากผู ปกครองไมสังเกตถึงความเปลี ่ยนแปลงที ่เก ิดขึ ้นกับเด็ก ก็คงชวยเหลือเด็กไมได การท่ีจะแกปญหาหรือชวยเหลือใหเด็กๆ รอดพนจากการถูกรังแกไดอยางจริงจัง ตองอาศัยความรวมมือจากทุกสวน ทั้งจากพอแมผูปกครอง โดยเฉพาะ “ครู” ซึ่งนับเปนบุคคลท่ีมี

บทบาทสำคัญอยางมากที ่จะทำใหการรังแกกันหมดไปจากโรงเรียน

ผศ.ดร.สมบัติ ตาปญญา ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เรียบเรียงแงคิดจาก No-Name Calling Week Resource Guide 2004 เก่ียวกับการชวยเหลือนักเรียนรังแกกันของครู ซึ่งชวยนักเรียนไดดังน้ี ใชเวลากับนักเรียน เรียนรูเก่ียวกับสถานการณท่ีกำลังเกิดขึ้น ฟงสิ่งท่ีเขาบอก และหาขอเท็จจริง (ใคร อะไร เมื่อไหร ที่ไหน อยางไร) จากน้ันประเมินความรูสึกของเด็กตอการถูกรังแก ครั้งนี้เปนครั้งแรกของเขาที่ถูกรัง

แกหรือไม หรือเกิดข้ึนอยางตอเน่ืองนานมาแลว คุณครูตองทำความเข าใจด วยว าการพูดคุยแบบนี ้อาจทำใหนัก-เรียนลำบากใจ ดังน้ัน คุณครูต องบอกเขาว าท านเปนหวงเรื ่องที ่เกิดขึ ้นและรับรองกับเขาวามันไมใช ความผิดของเขา

2009 PTA

Art

icle

7

48

อยาเพิ่มความเสียหายมากข้ึน โดยการแสดงการชวยเหลือเด็กมากเกินไปตอหนาคนอ่ืน เพราะวัยรุนจะกังวลเร่ืองภาพลักษณของเขาในบรรดากลุมเพ่ือน ดังน้ัน อาจจะเปนการดีกวาถาคุณครูชวยเหลือดวยคำพูดและการกระทำอื ่นๆ เปนการสวนตัวภายหลัง ชมเชยนักเรียนที่เขากลาพูดคุยเรื่องการรังแกกันกับทาน บอกใหเขาทราบถึงความสำคัญของขอมูลตางๆ ที่เขาใหมาวา นอกจากจะเปนประโยชนตอตัวเขาเองแลวยังจะเปนประโยชนตอนักเรียนคนอ่ืนๆ ในโรงเรียนดวยเชนกัน ใหนักเร ียนบอกวามีอะไรที ่จะทำใหเขารู ส ึกปลอดภัยบาง เด็กท่ีถูกรังแกอาจรูสึกวาตนเองไรอำนาจ หวาดกลัวและหมดทางชวยเหลือตนเอง ควรใหโอกาสเขาไดพูดหรือแสดงความคิดเห็นและทำตามส่ิงท่ีเขาขอ ถาพอเปนไปได ควรเนนกับเด็กวาสิ่งท่ีไดพูดคุยกันถือเปนความลับ และแจงเด็กวาทานจะเปดเผยเร่ืองนี้กับใครบางและไมเปดเผยกับใครบาง หาขอเท็จจริงเพ่ิมเติมเก่ียวกับเหตุการณตางๆ จากผูใหญหรือนักเรียนคน-อื่น เพ่ือใหนักเรียนผูถูกรังแกรูสึกวาเขาไมใชเปนคนเดียวท่ีใหขอ-มูลเก่ียวกับการรังแกกันท่ีเกิดขึ้น เวลาสอบถามนักเรียนผูรังแกหากเปนไปได หามเปดเผย ตัวตนของผูถูกรังแก แตใหบอกไปแทนวาทานไดทราบถึงเร่ืองนี้จากแหลงตางๆ รวมถึงจากผูใหญคนอื่นดวย สื่อสารกับผูรวมงานเกี่ยวกับเหตุการณรังแกกันที่เกิดขึ้น เน่ืองจากบุคลากรคนอ่ืนท่ีเก่ียวของกับตัวนักเรียนผูถูกรังแกน้ัน เพ่ือจะดูแลชวยเหลือไดเชนกันบอกผูรวมงานใหคอยสังเกตกาณใหมากย่ิงขึ้น เพ่ือใหแนใจวาการรังแกกันน้ันไดยุติลงแลวและตองแนใจวาเขาไดสื่อสารความคืบหนาหรือเหตุการณ

ตางๆ ใหบุคลากรคนอ่ืนๆ ที่เก่ียวของทราบดวย อยาบังคับใหนักเรียนที่ถูกรังแกมานัดพูดคุยกับนักเรียนท่ีรังแก เน่ืองจากผูถูกรังแกอาจอยากอยูหางๆ หรือไมตองการเก่ียวของกับผูรังแกเพราะฉะน้ัน การนัดพูดคุยกันอาจเปนการทำใหเด็กบอบช้ำมากข้ึน การบังคับใหขอโทษกันก็ไมมี

ประโยชนเชนกัน ใหขอมูลเด็กผูถูกรังแกวาทานจะ “ดำเนินการเชน-ไรตอไป” การบอกเด็กเชนน้ีจะทำใหเด็กไดความรูสึกท่ีปลอดภัย

กลับคืนมาและรูสึกวาควบคุมสถานการณได กระตุนใหเด็กมาบอกครูถามีการรังแกกันเกิดขึ้นอีก ไมวาจะเปนจากผูรังแกคนเดิมหรือจากคนอ่ืนๆ ก็ตาม สนับสนุนสงเสริมใหเด็กหาเพื่อนเพ่ิมขึ้น เครื่องมือสำคัญท่ีสุดประการหน่ึงในการปองกันการรังแกกันก็คือ การชวย

ใหเด็กมีเพื่อนที่ดีอยางนอยหนึ่งคนที่สามารถใชเวลาดวยกัน หรือคุยดวยได ศึกษาดูวาผู ปกครองของเด็กมีสวนรวมอยางไรไดบาง เด็กหลายคนมักเก็บเหตุการณที่ถูกรังแกไวโดยไมบอกผูปกครอง อธิบายใหเด็กทราบวาถาผูปกครองรูเร่ืองดวย เขาก็จะมีโอกาสไดรับความชวยเหลือมาขึ้นอีกพูดคุยกับผูปกครองเด็กเก่ียวกับเรื่องนี้ดวยเชนกัน สงปรึกษาตอผูเชี่ยวชาญหากเห็นสมควร การถูกรังแกที่รุนแรงและตอเนื่องอาจสงผลกระทบเปนบาดแผลทางจิตใจได ลองประเมินหรือใหผูเชี่ยวชาญคนอ่ืนประเมินวาเด็กตองการความชวยเหลือมากนอยเพียงใด คุยกับครูแนะแนวของโรง-เรียนเรื่องการบำบัดหรือการใหคำปรึกษาจากบุคลากรทางสุข-ภาพจิต ยอมเสี่ยงตอความผิดพลาดท่ีจะใหบริการชวยเหลือมากเกินความจำเปน มากกวาท่ีจะใหนอยไป ปจจุบันน้ีการรังแกกัน ไมถือวาเปนเร่ืองปกติหรือสวนหน่ึงของการเติบโตท่ีเด็กๆ ตองทนอีกตอไปแลว แตมันเปนรูปแบบหน่ึงของการทำรายกันซึ่งนำไปสูปญหาทางดาน รางกาย จิตใจ และผลการเรียนตามมาสำหรับ ผูถูกรังแกได คุณครูตองคอยติดตามดูแลนักเรียนที่ถูกรังแกใหเขารับรูไดวาทานเปนท่ีพึ่งพาของเขาได และทานจะ “ตรวจ-สอบ” หรือ สอบถามความคืบหนากับเขาในอีกสองสามวันและตอๆ ไป การรังแกกันของเด็ก อีกรูปแบบหนึ่งของความรุน-แรงท่ีเกิดข้ึนกับเด็กและเยาวชน ซ่ึงอาจเปนเพียงเร่ืองเล็กๆในสายตาของผูใหญ แตหากการรังแกถูกสะสมมาเปนเวลานาน ผูถูกรังแกอาจจะระเบิดอารมณท่ีกักเก็บเอาไว จนเกิดการใชความรุนแรงตอบโตผูกระทำจนถึงขั้นพิการและเสียชีวิตไดตามขาวคราวที่มีใหเห็นอยูบอยคร้ัง ฉะนั้น หากทุกฝายรวมมือกันชวยเหลือและปองกันเรื่องการรังแกกันของ

เด็กอยางจริงจัง กรณีเด็กกระทำผิดก็จะไมเกิดขึ้นอยางปจจุบันน้ีแนนอน...-

“คุณครู” มือปราบ เมื่อนักเรียนรังแกกันฉบับที่ 130 ปกษแรก เดือนมกราคม 2552

!Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

49

ฉบับที่ 131 ปกษหลัง เดือนมกราคม 2552

ความรุนแรงตอเด็กเกิดขึ้นเรื่อยๆ

และดูเหมือนจะไมมีที่สิ้นสุด มีเหตุปจจัยใดบาง

ที่เปนตัวกระตุนใหผูใหญที่ดูแลเด็กบางคน กลายเปน

ผูรายทำรายเด็กเสียเอง

เลี่ยงทำรายเด็กลดความเส่ียง

!

ผศ.ดร.สมบัติ ตาปญญา ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม กลาวถึงปจจัยเสริมที่มีสวน

ในการกระตุนใหเกิดการทำรายเด็ก มีหลายปจจัยท้ังดานวัฒน-ธรรม สังคม สิ่งแวดลอม และครอบครัว

หากปจจัยเหลาน้ีมีอยูมากเพียงใด ความเส่ียงท่ีจะเกิดการทารุณกรรมและละเลยทอดท้ิงเด็กก็จะมีสูงย่ิงข้ึน เราจึงจำ-เปนตองสังเกตใหเห็นและพยายามลดหรือกำจัดใหไดมากท่ีสุด

ปจจัยแรก คือ อิทธิพลทางวัฒนธรรม ไดแก •วัฒนธรรมของการใชความรุนแรงเพื่อแกปญหา ซึ่งแสดงผานสื่อตางๆ เชน ภาพยนตร โทรทัศน หนังสือการตูน นวนิยาย นิตยสาร หนังสือพิมพรายวันฯลฯ มักจะปลูกฝงความเช่ือหรือ

คานิยมวาเมื่อมีปญหาหรือสถานการณที่ไมนาพึงพอใจเกิดขึ้น การแกไขจะทำไดโดยใชความรุนแรงเทาน้ัน•ทัศนคติท่ีเห็นวาการลงโทษเด็ก ดวยการตีหรือทำรายรางกายใหเจ็บปวดนั้นเปนสิ่งท่ีปกติและยอมรับได การลงโทษเด็กดวยพฤติกรรมรุนแรงน้ี เปนการซึมซับความเช่ือใหเด็กอยางชาๆ แต

ในท่ีสุดก็จะฝงรากลึกของความเช่ือที่วา ผูที่มีกำลังอำนาจเหนือกวายอมไดเปรียบและใชความ รุนแรงตอผูที่ออนแอกวา เมื่อเด็กที่ผานประสบการณเชนนี้โตขึ้นเปนผูใหญก็ยอมมีความโนมเอียงท่ีจะใชพฤติกรรมเชนอ่ืนตอไป เชน การทารุณทำรายคูสมรสหรือลูกของตัวเอง หรือใชความ

รุนแรงตอคนอ่ืนๆ ในชีวิตเมื่อมีปญหา นอกจากน้ี ยังพบวาการลงโทษเด็กดวยความรุนแรงยังมีความเสี่ยงตอการเกิดอันตรายตอสุขภาพกายและจิตของเด็กดวย หากการลงโทษน้ันเกิดจากอารมณโกรธแคนมักจะเพ่ิมความรุนแรงข้ึนเร่ือยๆ จนเกินเลย เชน ย้ังมือไมอยู หรือย้ัง

อารมณไมอยู ในดานจิตใจ เด็กจะสับสนไมเขาใจวาพอแมหรือผู-ปกครอง ซึ่งควรจะรักและเมตตาคุมครองตนเองไมใหไดรับความเจ็บปวดทุกขทรมาน ทำไมถึงมาทำรายตนเองได และทำใหความสัมพันธระหวางเด็กและผูปกครองเสียไป และเด็กก็จะเร่ิมมีทัศน

คติไมดีตอคนใกลชิดหรือมีปญหาในการมีความสัมพันธกับคนอื่นๆ ในชีวิตตอไปอีก

2009 PTA

Art

icle

7

50

ลดความเส่ียง เลี่ยงทำรายเด็กฉบับที่ 131 ปกษหลัง เดือนมกราคม 2552

•การมองวาเด็กคือทรัพยสินสวนตัวของพอแม ดังน้ัน พอแมจึงมีสิทธ์ิจะทำอยางไรกับชีวิตของเด็กก็ได เชน การสงลูกไปทำงานในสถานท่ีที่ใชแรงงานเด็กอยางทารุณ ใหลูกมาขอทานหรือเปนโสเภณีเด็ก เพ่ือใหไดเงินมาใชจายในครอบครัว•การมองวาการทารุณทำรายกันในครอบครัวเปนเรื่องสวน-ตัวคนอ่ืน ไมควรเขามายุงเกี่ยว ความเช่ือเชนน้ีทำใหเพ่ือนบานชุมชน หรือแมกระท่ัง ผูรักษากฎหมายเอง ลังเลใจที่จะเขาไปแทรกแซงหรือแจงเบาะแส เม่ือสงสัยวาจะมีการทารุณทำรายเด็กข้ึน สงผลใหเด็กถูกทำรายตอเน่ืองไปเร่ือยๆ เปนเวลานาน จนกวาจะมีใครทนดูตอไปไมไหวแลว จึงจะมีการแจงขาว•การที่เด็กมักไดรับการอบรมสั่งสอนวาตองเชื่อฟงและปฏิบัติตามคำสั่งของผูใหญเสมอ ไมวาจะเปนเรื่องอะไร เหมาะสมหรือไม การไมสอนใหเด็กคิดอยางวิพากษวิจารณแตใหเชื่อผูใหญไวกอน ทำใหเด็กมีโอกาสถูกชักจูงหรือบังคับไดงาย

ปจจัยท่ี 2 ปจจัยทางสังคมและสภาพแวดลอม•การทำรายเด็กอาจเกิดจากความเครียดของพอแม ท่ีตกงาน เงินไมพอใช อยูในบานหรือชุมชนที่แออัดหรือสภาพเส่ือมโทรม แปลกแยกหรือไมมีสวนรวมในชุมชน ทำงานหนักเกินไปจนไมมีเวลาพัก นอนไมพอ ไมมีอาหารกินอยางเพียงพอ หรือเปนเหย่ือของความรุนแรงจากสังคมดวย การทารุณกรรมเด็กมักจะเกิดขึ้นในขณะที่ครอบ-ครัวหรือสังคมตกอยูในภาวะวิกฤต

ปจจัยท่ี 3 คือ ปจจัยทางกายภาพ•ลักษณะทางบุคลิกภาพบางอยางของผูปกครองเด็ก เชน ลักษณะซึมเศรา ซึ่งมักนำไปสูการละเลยไมเอาใจใสเด็ก เน่ือง-จากพอหรือแมมีอาการซึมเศรา ไมสนใจในสิ่งรอบตัว เลยทำให

ไมสนใจในความรับผิดชอบตอการเล้ียงดูลูกของตนไปดวย•การด่ืมสุรา เพราะการด่ืมสุราทำใหการยับย้ังชั่งใจหรือการ-ควบคุมตัวเองลดลง ในขณะท่ีความกาวราวเพ่ิมสูงขึ้น จึงเกิดการทำรายรางกายกันได สภาพความพิการหรือรางกายไมสมประกอบของเด็ก

ไมวาจะเปนแตกำเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง มักจะทำใหถูกทารุณ ทำรายหรือทอดทิ้งมากข้ึน พอแมที่ปญญาออนหรือเชาวนปญญาต่ำ จะมีโอกาสท่ี

จะทารุณหรือทอดทิ้งลูกมากข้ึน

ปจจัยท่ี 4 คือ ครอบครัวไมสามารถทำหนาที่ไดตาม

ปกติ ครอบครัวที่มีประวัติวาพอแมเคยถูกทารุณทำรายหรือละเลยทอดท้ิงมากอนในตอนท่ียังเปนเด็ก หรือมีประวัติการขาด-แคลนท้ังทางดานรางกายและจิตใจ ไดเห็นตัวอยางของพฤติกรรมแบบนี้มาตั้งแตเด็กจนโต เลยถือเอาเปนแบบอยางในการดูแลเด็กไปดวย พอแมที่ทำรายลูกมักจะเติบโตข้ึนมาโดยมีภาพลักษณในใจวาตนเองเปนคนไมดี ครอบครัวท่ีมีบทบาทผดิแผกไปจากควรจะเปน เชน มีพอหรือแมที่ขาดความรับผิดชอบ เลนการพนัน ติดเหลาหรือยา-เสพติด ปลอยใหลูกคนโตทำหนาท่ีดูแลลูกคนเล็ก หรือลูกตองดูแลพอแม ครอบครัวท่ีมีสามีภรรยา มีความขัดแยงหรือไมลงรอยกัน หรือไมสนับสนุนใหกำลังใจซึ่งกันและกัน มีเด็กท่ีแมมองวาเปนเด็กเลี้ยงยาก ไมนารัก ทำใหแมผิดหวัง ซึ่งเปนการคิดไปเองโดยไมไดเปนจริงอยางนั้น แตอาจจะเกิดจากการที่แมมีความคาดหวังตอลูกอยางเกินความเปนจริง ตำหนิเด็กวาเกิดมาแลวเปนสาเหตุใหพอแมมีปญหาหรือทำอะไรไมไดตามคาดหวังของพอแม การจะทำใหปญหาความรุนแรงตอเด็กลดลง ควรมีการ

สรางและกระตุนใหเกิดปจจัยท่ีมีสวน คุมครองหรือตานทานตอความเส่ียงคุมครองหรือตานทานตอความเส่ียง ทั้งในครอบครัว โรงเรียน กลุมเพ่ือนของเด็ก หรือในชุมชนที่เด็กอาศัยอยู เพราะปจจัยเหลานี้จะทำหนาที่คลายภูมิคุมกันที่ชวย

ลดโอกาสหรือความโนมเอียงที่เด็กจะถูกทำรายหรือทอดทิ้งใหนอยลง ถือเปนสวนที่สำคัญของงานปองกันการทารุณกรรมเด็ก คือตองพยายามสงเสริมหรือกระตุนใหมีปจจัยเหลาน้ีในระ-ดับสูงขึ้น ไดแก 1. การมีภาพลักษณในดานดีเก่ียวกับตนเอง เชน

การท่ีพอแมและเด็กมีความภาคภูมิใจในคุณคา หรือความสำคัญของตนเองสูง รูสึกวามีอำนาจในการควบคุมจัดการชีวิตของตนเองไดดี ขณะเดียวกัน การท่ีเด็กมีความรูสึกวาไดรับความรัก และการยอมรับโดยไมมีเง่ือนไข ไมวาตัวเองจะเปนอยางไรก็เชื่อ-วาพอแมจะรักและยอมรับตลอดไป

Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

51

2. การมีทักษะทางสังคม ไดแก พอแมที่ดูแลเอาใจใส โอบอุมคุมครอง มีทักษะในการเล้ียงดูเด็ก พอแมที่ควบคุมตนเอง เชน รูวาเม่ือโกรธควรทำอยางไร ควรแกปญหาอยางไร มีทักษะในการส่ือสาร สรางความสัมพันธกับคนอื่น เขาถึงจิตใจหรือเขาถึงความทุกขสุข ความตองการของผูอื่น 3. ความรู ความเขาใจ พอแมที่เขาใจเร่ืองการเล้ียงดูเด็กหรือพัฒนาการเด็ก ลักษณะพ้ืนฐานของการมีปฏิสัมพันธในครอบครัว และมีแหลงใหความรูหรือความชวยเหลือแกเด็ก 4. ความชวยเหลือตางๆ จากสังคมหรือชุมชน มีการเก้ือหนุนทางสังคมเพ่ือลดภาวะโดดเด่ียว มีกลุมสนับสนุนหรือกลุมชวยเหลือกันเอง เชน กลุมพอแมที่มีปญหา (คือการจัด

ใหพอแมที่มีปญหาคลายกันไดพบปะกันอยางสม่ำเสมอ เพ่ือใหกำลังใจและชวยเหลือกัน) มีเครือขายสังคมที่มีอยูตามธรรมชาติ เชน การมีความสัมพันธที่ดีในชุมชน ปจจัยที ่เกี ่ยวของกับความเสี ่ยงตอการที ่เด็กจะถูกทารุณกรรม และปจจัยท่ีชวยคุมครองปองกันน้ันมีอยูหลากหลายและมีความซับซอน เก่ียวของโยงใยกันไปท้ังหมด การท่ีจะปอง-กันการทารุณกรรมและทอดท้ิงเด็ก จึงตองเริ่มดวยความตระหนักถึงภาพรวมเชนน้ีเสียกอน แลวจึงพยายามใชวีการตางๆ ในการท่ีจะลดปจจัยเส่ียง และเพ่ิมปจจัยคุมครองหรือตานทานใหครอบ-คลุมทั้งหมด จะเนนเพียงจุดใดจุดหน่ึงเทาน้ันคงไมเพียงพอและตองอาศัยความรวมมือจากทุกภาคสวนอยางแทจริง...-

ฉบับที่ 132 - 133 ปกษแรก - ปกษหลัง เดือนกุมภาพันธ 2552

สอนวัยรุน...ไมวุนอยางท่ีคิด

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

ศิษยของเรา เขาเปนอยางไร? เมื่อสวมหัวใจครู ก็อยากจะใหศิษยไดวิชาเต็มท่ี ครูทุมเต็มรอย แตศิษยกลับคอยๆ ถอยทั้งๆ

ที่ยังรับวิชาไดไมเทาไร เปนเหตุการณที่ครูหลายทานพานพบ และรูสึกผิดหวัง

ย่ิงศิษยเปนวัยรุน สวนใหญนั้น แรกๆ ก็มักจะแสดงความสนใจ และแสดงทามุงมั่นเต็มที่ ขยัน หมั่นซอม ขึ้นตนดวย “ทาดี” แตลงทายดวย “ทีเหลว” ทุกทีจนครูทอใจ ถาเจอปญหาเชนน้ี ครูจะมีวิธีแกไขอยางไร?

สอนวัยใส ตองแตะใจใหไดเสียกอน วัยรุนเปนวัยท่ีกำลังคนหาเอกลักษณของตัวเอง พวกเขาจึงเปล่ียนความสนใจไปในหลายๆ เร่ืองไดงายจนดูเหมือน

โลเล ไมเอาจริง เน่ืองจากวัยรุนอยากจะทดลองดูวาส่ิงไหนคือสิ่งที่เขารักท่ีจะทำ แถมตรงกับศักยภาพท่ีมีอยูบางคนก็เลือกตาม

เพ่ือนเพราะรูสึกสนุกท่ีไดเรียนรวมกับเพ่ือนๆ ทวาหลายคนลง-ทายดวยการเลิกรา เพราะไมอดทนพอ ไมทนเม่ือเกิดความเบ่ือ ไมทนเม่ือตองใชความพยายาม ไมทนเม่ือลมเหลว และไมทนยามรูสึกทอ

2009 PTA

Art

icle

7

52

สอนวัยรุน...ไมวุนอยางท่ีคิดฉบับที่ 132 - 133 ปกษแรก - ปกษหลัง เดือนกุมภาพันธ 2552

เรื่องธรรมดา บางเวลาก็เบื่อ บางเวลาก็ทอ อยาวาแตวัยรุนเลย แมผูใหญเอง บางคร้ังก็ออกอาการเบ่ือๆ อยากๆ กับงานท่ีทำเหมือนกัน แตวัยรุนสวนใหญ พอเบ่ือหรือทอก็จะท้ิงทันที เพราะขาดแรงจูงใจที่จะทำใหยอมทน และคิดวายังมีทางเลือกอื่นๆ อีกหลายทาง ดังน้ัน ครูที่จะสอนวัยรุน อาจตองใชทั้งเลหกลและมนตคาถาสารพัด เพ่ือชวยใหวัยรุนสรางพลังแหงความอดทนอยางตอเน่ือง

ความตองการของวัยรุน• ตองการการยอมรับ ความช่ืนชม• ตองการแสดงออกถึงความสามารถท่ีมีอยู• ตองการปลดปลอยความคิด ความรูสึกอยางเปนอิสระ• ตองการการสนับสนุนใหเกิดความเช่ือมั่นและความภาคภูมิ- ใจในตนเอง

แลวจะสอนอยางไร ใหไดใจวัยรุน หัวใจสำคัญ คือ- เร่ิมตนดวยการกระตุนใหเกิดความรูสึกสนุกในการเรียน ใหลูกศิษยวัยรุนไดเปดใจ แตละคนมีโอกาสพูดถึงตัวเอง พูดถึงความสนใจ ความใฝฝน และเปาหมายในอนาคต เพ่ือใหวัยรุนไดแสดงออก- สรรคสรางใหเกิดความรูสึกมีความสุขในการเรียนดวยการ สรางบรรยากาศท่ีผอนคลาย เปนกันเอง

- เราใหเกิดความเช่ือมั่นและภาคภูมิใจในตนเอง จากการท่ี ไดรับรูวาเขามีจุดเดนท่ีนาสนใจ มีจุดดีที่นาช่ืนชม และ

สามารถพัฒนาฝมือตนเองใหดีขึ้นได- เปดโอกาสใหศิษยไดซักถามอยางอิสระ ครูเองก็ควรมีทาที ผอนคลายดวย ใหความเปนกันเอง มีอารมณขัน และถา พูดจาภาษาวัยรุนไดบางก็จะเพ่ิมความกลมกลืนเปนพวก

เดียวกัน ครูที่เครงเครียด มักทำใหศิษยขยาด และเกิดความ- กังวล เกร็ง เพราะ กลัวผิด ซึ่งเปนปจจัยท่ีทำใหใชศักยภาพได ไมเต็มที่

- ใหลูกศิษยรูสึกวาครูใหความสนใจและยอมรับเขา ไมวาเขา

จะมีความสามารถมากนอยแคไหนก็ตาม จะเรียนรูได ชาหรือเร็ว ไมใชสิ่งสำคัญ หากทุกคนมีพลังอยูในตัวเอง พลังท่ีจะอดทน มุงมั่นพัฒนาฝมือของตนเอง- ไมเนนการคาดหวังและการแขงขัน ความคาดหวังของครู จะทำใหลูกศิษยเครียด บางคนอาจรูสึกฝอแตเร่ิมแรก

การแขงขันก็จะทำใหศิษยบางกลุมรูสึกดอยและถอยจากไป

- ใหลูกศิษยรูสึกวาวิชาที่เรียนไมยากอยางท่ีคิด ใหสัญญาวา ครูจะชวยพาทุกคนไปสูจุดเปาหมาย อยางนอยก็พอทำได ดวยตัวเอง ศิษยแตละคนจะไดวิชาหรือไดฝกฝมือกันพอ สมควรทีเดียวแหละ

- กำลังใจ เปนส่ิงท่ีใครๆ ก็ตองการ หัวใจวัยรุนน้ัน ทอและ ฝองาย ครูอาจตองใหกำลังใจเปนระยะๆ

วิธีใหกำลังใจ เชน> ชมเชยในสิ่งท่ีศิษยทำไดดีขึ้น แมจะเล็กนอยแตก็ถือวาเปน การพัฒนา ไมตองกลัววาจะทำใหวัยรุนเหลิงหรือหลง ตัวเอง การชมใหชมที่การกระทำหรือผลงานของเขา และ ตองชมอยางจริงใจ

> ถาวัยรุนยังทำไดไมดี ใหบอกวิธีแกไขโดยไมแตะตัวตน ของเขา คือ พยายามหลีกเล่ียงคำท่ีใชตีตรา (ขี้เกียจ แยมาก โง เข็นไมขึ้น ไมเอาไหน ฯลฯ) หรือคำท่ีทำใหวัยรุนรูสึกเจ็บ- ปวด เจ็บใจ และอับอาย

> จูงใจใหเห็นเปนเร่ืองทาทายและนาทำ “คุณก็มีฝมือ ทำไม ไมลองพยายามอีกนิดละ” “ถาทำไดนะ สาวๆ จะท่ึงคุณ ทีเดียวแหละ” “อดทนอีกนิด รับรองคุณเลนโชวใหสาวๆ กร๊ีดไดแน” ฯลฯ

> ปลุกปลอบใจยามจิตใจหอเห่ียว (ทอแท เบ่ือหนาย ขาดความม่ันใจในตัวเอง) บอกใหเขารับรูวาเปนเร่ืองธรรมดา (ไมใชสิ่งท่ีผิด) ที่จะรูสึกเชนน้ัน ครูเองก็เคยผานความรูสึก เชนน้ันมากอน บางครั้งอาจรุนแรงกวาเขาเสียอีก แตครูก็มี วิธีเอาชนะความรูสึกดังกลาว และยินดีที่จะชวยเพ่ือพาเขา ขามผานความรูสึกท่ีเกิดข้ึน

หลุมพรางท่ีควรระวัง+ ไมเปรียบเทียบระหวางลูกศิษยดวยกันเอง หรือลูกศิษย

รุนอื่นๆ+ ไมคาดหวัง และเค่ียวเข็ญอยางเขมงวดจนศิษยเครียด

+ ไมคอนขอด ประชด เปรียบเปรย เมื่อศิษยทำไมไดดังหวัง

สังเกตวัยรุน เพื่อเปนทุนการสอน การสังเกตเปนเคร่ืองมือสำคัญสำหรับครูผูสอน เพ่ือประเมินวาศิษยแตละคนมีความพรอมที่จะกระโจนเขาสูบท-เรียนหรือไม เขาใจสิ่งท่ีถายทอดใหหรือยังงุนงงจับไมติดกำลัง

Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

53

เบ่ือหนายกับบทเรียนหรือ กำลังงวงเหงาหาวนอน หรือสนุกกับการเมาทกับเพ่ือนมากกวาอยากจะพูดซักถามครู ดังน้ันครูจำเปนตองเปนนักสังเกตอาการและพฤติกรรมของศิษย รวมทั้งชวยคล่ีคลายใจ สลายอารมณดวย เชน •เมื่อใดก็ตามที่ลูกศิษยออกอาการใจลอย ขาดสมาธิ หรือจองครูเสมือนตั้งใจฟง แตแววตาดูเล่ือนลอยดุจกำลังคิดอะไรอยู ไมไดมีสติอยูกับบทเรียนเสียเลย ใหครูคำนึงถึงการพะวงถึงความวิตกกังวลหรือปญหาท่ียังติดคางคาใจ •เมื่อใดก็ตามที่ลูกศิษยมีอาการหงุดหงิด เจาอารมณ ใครพูดอะไรก็ไมเขาหูไปหมด อาจเปนเพราะเขามีเร่ืองที่ทำใหรูสึกโกรธ อาจโกรธคนอ่ืนหรือโกรธตัวเอง •เมื่อใดก็ตามที่ลูกศิษยรบกวนเพ่ือนๆ เยาแหย และอยูไมสุข อาจเปนเพราะเขาอยากไดรับความใสใจเปนพิเศษ •เมื่อใดก็ตามที่ลูกศิษยมีพฤติกรรมเปล่ียนไป เชน เคยพูดเกง แตกลับเงียบขรึม เคยทำกิจกรรมไดดี แตกลับทำผิดพลาดมากผิดปกติ ทำดวยความรูสึกหมดใจกับงานตรงหนา ใหคำนึงถึงปญหาท่ีบั่นทอนอารมณ •ลูกศิษยคนใดที่ชอบนั่งอยู ตามมุมหองหรือหลังหองเงียบๆ มักเปนเด็กข้ีอาย ไมกลาแสดงออก และออนดอยในดานทักษะทางสังคม

เมื่อศิษยกระเซาเยาแหยครู จะทำอยางไร? •ใจเย็นเขาไว ไมแสดงอารมณโกรธ หงุดหงิด

•แสดงทีทายอมรับในความเปนตัวตนของเขา

ไมวางทาเย็นชา และไมแสดงทาทีเพิกเฉยเสมือนเขาไมมี

ตัวตน

•ดึงจุดเดนของเขาออกมาใหปรากฎ หาจุดเดนที่ดีของเขาข้ึนมาช่ืนชม และใหโอกาสไดแสดงออกถึงจุด-

เดนน้ัน

บางคร้ังวัยรุนก็อยากทาทายผูใหญ ถาผูใหญมีความเยือกเย็น สงบนิ่ง ไมตอบโตดวยอารมณ วัยรุนจะ

เรียนรูวาวิธีการของเขาไมไดผล กอกวนอารมณผูใหญไม

ขึ้น บางคร้ังวัยรุนก็อยากทำอะไรเดนๆ อวดเพ่ือน ถายอมใหเขาไดแสดงออกถึงความเดนท่ีดีและเหมาะสม เทากับ

เปนการตอบสนองความตองการ

วิธีคลี่คลาย สลายอารมณ สำหรับวัยรุนแลว การเคารพในสิทธิสวนบุคคลของเขาเปนเร่ืองสำคัญ วัยรุนไมอยากใหถามเก่ียวกับปญหาของเขาตอหนาเพ่ือนๆ อาจใชวิธีเดินเขาไปแตะบาเพ่ือทักทาย หรือใหความสนใจในกิจกรรมที่เขาทำ แลวขอเวลานอกเพ่ือคุยกับเขาลำพัง โดยระมัดระวังไมจุดประกายความสงสัยใหกับคนอื่นๆ วิธีการเขาไปสัมผัสใกลชิดกับวัยรุนตองคำนึงถึงลักษณะของแตละคนดวย

@ วัยรุนท่ีขี้อาย ครูตองใชวิธีการท่ีนุมนวล ชวนพูดคุยในเร่ืองที่เขาสนใจ ถามในเร่ืองที่เขาเช่ียวชาญจะทำใหเขาม่ันใจในการตอบมากขึ้น

@ วัยรุนท่ีไดชื่อวาเปนหัวโจก อารมณรอน ครูควรใชความเปนกันเอง ใชวิธีฟงมากกวาพูด เคารพในความคิดเห็นของเขา เปดโอกาสใหเขาไดแสดงออกในสิ่งที่ดีที่ทำใหเขาเกิดความภาคภูมิ-ใจ หรือแปรเปลี่ยนพลังอารมณทางลบใหเปนพลังท่ีสรางสรรค เชน ใหทุมเทพลังไปกับความรับผิดชอบ การใชจินตนาการหรือความคิด ซึ่งเทากับเปนการเปดชองทางใหความรอนจากภูเขามี

ทางออกท่ีไมเกิดอันตราย ถึงแมจะเปล่ียนภูเขาไฟใหเปนภูเขาน้ำแข็งไมไดก็ไมเปนไร

@ วัยรุนประเภทกอกำแพงลอมตัวเอง คือ ปดตัวเขาถึงยาก ไมสนิทกับใครงายๆ ครูตองสรางใหเกิดความไววางใจสรางบรรยา-กาศสบายๆ และเปนธรรมชาติ แสดงใหเห็นถึงความจริงใจที่ครูมีตอศิษยและมีความสม่ำเสมอ

@ วัยรุนท่ีมีปญหาทางอารมณ เชน ซึมเศรา ไมสบายใจ ทุกขใจฯลฯ ครูควรเขาไปใกลชิดเด็ก สรางความไววางใจ และใชการส่ือ-สารพูดคุยกัน

สื่ออยางไร เขาถึงใจวัยรุน ทุกคร้ังท่ีผูใหญถามวัยรุนวา “เปนอะไร ไมสบายใจหรือเปลา” หรือ “หนาตาดูอิดโรย เปนอะไรหรือ” มักจะไดรับคำปฏิ-เสธโดยอัตโนมัติวา “ไมเปนอะไร” “ไมมีปญหาอะไร” การพูดคุย

กับวัยรุนจึงตองใชเวลากวาจะไดเรื่องที่ซอนเรนอยูในใจทักษะที่จำเปนคือ@ การบอกถึงความรูสึกเปนหวงของครูที่มีตอเขา บอกถึง ความเต็มใจที่จะใหความชวยเหลือ และยินดีรับฟงเขาเสมอ @ การถามถึงความรูสึก @ การต้ังใจฟงและฟงดวยความเขาใจ (บางครั้งแคมีคนรับฟง อยางเขาใจก็ชวยคล่ีคลายความทุกขใจของวัยรุนไดแลว)

@ การแสดงออกถึงความเขาใจและยอมรับอารมณความรูสึก

?

2009 PTA

Art

icle

7

54

สอนวัยรุน...ไมวุนอยางท่ีคิดฉบับที่ 132 - 133 ปกษแรก - ปกษหลัง เดือนกุมภาพันธ 2552

และความคิดของเขา

ขอความระวัง คำพูดท่ีขวางกั้นใจ ตักเตือน สั่งสอน ติเตียน วิจารณ ตัดสิน ตีตรา ตราหนา ปรามาส ซักไซ สอบสวน (ถามเพราะความอยากรู มากกวาจะถามเพ่ือตองการชวยเหลือ)

ผูเชี่ยวชาญที่จะมาถายทอดวิชาความรูหรือทักษะตางๆ ใหแกวัยรุน ลวนเปนครูดวยหัวใจ ความรูและ

ทักษะท่ีทานใหจะมีคุณคาตอวัยรุนอยางอเนกอนันต ชวยพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีอาวุธทางปญญา เพ่ือนำไปใชประโยชนในอนาคต และเปนการเปดทางเลือกในการใชเวลาวางอยางมีคุณภาพ ทั้งน้ีสินทรัพยทางปญญาท่ีทานมอบใหแกวัยรุนน้ันจะเฉียบคม และเพ่ิมมูลคามากข้ึน หากยึดหัวใจในการถายทอด3 ประการคือ

ประการแรก สงเสริมใหวัยรุนเรียนอยางมีความสุขประการที่สอง เสริมสรางใหเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง

ประการที่สาม สรรคสรางกำลังใจ ใหอิสระทางความคิดและ จินตนาการ ....

สรุป

self-confi dent

imaginary

understanding!courage

Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

55

ฉบับที่ 134 ปกษหลัง เดือนพฤษภาคม 2552

ปญหาครูทำรายทุบตีเด็กนักเรียน ที่เปนขาวฟองรองดำเนินคดีกันนั้น เปนตัวอยางใหพอแม ผูปกครองไตรตรองวาจะหาสถานรับเล้ียงเด็กหรือโรงเรียนอนุบาลท่ีดีกับลูกหลานอยางไร

ผูปกครองควรพูดคุยสอบถามความเปนมาของครูแตละคน วาเขามาสมัครในโรงเรียนไดอยางไร โรงเรียนมีกระบวน-การคัดเลือกเชนไรเกณฑวัดตางๆ ดูวาครูมีความรูเก่ียวกับเด็ก

พัฒนาการของเด็ก หรือมีการจัดแผนการเรียนการสอนท่ีสอด-คลองกับวัยอนุบาลหรือไม หรือมีการพูดคุยกับ ผูบริหารถึงระบบการสอนของโรงเรียน จำนวนครูตอจำนวนเด็ก ซึ่งตามมาตรฐานควรมีครูผูดูแลเด็กอยางนอย 2 คน ภายในหน่ึงชั้นเรียน เพ่ือชวยกันดูแลเด็กไดอยางท่ัวถึง เพราะหากเกิดความวุนวายข้ึนภายในหองเรียน ครูคนหน่ึงเขาไปจัดการกับปญหาท่ีเกิดขึ้น สวนครูอีก

คนหน่ึงจะไดชวยดูเด็กท่ีเหลือใหปลอดภัย อีกดานท่ีควรพิจารณา คือ กิจกรรมที่ใหเด็กทำตอบสนองตอพัฒนาการของเด็กอยางไรบาง เพราะตามมาตรฐานในหองเรียนอนุบาลควรมีการจัดมุมหองเปน 5 มุม เพราะเด็กวัยอนุบาลชวงอายุระหวาง 3 - 6 ขวบ สมาธิจะไมมากหรือสมาธิสั้น จะใชเวลาในการทำกิจกรรมใดๆ ไดไมยาวนานนัก ซึ่งจะสอด-

คลองกับระยะเวลาท่ีเด็กจะใหความสนใจ เชนเดียวกับการกำ-

หนดคาบเรียนของเด็กชั้นประถมศึกษา เรียน 45 นาที พัก 15 นาทีซึ่งตรงนี้เปนประเด็นที่ผูปกครองตองรูและผูปกครองควรเตรียมความพรอมใหเด็กวัยน้ี ซึ่งเด็กจะตองรูวาการเขาเรียนอนุบาล สังคมแวดลอมจะเปลี่ยนไป จากท่ีอยูบาน ตนเองจะเปนศูนยกลางและไดรับการดูแลเปนพิเศษจากผูอื่นในครอบครัว เมื่อมา

อยูที่โรงเรียนจะมีเพ่ือนวัยเดียวกันหลายคน คุณครูจะเปนศูนยกลางในการดูแล เด็กจะไมไดรับการปฏิบัติหรือดูแลเปนพิเศษเหมือนในครอบครัว อีกดานท่ีสำคัญและไมควรละเลย คือ การบริหารจัดการเร่ืองความปลอดภัย ผูปกครองตองสำรวจตรวจตราโรง-

เรียนวามีระบบดูแลความปลอดภัยใหแกเด็ก อยางไรบาง เชนการตรวจสอบวัสดุอุปกรณที่ใชในการเรียนการสอน เคร่ืองเลน

ของเด็กมีความคงทน แข็งแรงและเปนไปตามมาตรฐานหรือไม เชน ของเลนท่ีนำมาใหเด็กเลน ใชสีปนเป้อนดวยสารอันตรายท่ี

พอแมตองเรงไขปริศนาเม่ือลูกผวาโรงเรียน

นายสรรพสิทธ์ิ คุมพประพันธ กรรมการสิทธิเด็กแหงสหประชาชาติ กรรมการคุมครองเด็กแหงชาติ ผูเชี่ยวชาญดานกฎหมายและ ผูอำนวยการมูลนิธิศูนยพิทักษสิทธิเด็ก ใหขอชี้แนะพอแม ผูปกครอง กอนที่จะสงลูกเขาเรียนอนุบาลวา ควรตรวจสอบและสำรวจให รอบคอบในทุกดาน ไมวาจะเปนระบบการเรียนการสอน การจัดหาบุคลากรวามีคุณภาพเพียงไร และความปลอดภัย เกณฑที่ควรพิจารณา ไดแก ดาน บุคลากร คือ ครูหรือผูดูแลเด็กมีคุณสมบัติ และวัยวุฒิเหมาะสมหรือไม เชน ครูมีอายุนอยเกินไป มักจะกออันตรายแกชีวิตของเด็กมาหลายราย เพราะครูกลุมนี้จะไมเขาใจพัฒนาการของเด็กและไมสามารถจัดการกับพฤติกรรมของเด็กได จึงใชความรุนแรงตอเด็ก

2009 PTA

Art

icle

7

56

เมื่อลูกผวาโรงเรียน พอแมตองเรงไขปริศนาฉบับที่ 134 ปกษหลัง เดือนพฤษภาคม 2552

เปนพิษหรือไม เคร่ืองใชพลาสติกใหสังเกตจากสัญลักษณสามเหล่ียมภายใตอุปกรณจะบอกไดวาเหมาะสมสำหรับเด็กหรือไม ลักษณะการออกแบบอาคารสถานที่สอดคลองกับวัยของเด็กหรือไม มีแงมุมที่เปนอันตรายหรือมีมุมอับ ซอกหลืบที่เด็กเขาไปหลบไดหรือไม จัดระบบปองกันมิใหเด็กอยูตามลำพังหรือไม หองน้ำเด็กไมควรอยูในที่ลับหลังอาคารเรียน และไมควรมีประตูหองน้ำ 2 ชั้น หรือปดทึบ เพราะอาจเกิดการแอบเขาไปรังแกเด็กไดในบางกรณี พ้ืนสนามหรือบริเวณท่ีเด็กว่ิงเลนเปนพ้ืนหญา พ้ืนทราย หรือพ้ืนซีเมนต ถาเปนพ้ืนซีเมนตหากเด็กว่ิงเลนแลวหกลมอาจไดรับบาดเจ็บรายแรง การรับ-สงเด็ก มีมาตรการใดท่ีชี้ชัดวาเปนผูปกครองคนเดียวกันท่ีมาสงและรับเด็ก ควรมีบัตรประจำตัวผูปกครอง และควรมีการจัดพ้ืนท่ีในการสง-รับเด็ก ไมควรใหผูปกครองสามารถเขาไปรับเด็กไดถึงในหองเรียนเพื่อปองกันมิใหบุคคลอื่นเขาถึงตัวเด็กและกออันตรายกับเด็กได ประการสำคัญควรจะดูวา ระบบการดูแลบุคลากรของ ผูบริหารโรงเรียนมีความใกลชิด แกไข หรือเปล่ียนแปลงไดหรือไมเมื่อเกิดปญหาข้ึน ครูทุกคนท่ีทำรายเด็กควรถูกไลออก เพิกถอนใบประกอบวิชาชีพ พรอมทั้งดำเนินคดีอาญา เพราะครูทุกคนจะตองเรียนรูเก่ียวกับการเรียนรูของเด็กไดอยางเหมาะสม เมื่อสงลูกเขาเรียนไปแลว ควรตองติดตามความเปนไปในชีวิตของลูกอยางใกลชิด พูดคุย สื่อสารกับลูก สอบถามถึงการใชชีวิตอยูในโรงเรียน การเลนกับเพ่ือน หรือกิจกรรมที่ทำในแตละวัน มีขอสังเกตท่ีผูปกครองจะตองใสใจมากเปนพิเศษ คือ หากลูกไมอยากไปโรงเรียน รองไหไมอยากไป ซึ่งไมนับรวมในชวงหน่ึงหรือสองสัปดาหแรกสำหรับเด็กเพ่ิงเขาเรียน

ใหม เพราะเปนเร่ืองของการปรับตัว แต

ควรสังเกตวาคุณครูหรือทางโรงเรียนมีวิธีการดูแลเด็กอยางไร หากเด็กไมอยากเขาเรียน เพราะการจัดการ

กับพฤติกรรมนี้ ไมใชเร่ืองยาก หากครูรูถึงพัฒนาการของเด็ก

เด็กทุกคนมีความอยากรูอยาก

เห็น อยากเลนสนุก หากครูรูจะใชวิธีการเบ่ียงเบน

ความสนใจ โนมนาวใจใหเด็กเห็นวาอยูโรงเรียนมีกิจกรรมสนุกๆ ใหทำมากมาย และอยูไมนาน ผูปกครองก็จะมารับกลับ ตรงจุดนี้ผูปกครองและครูควรรวมกันทำใหเด็กเกิดความเชื่อมั่นและไวใจวาอยูโรงเรียนแลวสนุก พอแมก็มารับกลับตรงเวลา แตโดยสวนมากเด็กไมอยากอยูโรงเรียน เพราะโรงเรียนมีการใชกฎระเบียบวินัยมาบังคับเด็กใหทำตาม ซึ่งจะทำใหเด็กเกิดความวิตกกังวลในเรื่องที่ตนขาดเสรีภาพ เพราะเด็กวัยน้ีมีความอดทนนอย หากตองใหทำอะไรนานๆ จะรูสึกอึดอัดไมมีอิสระ การที่พนหนึ่งหรือสองสัปดาหแรกแลวเด็กยังไมอยากไปโรงเรียน แสดงวามีความผิดปกติเกิดข้ึน เด็กบางคนเม่ือถึงเวลาไปโรงเรียนจะรูสึกหวาดกลัว หนาซีด ตัวสั่น มือเทาเย็น หรือรองไหอยางออนวอน หรือผูปกครองตองฉุดกระชาก ดึงอยางไรลูกก็ยังตัวแข็งไมยอมไปเรียน แสดงวาภายในโรงเรียนมีการใชความรุนแรงหรือมีการกระทำท่ีรายแรงเกิดข้ึนกับตัวเด็ก ผูปก-ครองตองคอยสังเกต ไมตองรอใหมีรองรอยบาดแผลตามตัวเด็ก หากมีการทำรายเด็กเกิดข้ึนจริง ผูปกครองควรแจงเร่ืองไปยังหนวยงานคุมครองเด็กพนักงานเจาหนาท่ี ตามพระราชบัญ-ญัติคุมครองเด็ก พ.ศ.2546 หรือแจงไปยังผูชำนาญพิเศษหรือหนวยงานที่ดูแลควบคุมมาตรฐานของสถานรับเลี้ยงเด็กหรือโรงเรียนน้ัน ไดแก หนวยงานของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ซึ่งกระ-ทรวงหรือหนวยงานท่ีรับผิดชอบตองเขาไปตรวจสอบ หากพบวาสถานที่ดังกลาวไมชอบดวยกฎหมายตองลงโทษทางอาญาใช

อำนาจของศาลส่ังหามดำเนินการและปดกิจการ...-

Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

57

ฉบับที่ 134 ปกษหลัง เดือนพฤษภาคม 2552

ดึงจุดเดนลูกสูสังคมจริงจัง - จริงใจ - จิตอาสาจริงจัง - จริงใจ - จิตอาสา

นายสรรพสิทธ์ิ คุมพประพันธ ผูอำนวยการมูลนิธิศูนยพิทักษสิทธิเด็กใหมองถึง คุณสมบัติดานดีของเด็กและเยาวชนท่ีผูใหญควรรู

ดานดีของเยาวชนท่ีสำคัญมาก คือมี “ความจริงจัง” และ “จริงใจ” ความจริงจังก็คือ เวลาทำอะไรจะทุมเทท้ังชีวิตจิตใจ ถาเห็นวาส่ิงท่ีทำมีคุณคา ถาเทียบกับผูใหญ ผูใหญจะทุมเทนอยกวา ฉะน้ันเยาวชนจะเปนวัยท่ีมีพลังในการสรางสรรคสูงถาเทียบกับคนในวัยอ่ืน

นี่เปนจุดดีของเด็กเยาวชน ถาทำใหเขาสนใจเร่ืองตางๆ เขาจะอุทิศตัวเองเต็มกำลัง ที่ผานมา มีเด็กและเยาวชนในไทยท่ีไปทำกิจกรรมชวยเหลือคนอื่น เชน ไปชวยเหลือผูสูงอายุที่ชวยเหลือตัวเองไมได หรือไปชวยเด็กเล็กๆ ในการเดินขามถนนโดยท่ีเขาอาจจะไมรูจักกันมากอนเลย

เคยมีเด็กเยาวชนไทยท่ีเคยไปชวยผูเสียหาย ไปชวยจับผูราย ปรากฏวาคนรายใชอาวุธทำรายเขา บางรายพิการ บางรายก็เสียชีวิต แตจะเห็นไดวาเขามีความจริงใจที่จะชวยผูอื่นโดยไมคำนึงถึงตัวเอง หรืออยางชวงเกิดสึนามิ มีนักศึกษาไปชวยสรางบาน ไปเปนอาสาสมัครชวยเหลือ ผูประสบเหตุที่รอกลับประเทศ เด็กก็ไปชวยเยอะทำใหคนตางชาติประทับใจ

2009 PTA

Art

icle

7

58

ดึงจุดเดนลูกสูสังคม จริงจัง – จริงใจ - จิตอาสา

ฉบับที่ 134 ปกษหลัง เดือนพฤษภาคม 2552

ประเทศไทยมากในชวงนั้น เพราะเขารูสึกวาคนไทยมีน้ำใจ โดยเฉพาะเด็กเยาวชนท่ีไปเปนอาสาสมัครก็ใหความชวยเหลือเต็มที่ สำหรับจุดออนของเยาวชนคือความออนเยาวตอโลกและความเปล่ียนแปลงทางรางกาย เด็กเยาวชนมักมองโลกเปนสองดานเทาน้ัน คือดานขาวและดานดำ ถูกกับผิดมักไมเห็นวามีการผสมผสานระหวางความดีกับความชั่ว ฉะน้ัน ถาคิดวาใครเปนคนชั่ว ก็อาจจะทำลายลางคนน้ันเลย โดยท่ีไมรูวาความดีความช่ัวรอยเปอรเซ็นตนั้นไมมีในคน หากแตปะปนกันไป คนท่ีวาดี บางดานอาจจะเปนคนท่ีไมดี นี่เปนจุดออนที่ทำใหเด็กเยาวชนถูกชักจูงไปในทางลบไดงาย เด็กเหลาน้ีก็ถูกใชเปนเคร่ืองมือในการทำลายลางเพราะความเช่ือถือที่ถูกฝงหัวมา สิ่งเหลาน้ีเปนจุดออนที่ผูใหญตองใหความสำคัญ และ เขาใจเด็กและเยาวชนเหลาน้ีใหมากข้ึน สวนความเปล่ียนแปลงของรางกาย เกิดจากการทำงานของฮอรโมนเพศ ทำใหรางกายเปล่ียนแปลง ไมวาจะเปนเร่ืองการมีประจำเดือนของเด็กผูหญิง ทำใหเกิดอารมณหงุดหงิด ปากคอแหง บางทีก็เกิดความเศราอยางไมมีสาเหตุ ชวงน้ีเปนชวงท่ีเขาตองปรับตัวคอนขางมาก ทั้งเร่ืองรางกายจิตใจ และสังคม ประเด็นหลักคือ เมื่อเยาวชนมีพลังเหลือเฟอโดยเฉพาะ

พลังเร่ืองเพศสัมพันธ เปนพลังท่ีเขมแข็งมากท่ีสุด จะเห็นไดวาเด็กที่อยูในวัยรุน บางทีก็มีความกาวราว ซึ่งเปนลักษณะของธรรม-ชาติ เพราะรางกายจะกระตุนตัวเองใหมีพลัง มีความแข็งแรง พลังของเด็กวัยรุนเหมือนไฟ มีท้ังคุณอนันต โทษมหันตอยูที่เราจะควบคุมหรือใชประโยชนจากมันไดไหม หรือถาอยูในชวงท่ีควบคุมไมได ก็อาจเกิดปญหารายๆ ได

มาถึงคำแนะนำสอนลูกอยางไรใหเปนเยาวชนคุณภาพประการแรก พอแม ผูปกครอง สังคมแวดลอม ควรทำใหเขารูจัก

การต้ังคำถาม วาสิ่งท่ีคนบอกใชหรือไมใช ถูกตองหรือเปลา เชน ละครท่ีมีความรุนแรง ฝายชายขมขืนฝายหญิงแลวกลับมาเปนสามีภรรยาคืนดีกันได มันจริงหรือเปลา มันเปนไปไดหรือไม

พอแมตองรูจักต้ังคำถามใหเด็กตอบ หรือเวลาท่ีเด็กถามอะไร พอแมอธิบายแลว เราก็ตั้งคำถามกลับวาหนูคิดอยางไร ฝกใหเขาแสดงความคิดเห็น เขาจะแสดงความคิดเห็นอยางไรก็แลวแต แตใหเขาคิด หรืออะไรบางอยางพอแมบอกวาดี ก็ควรจะใหเหตุผล

ดวยวาทำไมถึงดี ถาพอแมบอกวาทำอันน้ีดี เด็กก็บอกวาดี จะทำใหเด็กคิดไมเปน และเด็กเองก็จะไมมีทางเปนตัวของตัวเองได เด็กที่ไมเปนตัวของตัวเองจะถูกชักจูงไปในทางเสียหายไดงายเชน ตามไปฆาเด็กท่ีอยูตางโรงเรียนกันโดยไมมีความแคนระ-หวางกันมากอน แตทำไมเขาจึงทำ เพราะความรักพวกพองหรือถูกชักจูงโดยใครบางคน ฉะนั้นการฝกใหเขาคิดดวยการตั้งคำถามนี้สำคัญมาก เชน ใหลูกต้ังคำถามวาการที่ลูกตามแฟช่ันเขาจะไดประโยชนอะไรบาง ไดการยอมรับหรือมีวิธีการอื่นไหมท่ีทำใหคนยอมรับโดยท่ีไมตองไปตามแฟชั่น เพราะการนำหรือตามแฟช่ันอาจกอใหเกิดปญหามาก ท้ังทะเลาะกับพอแมครูอาจารย จะคุมคาไหมกับการไดรับการยอมรับ และการยอมรับนี้จริงไหม หรือไดรับการยอมรับเฉพาะคนบางกลุม น่ีเปนสิ่งท่ีเขาตองรูสึก ตองต้ังคำถาม แตเด็กสวนมากของเราไมไดถูกสอนใหตั้งคำถามประการที่สอง พอแมผูปกครองตองชักจูงเขาไปทำกิจกรรมอา-สาสมัครบำเพ็ญประโยชน ตองฝกใหเขารูจักชวยเหลือเอื้อเฟ้อคนอื่นต้ังแตในบาน แตตองไมบังคับ ที่สำคัญพอแมควรทำเปนแบบอยาง ประโยชนของการทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน คือจะทำใหเด็กเยาวชนหมกมุนกับตัวเองนอยลง ทำใหเขาเห็นแกตัวนอยลงและเห็นแกคนอื่นมากข้ึน

เด็กเยาวชนท่ีไมเคยทำกิจกรรมอาสาสมัคร จะมีลัก-ษณะเห็นแกตัว ย่ิงคนท่ีไมเคยทำอะไรใหใครเลยจะ เห็นแกตัวมาก

คนเหลาน้ีถาผิดหวังจากความรักจะมี 2 ลักษณะ ถาผิดหวังกับคนรักก็ตามไปฆาคนรัก อีกพวกหน่ึงก็จะฆาตัวตาย เราจึงควรปลูกฝงใหเด็กเยาวชนทำกิจกรรมอาสาสมัครคืออยาไปสอนเขาวาจงทำดี มีศีลธรรม ถือความสัตย เพราะไมไดผล ควรทำตัวเปนแบบอยางกอนและเปดโอกาสกระตุนใหเขาไปทำอะไรเพ่ือผูอื่น เด็กท่ีทำอะไรเพ่ือผูอื่นจะมีพ้ืนฐาน จิตใจดี

มีศีลธรรมอยูในตัวของเขาเอง เพราะเขาคิดถึงคนอื่นเขาก็จะปฏิบัติศีล 5 ไดโดยธรรมชาติ หากเขาคิดหรือทำอะไรก็ตาม จะคิดถึงผลกระทบท่ีมีตอคนอื่น เพราะวาการไปบำเพ็ญประโยชน ทำใหไดรับการยอมรับจากคนแวดลอมที่ไดรับประโยชนและการยอมรับนี้ทำใหเขามี

ความสุข เขาจะมีความภูมิใจ มีความรูสึกวาตัวเองมีคุณคา เปนท่ียอมรับ เปนท่ีรักใครของคนอื่น ไปท่ีไหนมีแตคนตอนรับ เขาจะมีแรงกระตุนใหตัวเองทำเพ่ือผูอื่นมากข้ึน ในท่ีสุดเขาก็จะ

เติบโตไปเปนผูใหญที่ดีและมีคุณคาในอนาคต ..-

รหัสมหัศจรรย ป้นลูกนอยอัจฉริยะ

Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

59

ฉบับที่ 136 ปกษหลัง เดือนมิถุนายน 2552

ทั้งสองทานกลาววา ในชวง 1,365 วันแรกหรือ 3 ขวบปแรก ถือเปนโอกาสเดียวของชีวิตท่ีสมองของลูกนอยจะมีพัฒ-นาการสูงสุด จึงเปนโอกาสเดียวท่ีจะชวยเสริมสราง ศักยภาพสมองอยางเต็มระบบดวย Smart Nutrition คุณคาอาหารเพ่ือการ

พัฒนาสมองและกระตุนจากส่ิงแวดลอม ไดแก Smart Sym-phonies เสียงดนตรี สื่อดีๆ เพ่ิมไอคิว Smart Play เลนดี สมองดีมีศักยภาพ และ Smart Language พูดคุยส่ือภาษา พัฒนาการ

เรียนรู “สมองของเด็กในชวงเวลา 1,365 วันแรก หรือ 3 ขวบปแรก ถือเปนนาทีทองของการพัฒนาสมอง ตนทุนสมองของลูกไดมาจากพอแมคือ DHA หรือพันธุกรรม เมื่อไดตนทุนท่ีดีมาแลวตองทำใหดีย่ิงข้ึน เพราะเด็กทุกคนเกิดมาพรอมที่จะพัฒนาเปน

อัจฉริยะ ปกัสโซกลาวไววาเด็กทุกคนพรอมที่จะเปนศิลปนได

ขึ้นอยูกับสิ่งแวดลอมและการเล้ียงดูที่ดีของพอแม” ผูเชี่ยวชาญกลาวตอวา พอแมตอยอดพัฒนาใหลูกนอยเปนอัจฉริยะในอนาคตได เริ่มต้ังแตลูกนอยอยูในครรภคุณแมควรกินอาหารท่ีมีคุณคาทางโภชนาการ เพราะ

ลูกตองการสารอาหารไปสรางเซลลสมอง เพราะสมองถือเปนแมทัพของการควบคุม การงานของรางกาย พอแมตองสรางวินัยการกินใหกับลูก โดยเฉพาะเด็กใน

ชวงวัย 1 - 3 ขวบ เปนวัยท่ีพอแมสรางนิสัยท่ีดีในการรับประทานอาหารใหลูกได เชน ฝกใหลูกกินผักตางๆ ดวยการเร่ิมตนกินผักใหดูเปนแบบอยาง จากน้ันคอยๆ ฝกใหเขาหัดกินผักดวยการผสมในอาหารท่ีเขาชอบทีละนอยๆ ที่สำคัญตองไมเขมงวดและไมควรจุกจิก ตองคอยๆ บอกและสอนระหวางรับประทานอาหาร อาจเลานิทานไปดวย

สรุปความจากการเสวนา “รหัสมหัศจรรย ป้นลูกนอยอัจฉริยะ” โดย ดร.ดนีญา อุทัยสุข อาจารยประจำสาขาวิชาดนตรีศึกษาคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และวิทยากรผูเชี่ยวชาญรวมเสวนาใหความรูในครั้งน้ี ประกอบดวย พญ.ชนิกา ตูจินดาที่ปรึก-

ษาคณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล และอาจารยธิดา พิทักษสินสุข อาจารยใหญโรงเรียนสาธิตพัฒนา โดยมี เตย วินรัตน ศันสนเกียรติเปนพิธีกร

2009 PTA

Art

icle

7

60

รหัสมหัศจรรย ป้นลูกนอยอัจฉริยะฉบับที่ 136 ปกษหลัง เดือนมิถุนายน 2552

หรือถาลูกกินผักไดตองชื่นชมเขา เพ่ือที่เขาจะไดรูสึกภูมิใจและอยากกินผักตอไปเรื่อยๆ เพราะเด็กในวัยน้ีเปลี่ยนแปลงนิสัยการกินได แตตองฝกใหลูกติดจนเปนนิสัย ประการที่สอง การพักผอนนอนหลับที่เพียงพอ การนอนท่ีดีคือการนอนหลับสนิท เพราะจะทำใหเซลลสมองของลูกนอยเจริญเติบโตเต็มท่ี พอแมที่อยากใหลูกนอยฉลาดไมควรใหลูกนอนดึก และระหวางท่ีลูกนอนหลับไมควรใหลูกตองต่ืนมาบอยๆ เพราะถาลูกตื่นเปนระยะฮอรโมนจะหล่ังออกมาไมดี ควรใหลูกหลับใหสนิทนานเพราะการนอนหลับเพียง 90 นาที พบวา Growth Hormone ซึ่งเปนฮอรโมนท่ีชวยใหลูกเติบโตและชวยเพ่ิมเซลลสมองหลั่งออกมามาก ประการที่สาม ตองใหลูกด่ืมน้ำเยอะๆ เพราะสัดสวนของรางกายรอยละ 70 คือ น้ำ สมองลอยอยูในน้ำหลอเลี้ยงดวยน้ำ ประการที่สุดทาย การออกกำลังกาย ตองพยา-ยามใหลูกเคล่ือนไหวรางกาย เพราะนอกจากจะทำใหลูกพัฒนากลามเนื้อมัดตางๆ แลว สมองจะพัฒนาตามไปดวย สิ่งสุดทายท่ีสำคัญท่ีสุดคือ ตัวพอแม เพราะเปนเสมือนกระจกเงาของลูก พฤติกรรมตางๆ ที่เด็กๆ ลอกเลียนแบบจดจำเรียนรูลวนมาจากพอแม ถาอยากรูวาลูกเปนอยางไรใหมองที่ตัว-เอง ถาตองการใหลูกจดจำ และเรียนรูสิ่งดีๆ คุณพอคุณแมตอง

เปนเซลลกระจกเงา ที่ดี เล้ียงลูกดวยความออนโยน เขาก็จะมีจติใจที่ออนโยนดวยเชนกัน นอกจากเร่ืองโภชนาการท่ีดี คุณหมอชนิกาและ

อาจารยธิดายังเสริมถึงกลวิธีที่จะสรางลูกนอยในชวงมหัศจรรยแหงพัฒนาการของสมองลูกนอยใหมีความสามารถทางดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญาดวยเสียงดนตรี (Smart

Symphonies) ลูกนอยจะไดยินเสียงต้ังแตอยูในทองได 5 เดือน หากคุณแมรองเพลงใหลูกฟงตั้งแตอยูในทอง เขาจะคุนเคยกับเสียงเพลงท่ีไดฟง พอเขางอแงรองไหเม่ือเขาไดยินเสียงดนตรีที่

คุนเคยเขาจะหยุดและย้ิม จะเห็นวาลูกมีความมหัศจรรยมากกับการเรียนรู ลูกเรียนรูไดเร็ว สังเกตไดดี พอแมตองอยูใกลชิดกับลูก ผลวิจัย ชี้ชัดวาการที่ใหเด็กฟงดนตรีโดยเฉพาะดนตรีซิม-โฟน่ี จะทำใหสมองของเด็กจดจำและทำขอสอบไดดีกวา

เด็กท่ีฟงดนตรีร็อก ดนตรีจึงชวยสรางสุนทรียได พอแมควรสงเสริมใหลูกรักในเสียงดนตรี คุณพอคุณแมควรเปนนักดนตรีและรองเพลงกับลูกๆ ได เปนการเช่ือมโยงความ

สัมพันธที่ดีภายในครอบครัวอีกดวย การเลนก็สำคัญ (Smart Play) วากันวาจินตนาการสำคัญย่ิงกวาความรู การเลนจะทำใหเด็กเกิดจินตนาการเด็กๆ ท่ีไดเลนอยางมีความสุขจะทำใหการเรียนรูมีประ-สิทธิภาพ พอแมตองเขาใจกอนวาบทบาทในชีวิตประจำวันของ

เด็กๆ คือ การเลน เชนเดียวกับบทบาทหน่ึงในชีวิตประจำวันของพอแมคือการทำงาน การเลนท่ีมีความสุขไมจำเปนตองเลนของเลนท่ีมีราคาแพง เด็กๆ จะมีความสุขจากการเลนเม่ือเวลาท่ีมีเพ่ือนเลน และเพ่ือนเลนท่ีดีที่สุดคือพอแม ควรจะแบงเวลามาเลนกับลูก เด็กๆ เรียนรูไดทุกเร่ือง เพียงรูวิธีที่จะสอน และควรทำทุกเรื่องที่สอนใหเปนเรื่องสนุกเพราะเด็กจะเรียนรูผานการเลน ดังน้ัน อยาเล้ียงลูกดวยทีวี โดยเฉพาะเด็กท่ีมีอายุต่ำกวา 2 ขวบไมควรใหเด็กดูทีวีเลย เน่ืองจากเด็กท่ีนั่งอยูกับทีวีนานๆ จะทำใหเขาไมไดเคล่ือนไหวรางกาย กลามเน้ือออนแรง มีพฤติกรรมเฉื่อยชา เพราะเวลาเด็กดูทีวีจะเหมือนถูกสะกดจิต หรือเปลี่ยน พฤติ-กรรมเปนเด็กไฮเปอร สมาธิสั้น ทีวียังเปนสาเหตุที่ทำใหเด็กสายตาผิดปกติ สำหรับรหัสอัจฉริยะตัวสุดทาย คือ Smart Lang-uage ปกติเด็กจะเริ่มสงเสียง เมื่ออายุ 7 - 8 เดือน พออายุ 1 ขวบ จะเริ่มพูด ย่ิงพอเด็กเร่ิมหัดเดินเม่ืออายุ 2 - 3 ขวบเขาจะยิ่งพูดไดมากข้ึน คุณพอคุณแมควรพูดกับลูกบอยๆ

เพราะจะทำใหลูกมีไอคิวที่ดี คำพูดของลูกจะแสดงถึงศักย-ภาพสมองของลูกอยางชัดเจน

นอกจากภาษาพูดแลว พอแมตองไวกับการทำความเขาใจเรียนรูภาษาอ่ืนๆ ที่ไมใชภาษาพูด นั่นคือ ภาษาทาทาง ของลูก

เพราะเปนเร่ืองสำคัญท่ีสุดของการส่ือสาร พอแมตองชางสังเกตพฤติกรรมของลูก การพูดคุย กอด จับมือ พยักหนา สัมผัส จะทำใหลูกเขาใจสิ่งท่ีพอแมสื่อสาร ขณะเดียวกันพอแมเองก็เขาใจอารมณและความรูสึกของลูกดวย ตองฝกพูดถึงความรูสึกที่จะทำใหเกิดการสื่อสาร

กันในเชิงหมูภายใน ครอบครัว ถาทำความเขาใจกันได ท้ังภาษาพูดและภาษากายจะลดปญหาการทะเลาะ การปะทะความไมเขาใจกันท่ีจะเกิดขึ้นไดเมื่อเขาโตขึ้น...-

Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

61

ฉบับที่ 137 ปกษแรก เดือนกรกฎาคม 2552

ฝกฝกลูกรักลูกรักทำไมตองฝกใหลูกรูจักชวยเหลือตัวเอง เมื่อไมนานมานี้ผมไดพบวัยรุน อายุ 17 ป ที่ขัดแยงรุนแรงกับคุณแมเหตุเพราะคุณแมสั่งใหเก็บขาวของหนังสือในหองนอนตัวเองแลวไมยอมทำ เสื้อ กางเกง ถุงเทา ผาเช็ดตัว ถอดตรงไหนก็วางตรงนั้น แมก็บน ดุวา

ใหรูจักชวยเหลือตัวเองชวยเหลือตัวเอง แมโกรธมากๆ เขาก็เผลอใชคำหยาบ บางทีก็ตีไป ลูกเปนวัยรุนแลว ก็ย่ิงตอตานดวยความรุนแรงข้ึนเร่ือยๆ นั่นก็เพราะต้ังแตเด็กคุณแมไมเคยฝกใหลูกรูจักชวยเหลือตัวเองเลย เรายังพบเห็นเด็กซึ่งพอแมหรือพ่ีเล้ียงยังตองปอนขาวอยูบอยๆ ผมพบเห็นเด็กอายุมากข้ึนเร่ือยๆ เคยพบเด็กคนหน่ึงอาย 10 ปแลว พ่ีเล้ียงยังตองปอนขาวให ทั้งๆ ที่จริงแลว ตามพัฒนาการน้ันเด็กสามารถใชมือตักขาวกินเองไดตั้งแตอายุ 1 - 1 ปครึ่ง บางคนถามวาทำไมตองฝกใหลูกทำอะไรดวยตัวเอง เชน กินขาวเอง อาบน้ำแตงตัวเอง ก็มีคนงานพ่ีเล้ียงอยูแลว มิเชนน้ัน จะจางเขามาทำไมกัน คำตอบคือการฝกใหลูกรูจักชวยเหลือตัวเองยอมมีประโยชนและผลดี ก็คือมันเปนสวนหน่ึงของการสอนลูกใหรูเร่ืองกฎเกณฑ ระเบียบวินัยน่ันเอง นอกจากน้ียังมีประโยชนอื่นๆ ดังตอไปนี้ ไดฝกทักษะกลามเนื้อมือการฝกใหลูกรูจักชวยเหลือตนเอง เชน การกลัดกระดุม ผูกเชือกรองเทา เปนการฝกทักษะการทำงานประสานกันของกลามเน้ือและสายตา แลวเปนท่ีนายินดีวาปจจุบันน้ีโรงเรียนตางๆ หันมาใหความ-สำคัญตอทักษะในการชวยเหลือตนเองมากข้ึน เชน การสอบ

เขาชั้นประถมบางโรงเรียนเริ่มใหสอบผูกเชือกรองเทา โดยมีการวัดผลที่เปนระบบ เด็กท่ีไมเคยฝกการชวยเหลือตนเองยอมทำคะแนนไดต่ำกวา เรียนรูการแกปญหาการฝกเด็กใหรูจักชวยเหลือตัวเองจะชวยพัฒนาทักษะในการแกไขปญหา เชน เด็กท่ีตองจัดเตรียมอุปกรณการเรียนและเสื้อผา

ชุดนักเรียนไปโรงเรียนเอง เมื่อเกิดปญหา เชน หาไมบรรทัด หรือหาเข็มขัดลูกเสือไมเจอ จะทำอยางไร เด็กจะเรียนรูการ

ขอความชวยเหลือจากผูใหญ เรียนรู

ขอขอบคุณ น.พ.กมล แสงทองศรีกมล กุมารแพทย จิตแพทยเด็กและวัยรุน โรงพยาบาลกรุงเทพ ผูแตง

2009 PTA

Art

icle

7

62

ฝกลูกรักใหรูจักชวยเหลือตัวเองฉบับที่ 137 ปกษแรก เดือนกรกฎาคม 2552

การวางแผนลวงหนาเพื่อวางของใหคนหางายจะไดไมเกิดปญหาในครั้งตอๆ ไป ซึ่งตางจากเด็กท่ีมีคนหาอุปกรณการเรียน เส้ือผา เตรียมไวใหหมด ทุกอยาง อาจไมเคยพบปญหาเลยหรือเมื่อเกิดปญหาก็ไมตองเรียนรูอะไร เพราะมีคนคอยแกไขใหหมดแลว ฝกความรับผิดชอบ

ตัวอยางจริงของเด็กอายุ 3 ขวบสองคน ซึ่งไดรับการอบรมเล้ียงดูท่ีตางกัน เด็กคนแรกอยูท่ีบานพอแมสอนใหรูจักกฎเกณฑ ระเบียบ วินัย ฝกใหลูกรูจักชวยเหลือตนเองตามวัย รูจักใสเส้ือผาเอง อาบน้ำเอง กินขาวเอง เก็บของเลนเองตรงกันขามกับเด็กอีกคนหน่ึงท่ีบานทุกคนตามใจหมด อยากไดอะไรตองได ทุกคนตองยอมตาม พอแมไมเคยฝกใหชวยเหลือตัวเอง อาจ 3 ขวบแลวยังตองปอนขาวให แคพูดวา “จะกินน้ำ” น้ำก็มา (คือมีคนรีบเอาแกวน้ำมาให) ไมเคยอาบน้ำ แตงตัวเอง

ทั้งๆ ที่จริงทำได เวลาแตงตัวเพียงแคยกแขน ยกขา ทุกอยางก็เสร็จเรียบรอย

เด็กสองคนนี้ทันทีที ่เขาโรงเรียนอนุบาลวันแรกก็แตกตางกันอยางเห็นไดชัด ตัวอยางงายๆ เชน หลังตื่นนอนกลางวันท่ีโรง-เรียนเด็กคนแรกลูกข้ึนมา ก็พับเก็บผาหม หมอน และท่ีนอน โดยคุณครูไมตองบอก เพราะท่ีบานเขาทำเปนเร่ืองปกติอยูแลว เมื่อพับเก็บของตัวเองเสร็จเรียบรอยแลว ยังมีเวลาเหลือพอไปชวยพับเก็บของเพ่ือนอีก คุณครูเห็นวารับผิดชอบดีแบบนี้ก็อดชม

เสียไมไดเด็กคนน้ีเมื่อไดรับคำชมก็เกิดความภาคภูมิใจในตัวเอง (Self es-teem) ซ่ึงมีคามากตอเด็ก ก็จะมีพฤติกรรมดีตอเน่ืองและมากข้ึนเร่ือยๆ เมื่อหันมามองเด็กอีกคนท่ีพอแมไมไดฝกอบรมมา ทานผูอานคงเดาภาพออกวาจะแตกตางกันอยางไรเขาไมเก็บ ไมทำ

อะไรท้ังสิ้น เพราะท่ีบานมีคนทำใหตลอด (ทำไมตองทำเอง) เด็กที่ฝกการชวยเหลือตนเองมาดี เมื่อเติบโตข้ึนก็ยอมจะมีความรับ-ผิดชอบตอตนเองและรับผิดชอบตอหนาท่ีดี

พรอมรับการเรียนรูไดดีกวาคุณพอคุณแมลองสังเกตดูเด็กที่ไดรับการฝกชวยเหลือตนเองมาดี เวลาจะฝก จะสอนอะไร เชน ฝกเขียน อาน สอนวายน้ำ ก็มักจะพรอมรับการเรียนรูไดดีกวา ซึ่งจะตรงกันขามกับเด็กท่ีไมไดรับการฝกชวยเหลือตนเอง มักจะทำเฉพาะท่ีตัวเองอยากทำ คอน-ขางเอาแตใจตัวเอง ถาไมอยากทำก็ไมทำ ไมอยากเรียนก็ไมเรียน(มีอะไรไหม) จึงไมคอยมีความพรอมในการรับการเรียนรูสิ่งใหมๆ จากพอแมและคุณครู ลูกแตละวัยควรฝกอะไรดีการฝกใหลูกรูจักชวยเหลือตนเองตองดูพัฒนาการตามวัยของเด็ก ลูกนอยอายุ 1 - 2 ขวบ ควรฝกงายๆ เชน ใหจับชอนกินขาวเอง หกบาง ตกบางก็ไมเปนไร เดินเองไมควรอุมโดยไมจำเปน เร่ิมฝกถอดรองเทาแตะงายๆ ชวยเก็บของเลนละตระเกราลูกวัยอนุบาล ควรคอยๆ เร่ิมจากการถอดเส้ือ กางเกง ถุงเทา รองเทา (เพราะการถอดงายกวาการใส) แลวก็เร่ิมหัดใสเส้ือผาเชน เส้ือยืดคอกลม ซึ่งตามพัฒนาการ เด็กจะเร่ิมทำไดเมื่ออายุประมาณ 3 ป แนะนำใหคุณพอคุณแมเร่ิมฝกลูกโดยทำเปนข้ันเปนตอน เชน การใสเส้ือยืดคอกลม แบงเปนข้ันตอนยอยๆ ดังน้ี ตอนแรกใหใสใหเขาเกือบหมด เหลือขั้นสุดทายใหเขาเชนใหดึงชายเส้ือลงเอง จากน้ันคอยๆ ถอนการชวยเหลือออก โดยเอาเส้ือสวมหัวใหแลวใหเขาเอาแขนสอดเขาไปในชองแขนเส้ือเอง ขั้นตอไปก็ใหหัดจับพับเสื้อแลวสวมหัวเอง สุดทายก็หัดใหลูกดูเส้ือยืดวาหนา - หลัง เปนอยางไร แลวสุดทายก็ทำไดเองหมดทุกข้ันตอน

ทำแบบน้ีลูกจะไมเครียด แลวยังสนุกและภูมิใจที่ไดทำอะไรดวยตัวเองอีกดวย ฝกอาบน้ำเองโดยใหเขาทำเองกอน ตรงไหนไม

สะอาดหรือทำยังไมสะดวก (เชน ลางกน สระผม) พอแมคอยตามเก็บทำใหตอนสุดทาย ตอไปก็ฝกแตงตัวเอง กลัดกระดุม ผูกเชือกรองเทาเองโตข้ึนมาหนอยก็ฝกใหพับเก็บผาหม หมอน และท่ีนอน ฝกใหเก็บ

ของเลน เก็บเสื้อผาท่ีใชแลวลงตระกรา กินขาวแลวก็ควรฝกใหชวยเก็บจาน ถวยน้ำไปวางท่ีซิงคน้ำ อาจชวยเข่ียเศษอาหารลงถังขยะ ยังไมตองลางเองก็ได เด๋ียวจานชามจะตกแตก ใหคนงานที่บานหรือคุณพอคุณแมลางตอไป วัยอนุบาลนี้จะเปนรากฐานของการฝกการชวยเหลือตนเองในวัยตอๆ ไป

ลูกวัยประถม ควรใหรับผิดชอบมากขึ้น เชนเตรียมเส้ือผา ชุดนักเรียนไปโรงเรียนเอง จัดเตรียมอุปกรณการเรียน สมุด หนังสือเอง ตามตารางสอนหรือตามที่คุณครูสั่ง ซักเส้ือผาบางชิ้นท่ีเปน

สวนตัว เชน ชุดวายน้ำ เด็กประถมปลายบางคนอาจเร่ิมฝกให ซักกางเกงใน ถุงเทาเอง อาจใหชวยงานบาน ลางจาน

Articleสารสื่อสัมพันธ BCC ฉบับที่ 124 - 138

Amazing Grace

Amazing Grace, how sweet the sound,That saved a wretch like me....

I once was lost but now am found,Was blind, but now, I see

T’was Grace that taught...my heart to fear.

And Grace, my fears relieved.How precious did that Grace appear...

the hour I fi rst believed.

The Lord has promised good to me...His word my hope secures.

He will my shield and portion be...as long as life endures.

01

Art

icle

7

63

ลูกวัยรุน ควรใหรับผิดชอบมากข้ึน ถาฝกมาดีตลอด เขาก็จะชวยเหลือตัวเองไดดีในทุกเร่ืองที่กลาวมาแลว ที่เพ่ิมเติมก็คือวัยรุนมักเร่ิมมีหองนอนสวนตัวแลว ก็ฝกดูแลหองนอนของตัวเอง จัดหองเอง เก็บหนังสือใหเรียบรอย ชวยทำความสะอาดบาน

เมื่อคุณพอคุณแมตองการใหลูกฝกชวยเหลือตนเองอาจใชการปรับพฤติกรรมเด็กดวยการใหคำชมหรือรางวัลผานใบดาว (Star charts) ซึ่งเปนการใหรางวัลอยางเปนระบบ เชนตกลงกับลูกวามีพฤติกรรมดีอะไรบางท่ีพอแมตองการเชน เดินเองไมตองอุม กินขาวเองไมตองปอน ใสเส้ือผาเองหรือเก็บของเลนเอง โดยข้ันแรกเลือกเพียง 1 - 2 พฤติกรรมที่สำคัญๆ กอน วันไหนลูกยอมชวยเหลือตนเองพอแมควรรีบชม และแสดงความต่ืนเตน ดีใจ และใหดาว โดยอาจใหเด็กระบายสีหรือติดสติ๊กเกอรที่แผนใบดาวตามวัน พรอมกับคำพูดชม เชน“เกงมาก แมดีใจมาก พรุงน้ีเอาดาวอีกนะ” ถาวันไหนไมยอมชวยเหลือตนเองก็ไมดุวา แตอาจพูดวา “เสียดายนะท่ีวันน้ีหนูไมไดดาว พรุงน้ีลองใหมนะ” ตกลงกับลูกวาถาได 2 ดาวใน 1 สัปดาหเสาร - อาทิตยอยากไดอะไร พอแมจะใหเปนรางวัล โดยใหเด็กเลือกเอง เชน ของเลน ของกินท่ีชอบ ใหพาไปเท่ียว ฯลฯ พอสัปดาหแรกทำได สัปดาหตอไปเราก็เพ่ิมเปน 3 ดาว หรือ 5 ดาว จนกระท่ังลูกมีพฤติกรรมดีเกิดขึ้น คือ ชวยเหลือตนเองไดทุกวัน ใบดาวจะไดผลดีมากโดยเฉพาะในเด็กอนุบาล แตมีเง่ือนไขวาพอ

แมจะตองใหความสนใจกับพฤติกรรมและใบดาวมากๆ เชน กลับมาถึงบานตอนเย็นก็ใหรีบทักถามเร่ืองใบดาวกอนอื่น เชน “เอ..วันน้ีลูกไดดาวรึเปลาคะ ไหนขอดูหนอย” เด็กจะรูสึกวาพฤติกรรมนี้พอแมใหความสำคัญและมีความหมายกับเขามาก ตอไปเมื่อชวยเหลือตนเองดีขึ้นแลว ก็คอยๆ เปลี่ยนจากของรางวัลเปนคำชมแทน และอาจไปทำใบดาวกับพฤติกรรมอื่นๆ ที่ตองการตอไป อยาลืมที่จะชมทุกคร้ังและทุกวันท่ีลูกมีพฤติกรรมดี

ปญหาไมไดอยูแควันน้ี เร่ืองของการฝกใหลูกรูจักชวยเหลือตัวเอง มีผลตอ-เน่ืองเมื่อลูกโตข้ึน เชน ถาวันน้ีเราไมฝกใหเขาเก็บของเลนเอง พับผาหมเอง วันหนาเม่ือเขาโตเปนวัยรุน พอแมก็จะตองมาชวยเก็บทุกส่ิง ทุกอยางในหองสวนตัวเขา ซึ่งจะรกมาก เชน ตองคอยจัดท่ีนอน พับผาหม เก็บกองหนังสือใหเขาตลอดไป ผมเชื่อวาคุณพอคุณแมคงเห็นดวยกับหลักการและเหตุผลของการฝกใหลูกรูจักชวยเหลือตนเอง เมื่อเห็นประโยชนและผลดีมากมายท่ีจะเกิดมีกับลูกแบบน้ีแลว เรามาฝกใหลูกรูจัก ชวยเหลือตนเองกันต้ังแตวันน้ีกันเถิด...-

วิธีการฝก

ฉบับที่ 138 ปกษหลัง เดือนกรกฎาคม 2552

โรคเซ็งเรื้อรัง...คุณเปนหรือเปลา

โดยเปนท่ีรูกันวา คำวา “เซ็ง” กินขอบเขตไปถึงเรื่องอะไรบาง แตในความหมายของโรคเซ็งเรื้องรังที่มีการพูดถึงมากในวงการแพทยขณะนี้คือกลุมอาการเหนื่อยลาเร้ือรัง หรือ Chronic Fatigue Syndrome (CFS) ซึ่งผูเขียนอยากเรียกวาเปน โรคเซ็งเรื้อรัง เพื่อใหเขากับยุคสมัย

ขอขอบคุณท่ีมา : เขียนโดย นายแพทยหมอมหลวงสมชาย จักรพันธุ

2009 PTA

Art

icle

7

64

โรคเซ็งเรื้อรัง...คุณเปนหรือเปลาฉบับที่ 138 ปกษหลัง เดือนกรกฎาคม 2552

พวกเราคงเคยมีความรูสึกเซ็งๆ หรือเบ่ือหนาย ออน-เพลีย ไมอยากลุกไปทำงานหรือกิจวัตรประจำวัน เม่ือคิดวาตองไปพบกับอะไรกันมาบางแลว แตอาการเซ็งของเราจะเปน ๆ หาย ๆตามสภาวะแวดลอมไมเปนอยูนานนัก แตผูที่ปวยดวยกลุมอาการที่วานี้จะมีอาการออนเพลียและเหนื่อยออนอยูเปนระยะเวลานานอาจเปนเดือน หลายเดือนหรือเปนป ภายหลังจากท่ีตองพบกับภาวะเครียดอยางรุนแรง หรือภายหลังการเจ็บปวย เชน ไขหวัดใหญ ทองเดินอยางแรง เปนตน อาการออนเปลี้ยเพลียแรงของคนปกติมักจะหายไปภายหลังการไดพัก นอนหลับใหเต็มที่สัก 2-3 วัน แตผูที่เปนโรคเซ็งเร้ือรัง ไมวาจะพักผอนขนาดไหน หรือบำรุงรางกายมากเพียงใด ก็ยังมีอาการออนเพลียอยางมากอยู โดยท่ีไมสามารถตรวจพบความผิดปกติได โรคเซ็งเร้ือรัง หรือ CFS นี้ ไดมีผูรายงานในช่ือของอาการอื่นมานานกวา 1 ศตวรรษ ในปค.ศ. 1860 นายแพทยจอรจ เบียรด (Dr. George Beard) เรียกช่ือกลุมโรคนี้วา Neurasthenia (ซึ่งอาจจะยังมีการวินิจฉัยอยูจนถึงปจจุบัน) โดยเช่ือวาเปนโรคประสาทชนิดหนึ่งที ่มีอาการออนเปลี ้ยเหนื ่อยงายโดยไมพบสาเหตุ แพทยอีกหลายคนจะวินิจฉัยผูมีอาการเหลาน้ีวาเปนโรคโลหิตจางบาง หรือน้ำตาลในเลือดต่ำ บางคร้ังเลยไปถึงคิดวาเปนโรคเช้ือรา แคนดิดา ทั้งตัวก็มี พอวิวัฒนาการทางการแพทยเจริญข้ึน ในกลางทศวรรษที่ 1980 โรคน้ีถูกขนานนามวาเปน “Chronic EBV” โดยเช่ือวาเปนกลุมอาการท่ีเกิดจากเช้ือไวรัสเอ็บสไตน บาร (Epstein-Barr) แตในปจจุบันทฤษฎีนี้ยังไมเปนท่ียอมรับมากนัก เพราะเราสา-มารถตรวจพบระดับแอนตี้บอดี้ของไวรัสอีบีวี ที่เพ่ิมขึ้นท้ังในผูมีอาการและคนปกติ และในทางกลับกันผูที่มีอาการกลับไมพบ

ระดับของไวรัสอีบีวี แอนตี้บอดี้ หรือไมเคยติดเชื้อไวรัสอีบีวีเลย

ผูที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคเซ็งเร้ือรัง มักจะมีอาการอยางรวดเร็ว เร่ิมตนโดยอาการปวดศีรษะ เจ็บบริเวณตอมน้ำเหลือง ปวดตามขอและกลามเน้ือ ออนเพลีย และขาดสมาธิ เปน

อาการท่ีคลายกับไขหวัดใหญแตคงจะอยูนานกวา สวนใหญจะมีอาการภายหลังการเจ็บปวยดวยโรคทางกาย เชน ไขหวัด หลอดลมอักเสบ ตับอักเสบ บางรายอาจเกิดขึ้นหลังจากมีอาการของโมโนนิวคลีโอสิส (Mononucleosis) หรือโรคจูบ (Kissing disease) ซึ่งเปนโรคที่ทำใหพละกำลังของวัยรุนถดถอยลงไปชั่วระยะหนึ่ง

ในบางราย อาการจะคอยเปนคอยไปโดยไมมีสาเหตุชัดเจน ผูปวยบางรายบอกวา เร่ิมมีอาการหลังจากพบกับความเครียดมาก ๆ

นาแปลกท่ีวา โรคเซ็งเร้ือรังหรือ CFS นี้จะพบในผูหญิงมากกวาผูชาย 2-4 เทา ซึ่งอาจจะเปนเพราะความแตกตางในเร่ืองเพศ ที่พบโรคบางชนิดในเพศหญิง เชน ลูปส (Lupus) หรือ Mul-tiple sclerosis หรืออาจเปนเพราะผูหญิงมักจะไปพบแพทยดวยอาการออนเพลียมากกวาเพศชาย แตอยางไรก็ตามแพทยทั่วไปยังคิดถึงโรคนี้นอยกวาที่ควร เน่ืองจากการวินิจฉัยคอนขางยากเพราะมีอาการท่ีอาจเปนไดหลายโรค แพทยตองวินิจฉัยแยกโรคทางกาย ที่มีอาการออน-เพลียคลายๆ กันไปกอน เชน Lupus หรือ Multiple sclerosisและในการติดตามดูแลผูปวยแตละครั้ง ก็ใหนึกถึงโรคท่ีมีระยะเวลาการดำเนินโรคนาน ๆ ไวเสมอ ไดมีการประชุมผูเชี่ยวชาญ เพ่ือหาขอบงชี้ในการวินิจ-ฉัยใหชัดเจนแตก็ยังตองมีการปรับเปลี่ยนอยูเสมอ ผูเชี่ยวชาญไดใหความเห็นวา โรคเซ็งเร้ือรังอาจจะเปนสวนหน่ึงของโรคท่ีเปนติดตอกัน โดยมีอาการออนเพลียเปนอาการสำคัญ โรคเซ็งเร้ือรัง ยังไมมีการรักษาท่ีเฉพาะลงไป ไดมีการใหยาตานไวรัส ยาตานอารมณเศรา ยาเพ่ิมภูมิคุมกัน รวมทั้งการใหอิมมูโนโกลบูลินในขนาดสูง ๆ จากการศึกษาผูปวยท่ีไดรับยา Acyclovir ซึ่งเปนยาตานไวรัสพบวา ผูปวยท่ีไดรับยาจริงกับผูปวยท่ีไดยาทดลอง มีอาการดีขึ้นเทา ๆ กัน ซึ่งทำใหการรักษาโดยยาตานไวรัสลดน้ำหนักลงไป แพทยบางทานไดใหยาตานอารมณเศราชนิด Tri-

cychic ในขนาดต่ำ ๆ พบวาไดผลดีเหมือนกับผูปวย Fibromyal-gia ซึ่งมีอาการคลายผูปวย CFS แตนักวิจัยบางคนบอกวาอาจเปนเพราะยาทำใหนอน

หลับไดดีขึ้นมากกวา ยาตานอารมณซึมเศราท่ีใชขนาดสูงๆ จะทำใหผูปวยมีอาการออนเปลี้ยมากข้ึน จึงเปลี่ยนเปนยาตานอารมณเศราชนิดใหมๆ หรือบางรายใชยาสงบประสาทพวก Ben-

zodiazepine รวมดวย เพ่ือลดอาการวิตกกังวลและชวยใหหลับนอกจากน้ียังใชยาเพ่ือรักษาอาการ เชน ยาระงับปวด หรือยาแกโรคภูมิแพ อยางไรก็ตามผูเชี่ยวชาญไดแนะนำวาผูที่มีอาการเรื้อ-รัง ควรพยายามรักษาสุขภาพของตนเอง กินอาหาร และพักผอนใหพอ ออกกำลังกายพอสมควรท่ีจะไมใหเกิดอาการออนเพลียอีก

ผูปวยควรรูจักที่จะดูแลตนเองใหเหมาะทั้งทางรางกาย จิตใจ และสติปญญา เพราะความเครียดจะทำใหมีอาการมากขึ้นได การไดรับคำปรึกษาและใหกำลังใจจากญาติและผูใกลชิด จะชวยใหผูปวยอยูกับโรคหรืออาการท่ีเปลี่ยนแปลงไปมาอยาง

ไมแนนอนน้ีได …-

เจาของ: สมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย 35 ถนนประมวญ สีลม บางรัก กทม. 10500 โทร 0-2637-9020

ท่ีปรึกษา: ผศ.พรศิริ อัญญานุภาพ นายสุรินทร อนุชิราชีวะ กองบรรณาธิการ: นางมยุรี ศรียุทธไกร นายนิคม เพ็งสมยา นายณัฐพล แสงทอง นางสาว ใจศิริสวย

PTA 2009Give thanks to the LORD, for he is good.

His love endures forever. (Psalm 136:1)