แกะเทป micro circulation & regional circulation

8
แกะเทป : มิค 245 , เจตน 254 Proof : เดียว 261 สอนโดย ผศ.ดร.พวงรัตน ภักดีโชติ 7 .. 2551 <<Microcirculation>> ถาพูดถึงคําวา microcirculation ตองนึกใหไดวา เปนการไหลเวียนของเลือดผานหลอดเลือดที่มีเสนผาน ศูนยกลางนอยกวา 100 μm(micron) ซึ่งไดแกพวก arteriole สวนปลาย(metarterioles) , arterioles , capillaries ,venules ถึงแมจะเปนสวนที่เล็กๆ แตก็มีความสําคัญ เพราะวา 5% ของ Cardiac output ในรางกาย จะไหลผาน microcirculation เพราะวา เปนสวนที่มีการแลกเปลี่ยน ไมวาเลือดจากหัวใจ จะไป aorta ไป pulmonary ไป arterioleแตวา function ของมันก็อยูทีcapillaries เพราะวามันทําหนาทีเปนตัวขนสง O 2 , อาหาร ใหกับเนื้อเยื่อได โดยผานทาง capillaries นี่แหละ ..... นอกจากนีมันยังเอาสาร metabolite ที่เกิดจากการทํางานของเนื้อเยื่อ กลับเขาสู ระบบการไหลเวียนเลือด (อันนี้เปนหนาที่หลัก) จากรูป เปนหลอดเลือด arteriole ซึ่งจะตอกับ capillary แตวา กอนที่จะถึง capillary เนี่ย จะมี precapillary sphincters ซึ่งหูรูด อันนีมันจะตอบสนองตอสาร mediator ตางๆ เชน Epinephrine , Norepinephrine ควบคุมการปด-เปด ของหูรูดอันนีแลวก็ระบบการไหล ของเลือดที่อยูใน capillary ในภาวะฉุกเฉิน เราไมอยากใหเลือดเขาสู capillary มากๆ หูรูดก็จะหดตัว ผาน arteriole ผาน capillary ไปยัง vein โดยชองทางพิเศษ เราเรียกวา ?????? <นาจะ AV shunt นะ>(อาจารยพูดรัวมากๆครับ) ที่นีจะพูดถึงเฉพาะ capillary ก็คือหลอดเลือดฝอย มีขนาดเล็กมาก เสนผานศูนยกลาง บางตําราบอกวาอยูที5 μm บางตําราบอกวา 4-9 μm สวน cell เม็ดเลือดแดงมี เสนผานศูนยกลางประมาณ 5-7 μm ซึ่งพอๆกับหลอดเลือดฝอย หรือ อาจจะมากกวา แตเม็ดเลือดแดงมันมีความสามารถพิเศษ ในการเปลี่ยนรูปราง เพื่อที่จะใหผานไปได หลอดเลือดฝอย มันประกอบดวย cell แค 2 ชั้น คือ ชั้น endothelium กับชั้น basement membrane ของมัน ซึ่งบางมาก ระหวางรอยตอของ endothelium มันจะมีชองทางพิเศษ ที่เราเรียกวา เปน intercellular space เพราะฉะนั้น การแลกเปลี่ยนสารอาหาร ระหวางหลอดเลือดฝอย กับเนื้อเยื่อ ก็จะอยูตรง intercellular space นี่แหละ (ใน กรณีที่เปนน้ํา หรือสารที่ไมละลายในไขมัน ก็จะมาทางนี)

Upload: hamcheese

Post on 10-Apr-2015

1.700 views

Category:

Documents


4 download

TRANSCRIPT

Page 1: แกะเทป Micro Circulation & Regional Circulation

แกะเทป : มิค 245 , เจตน 254 Proof : เดียว 261

สอนโดย ผศ.ดร.พวงรัตน ภักดีโชติ 7 พ.ย. 2551

<<Microcirculation>>

ถาพูดถึงคําวา microcirculation ตองนึกใหไดวา เปนการไหลเวียนของเลือดผานหลอดเลือดที่มีเสนผานศูนยกลางนอยกวา 100 μm(micron) ซึ่งไดแกพวก arteriole สวนปลาย(metarterioles) , arterioles , capillaries ,venules

ถึงแมจะเปนสวนที่เล็กๆ แตก็มีความสําคัญ เพราะวา 5% ของ Cardiac output ในรางกาย จะไหลผาน microcirculation เพราะวา เปนสวนที่มีการแลกเปลี่ยน ไมวาเลือดจากหัวใจ จะไป aorta ไป pulmonary ไป arterioleแตวา function ของมันก็อยูที่ capillaries เพราะวามันทําหนาที่ เปนตัวขนสง O2 , อาหาร ใหกับเนื้อเยื่อได โดยผานทาง capillaries นี่แหละ ..... นอกจากนี้ มันยังเอาสาร metabolite ที่เกิดจากการทํางานของเนื้อเยื่อ กลับเขาสูระบบการไหลเวียนเลือด (อันนี้เปนหนาที่หลัก)

จากรูป เปนหลอดเลือด arteriole ซึ่งจะตอกับ capillary แตวา กอนที่จะถึง capillary เนี่ย จะมี precapillary sphincters ซึ่งหูรูดอันนี้ มันจะตอบสนองตอสาร mediator ตางๆ เชน Epinephrine , Norepinephrine ควบคุมการปด-เปด ของหูรูดอันนี้ แลวก็ระบบการไหลของเลือดที่อยูใน capillary ในภาวะฉุกเฉิน เราไมอยากใหเลือดเขาสู capillary มากๆ หูรูดก็จะหดตัว ผาน arteriole ผาน capillary ไปยัง vein โดยชองทางพิเศษ เราเรียกวา ?????? <นาจะ AV shunt นะ>(อาจารยพูดรัวมากๆครับ)

ที่นี้ จะพูดถึงเฉพาะ capillary ก็คือหลอดเลือดฝอย มีขนาดเล็กมาก เสนผานศูนยกลาง บางตําราบอกวาอยูที่ 5 μm

บางตําราบอกวา 4-9 μm สวน cell เม็ดเลือดแดงมี เสนผานศูนยกลางประมาณ 5-7 μm ซึ่งพอๆกับหลอดเลือดฝอย หรืออาจจะมากกวา แตเม็ดเลือดแดงมันมีความสามารถพิเศษ ในการเปลี่ยนรูปราง เพื่อที่จะใหผานไปได หลอดเลือดฝอย มันประกอบดวย cell แค 2 ช้ัน คือ ช้ัน endothelium กับช้ัน basement membrane ของมัน ซึ่งบางมาก ระหวางรอยตอของ endothelium มันจะมีชองทางพิเศษ ที่เราเรียกวา เปน intercellular space เพราะฉะนั้น การแลกเปลี่ยนสารอาหาร ระหวางหลอดเลือดฝอย กับเนื้อเยื่อ ก็จะอยูตรง intercellular space นี่แหละ (ในกรณีที่เปนน้ํา หรือสารที่ไมละลายในไขมัน ก็จะมาทางนี้)

Page 2: แกะเทป Micro Circulation & Regional Circulation

ทีนี้มาดูชนิดของหลอดเลือดฝอย ซึ่งมีอยู 3 ชนิด

1. continuous capillary ก็คือ ตอเนื่องกันไป แสดงวา cell ใช endothelium ติดกันตอเนื่องกันไป ชอง intercellular space ก็จะแคบและนอย จะพบที่สมอง (เปน blood brain barrier) แลวก็ CNT ทั่วไป

2. fenestrated capillary ชอง intercellular space จะกวางขึ้น มันจึงยอมใหสารน้ําผานไป พบที่ ไต และระบบทางเดินอาหาร (ตอมไรทอดวย)

3. discontinuous(sinusoidal) capillary จะเห็นวา cell ช้ัน endothelium มันหางกันมาก เพราะฉะนั้น สารโมเลกุลใหญๆ อยางพวก โปรตีน ก็จะผานชองทางนี้ได จะพบที่ ตับ มาม และไขกระดูก

การแลกเปลี่ยนสาร เปนไปได 3 แบบดวยกัน ก็คือ 1. Transcytosis จะเปนการแลกเปลี่ยนสารที่มีโมเลกุลใหญๆ มีตัวพา อยางเชนโปรตีน เกิดนอย .... 2. Diffusion จะแพรตาม concentration gradient จากความเขมขนมาก ไปความเขมขนนอย แลวก็ไป

ในทุกทิศทาง ก็พวก O2 , CO2 , สารใดๆก็ตามที่ละลายในไขมัน แบบนี้ เกิดเยอะ...... 3. Bulk flow เปนการเคลื่อนที่ของน้ําไปทีละเยอะๆ สวนมากจะเจอในเนื้อเยื่อที่มีคุณลักษะพิเศษ เชนที่ ไต ,

ระบบทางเดินอาหาร คําวา interstitium เปนเนื้อเยื่อที่อยูระหวาง cell (1 ใน 6 ของเนื้อเยื่อในรางกาย) สวนน้ําที่อยูใน

interstitium เราเรียกวา interstitial fluid ซึ่งจะเห็นวา มีคุณสมบัติ 2 อยาง คือ มี 1. collagen fiber เปนตัวกําหนดความแข็งแรงของเนื้อเยื่อ 2. proteoglycan filament (มองไมเห็นทั้งตาเปลาและกลองจุลทรรศน) ประกอบดวย protein และ

hyaluronic acid ซึ่งเจา proteoglycan มันเปนตัวจับน้ําที่อยูใน interstitial fluid ใหอยูกับมัน เพราะฉะนั้น การเคลื่อนที่ของน้ํา ไป-มา ก็จะทําไดยาก เนื่องจากวา proteoglycan มันจับไว(จะมี free fluid ประมาณ 1% ที่ไมถูกจับดวย proteoglycan)

Page 3: แกะเทป Micro Circulation & Regional Circulation

สรุป microcirculation ตองนึกใหไดวา เปนการไหลเวียนของเลือดผานหลอดเลือดที่มีเสนผานศูนยกลางนอยกวา 100

μm ตัวที่ทําหนาสําคัญก็คือ capillary เพราะมันมีคุณสมบัติพิเศษ ก็คือ หลอดเลือดมีขนาดบาง ประกอบดวย endothelium และ basement membrane สวน endothelium ก็มีอยู 3 ชนิดดวยกัน ขึ้นอยูกับแตละอวัยวะ(continuous , fenestrated , discontinuous) หนาที่ของมันก็คือการแลกเปลี่ยนเหมือนกัน การแลกเปลี่ยนก็จะมี 3 ชนิด (Transcytosis , Diffusion , Bulk flow) สวนใหญจะเปน Diffusion แลวก็ interstitium เปนเนื้อเยื่อที่อยูระหวาง cell สวนน้ําที่อยูใน interstitium เราเรียกวา interstitial fluid ใน interstitium มีองคประกอบสําคัญคือ collagen fiber กับ proteoglycan filament ซึ่ง proteoglycan เปนตัวจับน้ํา Starling force (คนที่เสนอ กฎของ Starling ก็คือ Starling นะ .... -*-) K = Capillary filtration coefficient (คือสัมประสิทธิ์ของการกรอง)

Fluid movement= K [(Pc + πi) - (Pi + πc)]

ขึ้นอยูกับแรง 4 ตัวดวยกัน Pc = Capillary hydrostatic pressure => ตัวนี้จะมีคาไมเทากันในแตละอวัยวะ ขึ้นอยูกับความดันเลือดในรางกาย ,ความดันในหลอดเลือดแดง ,ความดันในหลอดเลือดดํา แลวก็ความตานทานของ precapillary sphincters และยังขึ้นกับการหดหรือการขยายตัวของหลอดเลือดดํา (คาอยูประมาณ 25-32 อยูในชวงนี้) มีทิศทาง ดันน้ําออกนอกหลอดเลือด

Pi = Interstitial hydrostatic pressure => เปนแรงดันน้ําที่อยูในชองวางระหวางเซลล ซึ่งมีคาตํ่า เปน – หรือ +ก็ได ถาเปน + มันจะดันน้ําเขาหลอดเลือด โดยอาจารยบอกวา มีแคบางที่ที่มีคาเปน - คือ ที่ subcutaneous แตจะมีคาเปน + ที่ตับ ไต สมอง อาจสูงถึง 6 mmHg

πc = Capillary colloid osmotic pressure => เปนแรงดันที่เกิดจาก protein ใน plasma (ในหลอดเลือดฝอย) ที่สําคัญก็คือ albumin มีทิศทาง ดึงน้ําเขาหลอดเลือด

πi = Interstitial colloid osmotic pressure => เปนแรงดันที่เกิดจาก protein ที่อยูใน ชองวางระหวางเซลล ซึ่งปกติ protein ในนี้จะพบนอย จากรูป ทอตรงกลางคือหลอดเลือดฝอย จะเห็นวา ชวงตนๆ จะเกิดการกรองมากกวา ชวงปลายๆจะดูดกลับมากกวา เมื่อแทนคาใน Starling force แลว จะได สวน arteriole ตอกับ capillary จะได ((37-1) -25) = 11 mmHg คือน้ํามีทิศทางออกนอกหลอดเลือด(เกิดการกรองนั่นเอง)(แทนในสมการอะนะ)

Page 4: แกะเทป Micro Circulation & Regional Circulation

แตชวงที่ capillary ตอกับ venule จะได (25-(17-1)) = 9 mmHg คือเกิดการดูดกลับ จะเห็นวาโดยทั่วไปจะมีน้ําอยูใน interstitial space น้ําพวกนี้ไปไหน ทําไมไมเกิดการบวม ? .... ก็เพราะเรามี lymphatic system (ระบบน้ําเหลือง) ที่มาชวยเอาน้ําพวกนี้กลับไป

ระบบน้ําเหลือง เราจะเจอไดทั่วรางกาย แตมีบางอวัยวะที่ไมเจอ แตจะมีสวนที่เรียกวา prelymphatic ไดแกบริเวณผิวหนัง ระบบประสาทสวนกลาง(CNS) และเยื่อหุมใยกลามเนื้อ กระดูก .... น้ําเหลืองจะมารวมที่ thoracic duct และไหลกลับเขาสูหลอดเลือดดําที่ subclavian v. ทอน้ําเหลืองจะมีคุณสมบัติพิเศษ คือเวลาที่มีโปรตีน หรือ น้ําหลุดลอดออกมา มันจะเปนตัวนํากลับเขาสูระบบไหลเวียนโลหิตใหม ทําใหรางกายไมเกิดการบวม ไมเกิดการคั่งของน้ําในชองวางระหวางเซลล

อัตราการไหลของน้ําเหลืองขึ้นอยูกับ 2 สวนดวยกัน คือ 1. Interstitial fluid pressure (แรงดันน้ําที่อยูในชองวางระหวางเซลล) ถามีน้ําในชองวางระหวางเซลลมาก

ขึ้น การไหลของน้ําเหลืองก็จะเร็วขึ้น เพื่อที่จะเอาน้ําออกไป จากกราฟ จะเห็นวาถาแรงดันน้ําที่อยูในชองวางระหวางเซลลมีคาเปน 0 การไหลของน้ําเหลืองก็จะเพิ่มขึ้นเยอะมาก จะเห็นวา มีคาเปนลบดวย ดังที่ไดกลาวไปแลว สรุป คือ อัตราการไหลของน้ําเหลืองจะเพิ่มขึ้น ตามแรงดันน้ําในชองวางระหวางเซลล

2. Lymphatic pump (การปมของทอน้ําเหลือง) ถามีน้ําหรือโปรตีน เขามาในทอน้ําเหลืองมากๆ มันก็จะขยายทอน้ําเหลือง ซึ่งจะทําใหเกิดการหดตัวของทอนํ้าเหลืองกลับ นอกจากนี้ การเดิน หรือการออกกําลังกาย ก็จะทําใหการไหลของทอน้ําเหลืองดีขึ้น มากกวาในชวงพัก

Page 5: แกะเทป Micro Circulation & Regional Circulation

Edema (การบวม) ทาง clinic จะแบงเปน pitting edema(กดบุม) กับ non-pitting edema(กดไมบุม) แตในทางสรีรวิทยาจะแบงเปน 1. Intracellular edema คือ บวมภายในเซลล น้ําจะเขาไปภายในเซลลไดในกรณีที่ ภายในเซลลขาด สารอาหาร หรือ Na+ ไมสามารถถูกสงออกนอกเซลลได เนื่องจากขาดสารอาหาร ขาดพลังงาน 2. Extracellular edema คือ ที่เราเจอในclinic มีน้ําอยูในชองวางระหวางเซลลเยอะ(รายละเอียด อาจารยใหไปอานในชีท -*-) อีกคําที่ตองรูก็คือ edema safety factors ก็คือเปนปจจัยที่ไมทําใหเกิดการบวม คือน้ําในชองวางระหวางเซลลมีคาไมเกิน 15-17 mmHg คือถาเกินกวานี้ จะเกิดการบวมได >>> เอามาจากในสไลดนะ Edema will happen when net filtration pressure is 15-17 mmHg or more because of edema safety factors 1. Lymphatic function 2. πi decreased (เนื่องจากมีน้ําไปอยูในชองวางระหวางเซลลมากๆ ทําใหโปรตีนในชองวางระหวางเซลลถูกเจือจาง ทําให oncotic pressure ลดลง) 3. Pi increased (คือแรงดันน้ําที่อยูในชองวางระหวางเซลลเพิ่มขึ้น) สรุป ที่อาจารยบอกวาตองรูของ microcirculation ก็คือ Starling force และ ปจจัยที่ทําใหเกิดการบวม ^ ^

<<Regional Circulation>> เปนการไหลเวียนในอวัยวะตางๆ ในที่นี้ขอพูดถึง การไหลเวียนโลหิตของสมอง หัวใจ ชองทอง และผิวหนัง เพราะระบบอื่นๆ เราจะไดเรียนในลําดับตอไป

Cardiac Output คือ เลือดที่ไหนออกจากหัวใจใน 1 นาที มีคาประมาณ 5 ลิตร = stroke volume x heart rate (คนเรา stroke volume โดยทั่วไป ครั้งหนึ่งประมาณ 70 ml สวน heart rate ประมาณ 72 ครั้ง/นาที คูณกันก็ไดประมาณ 5 ลิตร)

Cardiac output ที่ออกมานี้ ก็คือ ในหนึ่งครั้งของการบีบตัวของหัวใจ จะพบวาเลือดที่ออกมาจะไหลไปที่ไตมากที่สุดประมาณ 420 ml ตอ 100 กรัมของเนื้อเยือ ใน 1 นาที สวน skeleton muscle จะมีเลือดไหลไปเลี้ยงนอยที่สุด Cardiac Output ท่ีมาที่สมอง ในสมองเมื่อเปดกะโหลกศีรษะออกมาจะมีสวนประกอบคือ เนื้อสมอง เลือด เยื่อหุมสมอง และ CSF ซึ่งสมองจะมีน้ําหนักประมาณ 1,400 กรัม จะมีเลือดประมาณ 75 ml และ CSF ก็มีประมาณ 75 ml เชนกัน ซึ่งพวกนี้มันจะอยูดวยกัน สมองจะไมสามารถถูกกดเบียด หรือเปล่ียนรูปรางได แตหลอดเลือดอาจถูกโดนกดเบียดได การเปลี่ยนแปลงความดัน ถาเปลี่ยนแปลงมากก็จะมีผลตอรางกาย เชน Cushing reflex คือถา intracranial pressure (ICP) มันสูงขึ้นไมวาสาเหตุใดๆก็ตาม เชน อาจเกิดการกระแทกแลวมีเลือดออกในหลอดเลือด หรือหลอดเลือดฉีกขาด ซึ่งถา ICP มันสูงเกิน 33 mmHg ก็จะทําให cerebral blood flow ลดลง สุดทายทําใหเนื้อสมองในสวน vasomotor area เกิดภาวะการขาดเลือด จะทําให systemic blood pressure (SBP) เพิ่มขึ้น ก็จะทําให

Page 6: แกะเทป Micro Circulation & Regional Circulation

blood pressure มันมากขึ้น จนทําใหเกิด reflex ขึ้น เราเรียกวา reflex bradycardia เพื่อที่จะทําให blood pressure มันลดลง เพราะฉะนั้นในภาวะ Cushing reflex นี้ จะพบวา blood pressure เพิ่มขึ้น แตอัตราการเตนของหัวใจชาลง ถาคนไขมาดวยอาการความดันเลือดสูง แตอัตราการเตนของหัวใจนอย ก็แสดงวา อาจเกิดภาวะ intracranial pressure สูง ----> อันตราย! ในสมองจะมีการควบคุมอัตราการไหลเวียนเลือดมาที่สมองใหคงที่ดวย

1. autoregulation ก็คือ เปนความสามารถของเนื้อเยื่อที่จะทําใหมีการไหลของเลือดมาที่สมองหรือเนื้อเยื่อ ไดคงที่ ดังนั้น autoregulation จะทําไดในกรณีที่ความดันเลือดอยูในชวง 65 – 140 mmHg

2. neural control โดยที่สมองจะมีระบบประสาทมาควบคุมเชน sympathetic มาเลี้ยง ซึ่งถาถูกกระตุนก็จะหลั่ง norepinephrine ทําใหเกิด vasoconstriction สวน parasympathetic จะทําใหเกิด vasodilation แลวก็ยังมีพวก sensory nerve ก็จะหล่ังสารพวก substance P, CGRP พวกน้ีก็จะทําใหหลอดเลือดที่สมองขยายตัว

3. metabolic control คือ ถาสมองมีการทํากิจกรรมเยอะๆ จะหลั่งสาร metabolize ออกมา เชน CO2 หรือ pH ที่มันตํ่าลง มันก็จะทําใหหลอดเลือดที่สมองขยายตัว และทําใหเกิด cerebral blood flow เพิ่มขึ้น

การไหลเวียนเลือดในสมอง นอกจากจะมีการควบคุมดังกลาวขางตนแลว ในกรณีที่มีการทํางาน (neural activity)

ของอวัยวะนั้นๆ ก็จะเพ่ิม blood flow ประมาณ 20% สรุปวา neural activity จะเพิ่ม cerebral blood flow ในแตละสวน สรุปของสมอง : การไหลเวียนเลือดในสมอง จะพบวาในสมองและสวนประกอบจะไมสามารถถูกกดเบียดหรือเปลี่ยนรูปรางไปได ซึ่งถามีความผิดปกติจะมี intracranial pressure(ICP) สูงขึ้น ก็จะทําใหเกิดปญหาขึ้นมา ซึ่งถา ICP สูงขึ้นกวา 33 mmHg จะไปทําให cerebral blood flow ที่มาที่สมองลดลง เนื้อสมองก็จะขาดเลือด โดยเฉพาะบริเวณ vasomotor area ซึ่งมันจะไปทําให systemic blood pressure มากขึ้น ทําให blood pressure เพิ่มขึ้น แตเมื่อ BP เพิ่มขึ้น ก็จะทําใหรางกายเกิด reflex ที่เรียกวา bradycardia ---> ซึ่งอันนี้ก็คือ Cushing Reflex สวนการควบคุมการไหลเวียนในสมองก็มี autoregulation , neural control , metabolic control และ ยังขึ้นกับ neural activity ดวย [ดังนั้นถาอาจารยถามวาปจจัยใดบางที่ทําใหการไหลเวียนเลือดในสมองเพิ่มขึ้น

Page 7: แกะเทป Micro Circulation & Regional Circulation

ก็ควรจะตอบไดนะ เชน สาร metabolize ตางๆ CO2 pHตํ่าลง หรือ adenosine , ระบบประสาท parasympathetic ทํางานมากขึ้น พวกนี้ก็จะไปเพิ่ม cerebral blood flow และยังเกี่ยวของกับ neural activity ดวย ]

การไหลเวียนโลหิตที่หัวใจ (Coronary Circulation) ที่หัวใจเลี้ยงดวยหลอดเลือด coronary artery มี 2 เสน คือ right กับ left ซึ่งออกมาจาก aorta สวน root

ของ aorta เพราะฉะนั้นถึงแมหัวใจจะสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงสวนตางๆของรางกาย แตเนื้อเยื่อของมันก็มีความเสี่ยงในการขาดเลือดเหมือนกัน เพราะลักษณะการไหลเวียนของ coronary blood flow คอนขางแปลกประหลาด คือ มันจะเปลี่ยนแปลงไปตาม cardiac cycle Coronary Circulation กราฟ

Isovolumetric relaxationIsovolumetric contraction

จากกราฟจะเห็นวา ชวงที่มี systole ความดันใน aorta ก็จะสูงขึ้นเพราะเลือดมันเขามาอยูใน aorta เยอะ แตใน coronary blood flow มันจะลดลงในชวงตนของการบีบตัวไลเลือดออกไป ซึ่งลดลงต่ําสุดในชวง isovolumetric contraction แลวจะคอยๆเพิ่มขึ้น เพราะมีเลือดไหลเขามาใน aorta (ชวงนี้จะไมคอยมีการปลอยเลือดเขามาใน aorta เพราะ ความดันใน aorta ยังมีนอยอยู ) ดังนั้น จึงเห็นวาการไหลของเลือดที่เขามาใน coronary artery นอยลง และชวง systole ก็จะนอย แตการไหลของเลือดเขามาใน coronary artery จะสูงขึ้นในชวง diastole เพราะฉะนั้นชวง diastole ถือเปนชวงที่มีความสําคัญสําหรับ coronary blood flow เนื่องจากเปนชวงที่มีเลือดไหลเขามาเยอะ Left กับ right coronary artery จะมี pressure เหมือนกัน ก็คือจะมี การไหลของเลือดนอยในชวงเริ่มตนของการเกิด systole คือชวง isovolumetric contraction แลวก็จะเพิ่มขึ้นในชวงของ diastole นอกจากจะแปรตาม cardiac cycle แลว มันยังจะแปรตาม heart rate ดวย เคาบอกวาถาการเตนของหัวใจเร็วขึ้น หรือภาวะ tachycardia จะทําใหชวง diastole สั้นลง เพราะฉะนั้นโอกาสที่มันจะรับเลือดก็ไมดี คอนขางอันตราย แตในภาวะหัวใจปกติ พวกmetabolic control ก็จะทําใหหลอดเลือด coronary artery มันขยายตัว เลือดก็จะเขามาเลี้ยงไดพอเพียง ผนังของหัวใจจะมีสวนที่เรียกวา epicardium กับ endocardium ซึ่งทั้ง 2 สวน จะรับเลือดไดเทากันในภาวะปกติ เนื่องจาก ปกติ coronary artery จะแทงจากนอกเขาใน แลวถาดูชวง systole จะทําให intramuscular

Page 8: แกะเทป Micro Circulation & Regional Circulation

“Although Sympathetic Stimulation Directly Constricts Coronary Vessels, Accompanying Metabolic Effects Predominate, Producing an Overall Vasodilation”

pressure (ความดันที่กระทําตอกลามเนื้อ) มันมีความดันขางในมากกวาขางนอก แตที่มันรับเลือดเทากันก็เพราะวา ในชวง diastole ซึ่งเปนชวงที่มีเลือดไหลมาที่ coronary arteryเยอะ... ใน endocardium มันจะมี intravascular resistance ที่ตํ่ามาก ซึ่งถา resistance ตํ่า จะทําให blood flow ดี เพราะฉะนั้นจึงทําให endocardium รับเลือดไดพอๆ กับ epicardium แตในกรณีที่มีความผิดปกติ เชน aortic regurgitation หรือ coronary occlussion ในชวง diastole เลือดก็จะมาที่ coronary artery นอย เพราะฉะนั้นสวนที่จะมีผลตอการขาดเลือดก็คือ endocardium ที่หัวใจก็ยังมีเรื่องเกี่ยวกับ

1. metabolic control ก็จะทําใหหลอดเลือดขยายตัว 2. neural control มีบทบาทนอย แตก็มีพวก sym. กับ parasym.

เขามาเกี่ยวของโดย parasym. จะทําใหหลอดเลือดขยายตัว และ sym. ก็จะทําใหเกิด vasodilation ไดเหมือนกัน เพราะเวลามากระตุนที่หัวใจ จะทําใหหัวใจทํางานเพิ่ม ก็เกิด metabolize มากขึ้น ทําใหหลอดเลือดขยายตัวได

สรุปของหัวใจ : การไหลเวียนเลือดจะไหลไปตาม coronary artery ประมาณ 5% ของ cardiac output และการไหลเวียนของเลือดที่เขามา จะเปลี่ยนแปลงไปตาม cardiac cycle จะมีคาตํ่าสุดในชวง isovolumetric contraction และ systole แตจะมีคาสูงสุดในชวง diastole และ ภาวะ tachycardia จะทําใหชวง diastole สั้นลง ถามีพยาธิสภาพของหัวใจก็จะทําใหมันแยลง แตในคนปกติจะมีสาร metabolize ที่สรางมา ทําใหหลอดเลือดขยาย ก็ทําให blood flow มันปรับไดเทากับ metabolic demand

การไหลเวียนในระบบทางเดินอาหาร การไหลเวียนเลือดในระบบทางเดินอาหารจะมาตาม celiac artery , superior mesenteric artery และ

inferior mesenteric artery เคาบอกวา เลือดจะไหลมาเลี้ยงที่ระบบทางเดินอาหารเพิ่มขึ้นประมาณ 8 เทา หลังการรับประทานอาหาร ซึ่งจะมีกลไก 4 อยางดวยกันคือ

1. CNS คือ แคคิด เลือดก็มาที่ระบบทางเดินอาหารแลว 2. เมื่อทานอาหารเขาไปแลว mucosal activity มันจะมีกิจกรรมมากขึ้น ก็จะมี adenosine ,CO2

เพิ่มขึ้น หลอดเลือดที่มาบริเวณนี้ก็ขยายตัว 3. การดูดซึมอาหารก็ทําใหเพิ่ม blood flow ดวย 4. ชวงระหวางการยอยอาหาร ก็จะมีพวก enzyme ออกมา ทําใหหลอดเลือดขยายตัว สวน Neural control ก็จะมีทั้ง sympathetic และ parasym. ซึ่งระบบ parasym. มันจะทําให GI

ทํางานเพิ่มขึ้น ก็จะทําใหสารตางๆเชน enzyme หลั่งออกมามากขึ้น ก็ทําให blood flow ที่มาบริเวณนี้มากขึ้น การออกกําลังกาย และการสูญเสียเลือด จะทําใหเลือดที่มาที่ระบบทางเดินอาหารนอยลง เชน ตอนกินขาวเสร็จใหมๆ

แลวไปวิ่ง จะทําใหจุก เพราะเวลาวิ่งเลือดจะไปเลี้ยงที่กลามเนื้อมาก ก็จะเกิด abdominal cramping ดังนั้น การออกกําลังกายจะไปลดปริมาณเลือดที่เลี้ยงที่ระบบทางเดินอาหาร

การไหลเวียนเลือดที่ผิวหนัง (อาจารยจะพูดตอในช่ัวโมงถัดไป)