ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัิย...

10
(๑๒) คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญ คําวินิจฉัยที๔๑/๒๕๔๗ วันทีพฤษภาคม .. ๒๕๔๗ เรื่อง ศาลฎีกาสงคําโตแยงของจําเลย (นายประสิทธิกิจเสมอใจ) ในคดีของศาลแพง เพื่อขอให ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖๔ วา ประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกาขอใหสํานักงานศาลยุติธรรมสงคําโตแยงของจําเลยในคดีแพงหมายเลขดําที๒๓๒๐๐ / ๒๕๔๐ หมายเลขแดงที๕๐๔๑ / ๒๕๔๒ ขอใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยวา ประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา มาตรา มาตรา มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ มาตรา ๔๘ วรรคหนึ่ง มาตรา ๖๐ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๒๓๓ หรือไม ขอเท็จจริงตามคํารองสรุปไดวา กระทรวงการคลัง โดยนายปรีดี บุญยัง อธิบดี กรมธนารักษ ผูรับมอบอํานาจใหปฏิบัติราชการแทนรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง เปนโจทกยื่น ฟอง นายประสิทธิกิจเสมอใจ ผูรอง เปนจําเลยตอศาลแพง เมื่อวันที๒๒ กันยายน ๒๕๔๐ เพื่อ ขับไลและเรียกคาเสียหายจากผูรอง โดยขอใหศาลบังคับใหผูรองและบริวารขนยายทรัพยสินออกจาก ที่ดินราชพัสดุ โฉนดเลขที๒๒๗ เลขที่ดิน ๘๙ และสงมอบที่ดินดังกลาวใหโจทก และชดใช คาเสียหาย จํานวน ๑๖, ๗๓๖. ๘๕ บาท พรอมดอกเบี้ยรอยละ . ตอป โดยใหผูรองชดใชเงิน คาเสียหายเปนรายเดือน ละ ๓๑๙.๑๓ บาท นับแตวันถัดจากวันฟองเปนตนไป จนกวาผูรองและ บริวารจะขนยายทรัพยสินออกจากที่ดินพิพาท

Upload: lamduong

Post on 13-May-2018

223 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัิย ตรelib.coj.go.th/Ebook/data/concourt/center41_47.pdfในพระปรมาภิไธยพระม

(๑๒) คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ

ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญ คําวินิจฉัยท่ี ๔๑/๒๕๔๗ วันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๗

เรื่อง ศาลฎีกาสงคําโตแยงของจําเลย (นายประสิทธิ์ กิจเสมอใจ) ในคดีของศาลแพง เพื่อขอให ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖๔ วา ประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ

ศาลฎีกาขอใหสํานักงานศาลยุติธรรมสงคําโตแยงของจําเลยในคดีแพงหมายเลขดําที่ ๒๓๒๐๐/๒๕๔๐ หมายเลขแดงที่ ๕๐๔๑/๒๕๔๒ ขอใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยวาประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๔ มาตรา ๕ มาตรา ๗ มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ มาตรา ๔๘ วรรคหนึ่ง มาตรา ๖๐ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๒๓๓ หรือไม ขอเท็จจริงตามคํารองสรุปไดวา กระทรวงการคลัง โดยนายปรีดี บุญยัง อธิบดีกรมธนารักษ ผูรับมอบอํานาจใหปฏิบัติราชการแทนรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง เปนโจทกยื่นฟอง นายประสิทธิ์ กิจเสมอใจ ผูรอง เปนจําเลยตอศาลแพง เมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๐ เพ่ือขับไลและเรียกคาเสียหายจากผูรอง โดยขอใหศาลบังคับใหผูรองและบริวารขนยายทรัพยสินออกจากที่ดินราชพัสดุ โฉนดเลขที่ ๒๒๗ เลขที่ดิน ๘๙ และสงมอบที่ดินดังกลาวใหโจทก และชดใชคาเสียหาย จํานวน ๑๖,๗๓๖.๘๕ บาท พรอมดอกเบี้ยรอยละ ๗.๕ ตอป โดยใหผูรองชดใชเงินคาเสียหายเปนรายเดือน ๆ ละ ๓๑๙.๑๓ บาท นับแตวันถัดจากวันฟองเปนตนไป จนกวาผูรองและบริวารจะขนยายทรัพยสินออกจากที่ดินพิพาท

Page 2: ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัิย ตรelib.coj.go.th/Ebook/data/concourt/center41_47.pdfในพระปรมาภิไธยพระม

- ๒ -

โจทกเปนนิติบุคคล โดยเปนกระทรวงในรัฐบาลมีหนาที่เกี่ยวกับการเงินของแผนดิน การภาษีอากร การรัษฎากร ตลอดจนกิจการเกี่ยวกับที่ดินราชพัสดุ โดยมีนายปรีดี บุญยัง อธิบดีกรมธนารักษ เปนผูรับมอบอํานาจจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังใหปฏิบัติราชการแทนรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๓๓ ผูรองไดทําสัญญา เชาที่ดินราชพัสดุกับโจทก โดยโจทกตกลงใหผูรองเชาที่ดินราชพัสดุ ซอยรามบุตรี ถนนจักรพงษ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๒๗ เลขที่ดิน ๘๙ จํานวนเนื้อท่ีประมาณ ๗๔ ตารางวา มีกําหนดระยะเวลา ๑ ป นับตั้งแตวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๓๓ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๓๓ ในระหวางอายุสัญญาเชา ถาผูใหเชามีความจําเปนจะตองใชที่ดินที่เชาเพื่อประโยชนของรัฐ ผูเชายินยอมใหผูใหเชาบอกเลิกสัญญาได โดยบอกกลาวเปนหนังสือใหผูเชาทราบลวงหนาไมนอยกวา ๓๐ วัน โดยผูใหเชาไมตองเสียคาตอบแทนหรือคาเสียหายใด ๆ ใหแกผูเชาทั้งสิ้น โจทกไดตออายุการเชาเปนรายปใหแกผูรองเรื่อยมา จนกระทั่งป ๒๕๓๗ รัฐบาลตองการใชที่บริเวณดังกลาวเพ่ือสรางสวน “สันติพร” โจทกไดมีหนังสือแจงใหจําเลยทราบวา โจทกไมอาจพิจารณาตออายุสัญญาเชาใหผูรองได ซึ่งเทากับเปนการบอกเลิกสัญญาเชาโดยปริยาย แตเพ่ือบรรเทาความเดือดรอนโจทกยังผอนผันใหผูรองอยูตอไปอีก โดยผูอาศัยในที่ดินแปลงดังกลาวจะตองชําระคาตอบแทนการใชประโยชนที่ดินเทากับอัตราคาเชาที่ดินพรอมคาภาษีบํารุงทองที่จนกวาทางราชการจะเขาใชประโยชนในที่ดินแปลงพิพาท ตอมาในวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๓๘ โจทกไดมีหนังสือถึงผูรอง แจงวาโครงการสรางสวนสันติพร จะเริ่มดําเนินการประมาณเดือนเมษายน ๒๕๓๘ ขอใหผูรองและบริวารดําเนินการรื้อถอนและขนยายทรัพยสินออกไปจากสถานที่เชาใหแลวเสร็จภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๓๘ แตผูรองและบริวารบายเบี่ยงไมยอมออกจากที่ดิน โจทกไดมีหนังสือเตือนอีก ๒ ครั้ง แตจําเลยก็ยังคงเพิกเฉย ในป ๒๕๓๙ คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหกรมธนารักษจัดสรางอาคารพิพิธภัณฑแสดงเหรียญกษาปณและจําหนายจายแลกเหรียญกษาปณ แทนการสรางสวนสันติพร บนพื้นที่โฉนดเลขที่ ๒๒๗ และ ๔๗๗ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร

Page 3: ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัิย ตรelib.coj.go.th/Ebook/data/concourt/center41_47.pdfในพระปรมาภิไธยพระม

- ๓ -

กรุงเทพมหานคร ตามที่โจทกไดเคยมีหนังสือแจงผูรองใหขนยายทรัพยสินออกไปจากที่ดินราชพัสดุดังกลาวแลว ทั้งโจทกไดประสานงานจัดหามาตรการเพื่อชวยเหลือราษฎรที่เชารวมทั้งโจทก โดยหาที่ เชาแหงใหม ที่แขวงบางหวา เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ใหผูเชาเดิมอยูอาศัยตอไปดวย และพรอมจะพิจารณาจายเงินคาชดเชยการขนยายในกรณีที่ผูเชาเดิมไมประสงคจะเชาที่ดินแปลงใหม ผูรองทราบดีแลว แตไมยอมขนยายทรัพยสินไปจากที่ดินราชพัสดุ โจทกจึงฟองขับไลและเรียกคาเสียหายจากผูรอง ผูรองใหการในฐานะจําเลยปฏิเสธฟองโจทกวา นายปรีดี บุญยัง ไมไดรับมอบอํานาจจากโจทก หนังสือมอบอํานาจไมชอบดวยกฎหมาย ไมไดปดอากรแสตมปตามกฎหมาย นายปรีดี บุญยัง จึงไมมีอํานาจฟองและดําเนินคดีแทนโจทก โจทกไมใชเจาของที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๒๗ เลขที่ดิน ๘๙ ต้ังอยู ริมถนนเจาฟา – ถนนจักรพงษ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ผูรองไมไดเชาที่ดินโฉนดเลขที่ดังกลาวจากโจทก ผูรองจึงมิไดละเมิดสิทธิของโจทก อีกทั้งผูรองไมเคยไดรับหนังสือแจงจากโจทกใหขนยายทรัพยสินและบริวารออกไปจากที่ดิน โจทกจึงไมมีสิทธิฟองผูรองใหขนยายทรัพยสินและบริวารออกไปจากที่ดินดังกลาว และไมมีสิทธิเรียกคาเสียหายจากผูรอง ศาลแพงมีคําพิพากษาเมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๔๒ โดยไดวินิจฉัยใน ๒ ประเด็น คือ (๑) โจทกมอบอํานาจใหฟองคดีโดยชอบดวยกฎหมาย โจทกจึงมีอํานาจฟอง (๒) การเชาทรัพยนั้น ผูใหเชาไมจําเปนตองเปนเจาของกรรมสิทธิ์ในทรัพยที่ใหเชา เมื่อผูรองยอมรับวา ทําสัญญาเชากับโจทกและไดรับประโยชนในที่ดินที่เชาตามสัญญาที่ตกลงกันจริง โจทกยอมมีอํานาจฟองขับไลผูรอง การที่ผูรองยังคงอยูในที่ดินพิพาทตอมา ภายหลังสัญญาเชาสิ้นสุดลง จึงเปนการอยูโดยละเมิด เมื่อทําใหโจทกเสียหาย ตองชดใชคาเสียหายแกโจทกดวย จึงพิพากษาใหผูรองขนยายทรัพยสินและบริวารออกจากที่ดินราชพัสดุ และสงมอบที่ดินดังกลาวแกโจทก ใหผูรองชําระคาเสียหายจํานวน ๑๖,๗๓๖.๘๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป และคาเสียหายตอไป

Page 4: ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัิย ตรelib.coj.go.th/Ebook/data/concourt/center41_47.pdfในพระปรมาภิไธยพระม

- ๔ -

อีกเดือนละ ๓๑๙.๑๓ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไป จนกวาผูรองและบริวารจะออกจากที่ดินพิพาท ผูรองไมเห็นพองดวยกับคําพิพากษาของศาลชั้นตน จึงอุทธรณใน ๒ ประเด็น คือ (๑) เรื่องอํานาจฟอง เนื่องจากหนังสือมอบอํานาจของโจทกที่มอบให นายปรีดี บุญยัง ดําเนินคดีแทน มิไดปดอากรแสตมปตามประมวลรัษฎากร หนังสือมอบอํานาจไมอาจใชอางเปนเอกสารการมอบอํานาจได นายปรีดี บุญยัง จึงไมมีอํานาจฟองและดําเนินคดีแทนโจทก (๒) เรื่องโจทกมิไดเปนเจาของทรัพยที่พิพาท ไมมีอํานาจฟอง เพราะที่ดินที่ผูรองเชา เปนที่ดินของวัดชนะสงคราม มีบันทึกปากคําของพยาน ซึ่งไดสอบถามผูสูงอายุที่เคยอยูใกลเคียงกับวัดชนะสงคราม ชาวบานสวนใหญยืนยันวา ที่ดินดังกลาวเปนของวัดชนะสงคราม ทั้งยังมีลายพระหัตถของรัชกาลที่ ๕ และหลักไมจารึกที่ขุดไดในบริเวณที่ดินดังกลาวเปนหลักฐานยืนยัน ศาลชั้นตนมีคําสั่งไมรับอุทธรณ ผูรองอุทธรณคําสั่งศาลชั้นตน ศาลอุทธรณมีคําสั่งใหรับอุทธรณในประเด็นเรื่องใบมอบอํานาจที่วาใบมอบอํานาจ ที่โจทกมอบอํานาจใหนายปรีดี บุญยัง ดําเนินคดีแทนมิไดปดอากรแสตมปตามประมวลรัษฎากร ใบมอบอํานาจดังกลาวไมอาจใชอางเปนเอกสารในการมอบอํานาจได นายปรีดี บุญยัง จึงไมมีอํานาจฟองและดําเนินคดีแทนโจทกได ประเด็นนี้ ศาลอุทธรณวินิจฉัยวา เมื่อโจทกเปนนิติบุคคลโดยเปนกระทรวงในรัฐบาล รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ซึ่งเปนผูแทนของกระทรวงโจทกมอบอํานาจใหอธิบดีกรมธนารักษ หรือผูวาราชการจังหวัดฟองคดีแทน อากรสําหรับการมอบอํานาจซึ่งกระทรวงโจทกเปนฝายที่ตองเสีย จึงเปนอันไมตองเสียตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ หนังสือมอบอํานาจโจทกใชเปนพยานหลักฐานในคดีนี้ได อุทธรณของผูรองฟงไมขึ้น พิพากษายืน ผูรองฎีกาใน ๒ ประเด็น คือ (๑) หนังสือมอบอํานาจโจทกไมติดอากรแสตมปตามประมวลรัษฎากร จะใชรับฟงเปนพยานหลักฐานได หรือไม (๒) โจทกเปนเจาของกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๒๗ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร หรือไม ประเด็นนี้ ผูรอง

Page 5: ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัิย ตรelib.coj.go.th/Ebook/data/concourt/center41_47.pdfในพระปรมาภิไธยพระม

- ๕ -

เห็นวา เปนปญหาขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน พรอมกับยื่นคํารองขอระบุพยานเพิ่มเติม ศาลชั้นตนมีคําสั่งรับฎีกาเฉพาะประเด็นที่หนึ่ง ไมรับฎีกาประเด็นที่สอง ผูรองอุทธรณคําสั่งไมรับฎีกา ตอมาวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๔๓ ขณะคดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลฎีกา ผูรองยื่นคํารองโตแยงวา ประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ ใหสิทธิและยกเวนแกโจทกซึ่งเปนหนวยงานของรัฐ ไมตองปดอากรแสตมปในหนังสือมอบอํานาจ แตในขณะเดียวกันฝายผูรองตองปดอากรแสตมป หากไมปดไมสามารถรับฟงเปนพยานหลักฐานได เปนบทบัญญัติที่เปนการแบงชั้นวรรณะ กอใหเกิดความไมเทาเทียมกันในกฎหมาย จึงขัดตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๔ มาตรา ๕ มาตรา ๗ มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ มาตรา ๔๘ วรรคหนึ่ง มาตรา ๖๐ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๒๓๓ ตองดวยรัฐธรรมนูญ มาตรา ๖ และยังไมมีคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในสวนที่เกี่ยวกับบทบัญญัตินี้ จึงขอใหศาลรอการพิจารณาพิพากษาคดีของผูรองไวชั่วคราว และสงความเห็นนี้ตามทางการเพื่อศาลรัฐธรรมนูญ จะไดวินิจฉัยตอไป ศาลฎีกาพิจารณาคํารองของผูรองแลว เห็นวา ขอโตแยงของผูรองเกี่ยวกับบทบัญญัติแหงประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๔ มาตรา ๕ มาตรา ๗ มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ มาตรา ๔๘ วรรคหนึ่ง มาตรา ๖๐ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๒๓๓ และขอใหสงไปใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยนั้น เปนกรณีที่ศาลฎีกาจะใชบทบัญญัติแหงประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ บังคับแกคดีนี้ และยังไมมีคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในสวนที่เกี่ยวกับบทบัญญัติดังกลาว จึงมีคําสั่งใหรอการพิจารณาพิพากษาคดีไวชั่วคราว และสงความเห็นของผูรองดังกลาวตามทางการเพื่อศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖๔ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาคํารองและเอกสารประกอบคํารองแลว เห็นวา กรณีเปนไปตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖๔ วรรคหนึ่ง จึงรับเรื่องไวพิจารณาวินิจฉัย

Page 6: ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัิย ตรelib.coj.go.th/Ebook/data/concourt/center41_47.pdfในพระปรมาภิไธยพระม

- ๖ -

คดีมีปญหาตองพิจารณาวินิจฉัยวา ประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๔ มาตรา ๕ มาตรา ๗ มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ มาตรา ๔๘ วรรคหนึ่ง มาตรา ๖๐ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๒๓๓ หรือไม มีขอตองพิจารณากอนเกี่ยวกับขอโตแยงของผูรองที่อางวาประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๔ มาตรา ๕ มาตรา ๗ มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ มาตรา ๔๘ วรรคหนึ่ง มาตรา ๖๐ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๒๓๓ ขอนี้พิจารณาแลว ผูรองโตแยงวาประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ ใหสิทธิและยกเวนแกโจทกซึ่งเปนหนวยงานของรัฐไมตองปดอากรแสตมปในหนังสือมอบอํานาจ แตในขณะเดียวกัน ผูรองตองปดอากรแสตมป หากไมปดอากรแสตมปไมสามารถรับฟงเปนพยานหลักฐานได เปนบทบัญญัติที่เปนการแบงชั้นวรรณะกอใหเกิดความไมเทาเทียมกันในกฎหมายจึงขัดตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๔ มาตรา ๕ มาตรา ๗ มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ มาตรา ๔๘ วรรคหนึ่ง มาตรา ๖๐ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๒๓๓ เห็นวา ผูรองมิไดระบุเรื่องอันเปนเหตุใหตองใชสิทธิ พรอมทั้งขอเท็จจริงหรือพฤติการณที่เกี่ยวของ และมีคําขอที่ระบุความประสงคจะใหศาลดําเนินการอยางใดพรอมทั้งเหตุผลสนับสนุนใหชัดแจง คํารองของผูรองเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ มาตรา ๔ มาตรา ๕ มาตรา ๗ มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๔๘ วรรคหนึ่ง มาตรา ๖๐ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๒๓๓ จึงไมเปนไปตามขอกําหนดศาลรัฐธรรมนูญ วาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๖ ขอ ๖ (๓) และ (๔) ศาลรัฐธรรมนูญจึงไมพิจารณาวินิจฉัย ประเด็นที่ศาลรัฐธรรมนูญตองพิจารณาวินิจฉัยตามคํารอง คงมีเพียงวา ประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐ ประกอบมาตรา ๒๙ หรือไม

Page 7: ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัิย ตรelib.coj.go.th/Ebook/data/concourt/center41_47.pdfในพระปรมาภิไธยพระม

- ๗ -

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๒๙ บัญญัติวา “การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไวจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้กําหนดไวและเทาที่จําเปนเทานั้น และจะกระทบกระเทือนสาระสําคัญแหงสิทธิและเสรภีาพนั้นมิได กฎหมายตามวรรคหนึ่งตองมีผลใชบังคับเปนการทั่วไปและไมมุงหมายใหใชบังคับแกกรณีใดกรณีหนึ่งหรือแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งเปนการเจาะจง ทั้งตองระบุบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญที่ใหอํานาจในการตรากฎหมายนั้นดวย บทบัญญัติวรรคหนึ่งและวรรคสองใหนํามาใชบังคับกับกฎหรือขอบังคับที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายดวย โดยอนุโลม” มาตรา ๓๐ บัญญัติวา “บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไมขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ จะกระทํามิได มาตรการที่รัฐกําหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือสงเสริมใหบุคคลสามารถใชสิทธิและ เสรีภาพไดเชนเดียวกับบุคคลอื่น ยอมไมถือเปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตามวรรคสาม” ประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ บัญญัติวา “ถาฝายที่ตองเสียอากรเปนรัฐบาล เจาพนักงานผูกระทํางานของรัฐบาลโดยหนาที่ บุคคลผูกระทําการในนามของรัฐบาล องคการบริหารราชการสวนทองถิ่น สภากาชาดไทย วัดวาอาราม และองคการศาสนาใด ๆ ในราชอาณาจักรซึ่งเปนนิติบุคคล อากรเปน

Page 8: ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัิย ตรelib.coj.go.th/Ebook/data/concourt/center41_47.pdfในพระปรมาภิไธยพระม

- ๘ -

อันไมตองเสีย แตขอยกเวนนี้มิใหใชแกองคการของรัฐบาลที่ใชทุนหรือทุนหมุนเวียนเพื่อประกอบการพาณิชย หรือการพาณิชยซึ่งองคการบริหารราชการสวนทองถิ่นเปนผูจัดทํา” พิจารณาแลวเห็นวา รัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๙ วรรคหนึ่ง เปนบทบัญญัติคุมครองสิทธิของบุคคล สิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไวจะจํากัดมิได เวนแตจะอาศัยอํานาจตามบทกฎหมายเฉพาะ เพื่อการที่รัฐธรรมนูญกําหนดไว และเทาที่ จํา เปนและจะกระทบกระเทือนสาระสําคัญแหงสิทธิและเสรีภาพไมได และมาตรา ๓๐ เปนบทบัญญัติที่รับรองเรื่องหลักความเสมอภาคของบุคคลวา บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ฯลฯ จะกระทํามิได สําหรับกรณีตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ เปนเรื่องการเสียอากร โดยปกติการที่กฎหมายบัญญัติใหตองมีการเสียอากร ก็เพ่ือใหเปนรายไดใหแกรัฐ เปนเงินไดของรัฐที่เก็บเอาจากประชาชน เพ่ือนําไปใชจายเปนเงินงบประมาณแผนดิน มีวัตถุประสงคที่จะเก็บจากประชาชนที่จะไดรับบริการจากรัฐ ไมไดมีวัตถุประสงคที่จะเก็บจากรัฐเอง การที่มาตรา ๑๒๑ บัญญัติวา ถาฝายที่ตองเสียอากรเปนรัฐบาล เจาพนักงานของรัฐที่กระทํางานของรัฐบาลโดยหนาที่ หรือบุคคลผูกระทําการในนามของรัฐบาล ไมตองเสียอากรแสตมป จึงชอบดวยวัตถุประสงคของกฎหมายดังกลาวแลว ทั้งนี้ แมบทบัญญัติแหงประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ จะเปนบทบัญญัติใหประโยชนแกฝายรัฐบาล เจาพนักงานของรัฐ ที่กระทํางานของรัฐบาลโดยหนาที่ หรือบุคคลผูกระทําการในนามของรัฐบาลแตเพียงฝายเดียว แตบทบัญญัติดังกลาวก็ไมไดเปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลโดยทั่วไป ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐ แตอยางใด และตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๖๙ ก็ไดบัญญัติใหบุคคลมีหนาที่เสียภาษีอากร ตามที่กฎหมายบัญญัติ การเสียอากรตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ ก็เปนภาษีอากรอยางหนึ่ง การที่ประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ บัญญัติยกเวนใหโจทกซึ่งเปนนิติบุคคลโดยเปนกระทรวงใน

Page 9: ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัิย ตรelib.coj.go.th/Ebook/data/concourt/center41_47.pdfในพระปรมาภิไธยพระม

- ๙ -

รัฐบาลไมตองปดอากรแสตมปในหนังสือมอบอํานาจ แตผูรองตองปดอากรแสตมป จึงจะสามารถรับฟงเปนพยานหลักฐานได อาจเปนการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล กอใหเกิดความไมเทาเทียมกันตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๙ และมาตรา ๓๐ นั้น ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๙ วรรคหนึ่ง ก็ไดบัญญัติยกเวนโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญกําหนดไว และเทาที่จําเปน และที่ไมกระทบกระเทือนสาระสําคัญแหงสิทธิและเสรีภาพ ดังนั้น ประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ จึงไมขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐ ประกอบมาตรา ๒๙ วรรคหนึ่ง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ จํานวน ๑๑ คน คือ นายกระมล ทองธรรมชาติ นายจิระ บุญพจนสุนทร นายปรีชา เฉลิมวณิชย นายมงคล สระฏัน นายมานิต วิทยาเต็ม นายสุจิต บุญบงการ นายสุธี สุทธิสมบูรณ พลตํารวจเอก สุวรรณ สุวรรณเวโช นายสุวิทย ธีรพงษ นางเสาวนีย อัศวโรจน และนายอุระ หวังออมกลาง เห็นวา ประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ ไมขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐ ประกอบมาตรา ๒๙ อนึ่ง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ๑ คน คือ นายผัน จันทรปาน เห็นวา คํารองไมเปนสาระอันควรไดรับการวินิจฉัย จึงใหยกคํารอง อาศัยเหตุผลดังกลาวขางตน ศาลรัฐธรรมนูญจึงวินิจฉัยวา ประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒๑ ไมขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐ ประกอบมาตรา ๒๙

Page 10: ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัิย ตรelib.coj.go.th/Ebook/data/concourt/center41_47.pdfในพระปรมาภิไธยพระม

- ๑๐ -

นายกระมล ทองธรรมชาติ ประธานศาลรัฐธรรมนูญ

นายสุจิต บุญบงการ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

นายจิระ บุญพจนสุนทร ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

นายสุธี สุทธิสมบูรณ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

นายปรีชา เฉลิมวณิชย ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

พลตํารวจเอก สุวรรณ สุวรรณเวโช ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

นายผัน จันทรปาน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

นายสุวิทย ธีรพงษ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

นายมงคล สระฏัน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

นางเสาวนีย อัศวโรจน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

นายมานิต วิทยาเต็ม ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

นายอุระ หวังออมกลาง