พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑...

89
พุทธวิธีแกปญหา เพื่อศตวรรษที๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century) พระพรหมคุณาภรณ (. . ปยุตฺโต) (Bhikkhu P. A. Payutto)

Upload: volunteerspirit

Post on 28-Mar-2016

228 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/buddhist_solutions_for_the_twenty-first_century_%28thai_eng%29.pdf

TRANSCRIPT

Page 1: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพ่ือศตวรรษที่ ๒๑

(A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)(Bhikkhu P. A. Payutto)

Page 2: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)
Page 3: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑(A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

© พระพรหมคุณาภรณ (Bhikkhu P. A. Payutto) ISBN 974-89163-6-7

พิมพครั้งแรก - สิงหาคม ๒๕๓๖พิมพคร้ังที่ ๒๐ - พฤษภาคม ๒๕๕๓ ๒๕,๐๐๐ เลม

พิมพที่

Page 4: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)
Page 5: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

อนุโมทนา

กรมการศาสนา ประสงคจะจัดพิมพหนังสือเผยแผหลักธรรม ในงานสัปดาหสงเสริมพระพุทธศาสนา เนื่องในเทศกาลวิสาขบูชา ประจาํป ๒๕๕๓ ระหวางวนัที ่๒๒–๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๓

ในการนี้ นายสด แดงเอียด อธิบดีกรมการศาสนา ในนามกรมการศาสนา ปรารภวา หนังสือ พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑ ฉบับสองพากย ไทย-อังกฤษ มีเนื้อหาสาระเหมาะที่จะเผยแพรในโอกาสสําคัญดังกลาว จึงไดแจงบุญเจตนาที่จะจัดพิมพข้ึนเปนธรรมทาน เพื่อแจกมอบแกพุทธบริษัท และผูสนใจ ใหแพรหลายทั่วไป

การบําเพ็ญธรรมทานนี้ เปนกุศลวิธีในการสรางเสริมประโยชนสุขที่แทจริงและยั่งยืนแกชีวิตและสังคม ทําใหเกิดความเจริญธรรมเจริญปญญาแกประชาชน สามารถอํานวยผลใหลุถึงจุดหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา พระพุทธเจาทรงสรรเสริญวาเปนการใหที่ประเสริฐ เลิศกวาทานทั้งปวง จึงเปนกศุลจริยาอันสมแกวาระแหงวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

ขออนุโมทนากรมการศาสนา ที่ไดบําเพ็ญบุญกิริยาแหงธรรมทาน โดยหวังใหเกิดประโยชนสุขที่เปนแกนสารแกประชาชน ขอใหงานกุศลในการเผยแผธรรมนี้สัมฤทธิผ์ลสมหมาย นาํใหประเทศชาติรมเยน็พฒันา และใหสังคมเกษมศานตมัน่คง ยัง่ยนืนานสบืไป

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)๑๗ เมษายน ๒๕๕๓

Page 6: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)
Page 7: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

สารบัญ

อนุโมทนา ............................................................................................ (๑)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑......................๑มรดกสําหรับศตวรรษที่ ๒๑: สันติสุข หรือความทุกขและปญหา ..................................................๑โลกพัฒนากาวไกล ทําไมมนุษยไมพบสันติสุข ......................................๔เม่ือเปนการพัฒนา บนฐานของปญหา ไมวาจะเจริญเพียงใด ปญหาก็ตองเจริญตามไป ..............................๖อารยธรรมไมนําสูความเกษมศานติ์ เพราะสรางสรรคมาบนรากฐานที่เปนปญหา.....................................๙โลกเริ่มสํานึกรูตัว และจับจุดของปญหาได แตจะแกไขสําเร็จ ตองมองสาเหตุใหไดครบทั่ว.............................๑๒ศาสนาจะลาสมัย ถาชวยคนใหเปนสุขไดแคในหมูพวก แลวกลายเปนตัวสรางปญหาเมื่อคนออกมานอกกลุมของตัว .........๑๔สิทธิมนุษยชนเปนหลักประกันชวยโลกไว ในยุคสมัยท่ีมนุษยยังมีรากฐานความคิดท่ีผิดพลาด .....................๑๗หลักสิทธิมนุษยชน เปนบัญญัติของคน บนฐานแหงจริยธรรมเชิงลบ ........................................................๒๐จริยธรรมเชิงบวกจะตองขึ้นมานํา จึงจะทําใหโลกอยูดีได โดยมีความหลากหลายในความเปนหน่ึงเดียว ............................. ๒๒จริยธรรมเชิงลบ ต้ังอยูบนฐานของการปองกันตัว จริยธรรมเชิงบวก ต้ังอยูบนฐานแหงการพัฒนาตัวของมนุษย........๒๕

Page 8: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๒

จริยธรรมเชิงลบ จบลงดวยการประนีประนอมขางนอก พรอมกับความขุนหมองคับของจิตอยูขางใน ................................๒๘จะกาวจากจริยธรรมเชิงลบ สูจริยธรรมเชิงบวกได ตองเขาใจความหมายของอิสรภาพใหถูกตอง ...............................๓๑อิสรภาพในความหมายที่ถูกตองครบสามขั้น เปนฐานของระบบความสัมพันธท่ีประสานกลมกลืน .....................๓๔ถาจะใหการพัฒนาพามวลมนุษยสูสันติสุข ทุกระบบการของสงัคมตองปรบัรากฐานความคดิกนัใหม ...................๓๘ระบบประนีประนอมบนฐานความคิดท่ีผิด ควรตองปดฉากลงไปดวยกันกับศตวรรษที่ ๒๐ ...........................๔๒เริ่มยุคใหมแหงศตวรรษที่ ๒๑ ดวยแนวความคิดใหมเดิมแทแหงสัจธรรม...................................๔๔สรางสรรคอารยธรรมใหม ใหแกศตวรรษที่ ๒๑ เพ่ือสนัติสขุท่ีแทและยัง่ยนื บนฐานความคดิท่ีถกูตองสมบรูณ..........๔๘

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ...........53

Page 9: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพ่ือศตวรรษที่ ๒๑∗

ทานผูเปนญาติมิตรรวมโลกทั้งหลายวันนี้ นับเปนครั้งแรกในศตวรรษ ท่ีเราทั้งหลายไดมารวม

การประชุมมหาสันนิบาตทางศาสนาระดับนานาชาติท่ีใหญโตมโหฬารขนาดนี้ ระหวางชวงเวลา ๑๐๐ ป นับแตการประชุมสภาศาสนาครั้งกอนเปนตนมา โลกไดประสบความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญๆ มากมายหลายครั้ง คนพูดกันวา บัดนี้ เราไดเขามาอยูในสังคมที่ผานพนยุคอุตสาหกรรมมาเปนสังคมขาวสารขอมูล และกําลังกาวเขาสูยุคหลังสงครามเย็น

มรดกสาํหรับศตวรรษที่ ๒๑:สันติสุข หรือความทุกขและปญหา

เมื่อสงครามเย็น (Cold War) สิ้นสุดลง ความตึงเครียดและภัยที่นากลัวจากการเผชิญหนาของมหาอํานาจ ๒ ฝาย ในโลกที่แบงกันเปน ๒ คาย ก็ดูเหมือนจะสิ้นสุดลงไปดวยพรอมกับการที่ศตวรรษที่ ๒๐ ก็จะสิ้นสุดลง คนทั้งหลายจํานวนมากมี ∗ สารบรรยาย สําหรับที่ประชุมสภาศาสนาโลก ป ๒๕๓๖ ณ เมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา๒๘ ส.ค. – ๔ ก.ย. พ.ศ. ๒๕๓๖

Page 10: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๒

ความหวังวา ตอไปนี้ในศตวรรษที่ ๒๑ มนุษยคงจะมีความสงบสุขมากขึ้น โลกจะมีสันติภาพ

แตหลังจากนั้นไมนานเทาไร คนก็รูสึกวาเรื่องจะไมเปนอยางนั้นเสียแลว ปรากฏตอมาวา ถึงแมภัยที่คิดวาผานพนไปไดน้ัน จะเปนภัยอันตรายใหญท่ีนากลัวมาก ซ่ึงอาจจะทําใหโลกถลมทลายลงดวยสงครามนิวเคลียร แตภัยใหญน้ันก็ไดแตนากลัวเทานั้น มันมิใชภัยที่จะเกิดขึ้นจริง เมื่อภัยอันใหญน้ันหมดไปแลว การณกลับกลายเปนวา ภัยอันตรายขนาดยอยเล็กนอยลงไป ไดเกิดขึ้นในที่ตางๆ กระจัดกระจายทั่วไปมากมาย ซ่ึงเปนอันตรายที่เกิดขึ้นจริงๆ

ภัยอันตรายใหญของสงครามเย็นนั้นทําใหคนเอาใจมาจดจอรวมอยูเปนจุดเดียวกัน ถึงแมมันจะเปนภัยใหญท่ีนากลัวก็จริง แตก็ยากที่จะเกิดขึ้น แตพอมาถึงภัยขนาดยอยกระจัดกระจายนี้ มันกลับเกิดขึ้นจริงและคุมไดยากกวา แมแตภัยจากอาวุธนิวเคลียรท่ีนึกวาจะสิ้นสุดลง ก็หาไดสิ้นสุดลงจริงไม แตกลับยิ่งนากลัวกวาเกา เพราะคุมไดยาก เนื่องจากอาวุธรายนั้นไดกระจายไปอยูในมือของประเทศตางๆ มากมาย แมแตท่ีเปนประเทศเล็กๆ และมีภูมิหลังตางๆ กัน

แตกอนนี้ก็กลัวสงครามระหวางคายอุดมการณ เมื่อสงครามระหวางคายอุดมการณจางหายไป ก็กลับมีความขัดแยงเนื่องจากความแบงแยกในเรื่องเชื้อชาติ เรื่องผิว เรื่องศาสนาชัดเจนรุนแรงยิ่งขึ้น มีการเขนฆาสังหารกันอยางโหดเหี้ยมทารุณ

Page 11: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๓

สงครามภายในประเทศตางๆ ท่ีเปนเรื่องของความแบงแยกเหลานี้ปรากฏมากขึ้น กระจายไปในที่ตางๆ ท่ัวทุกสวนของโลก

นอกจากนั้นก็มีปญหาการกอการรายท่ีรุนแรงยิ่งขึ้นทุกที การที่โลกแคบเขา เนื่องจากเทคโนโลยีดานขาวสารขอมูลไดพัฒนาไปไกล ทําใหผูคนติดตอถึงกันไดทางการสื่อสารคมนาคมติดตอกันงายและไปมาสะดวก แตแลวก็ปรากฏวาการติดตองายไปมาสะดวกนี้กลับกลายเปนการทําใหปญหาพลอยมีโอกาสรุนแรงมากขึ้นดวย เพราะการกอการรายก็ตามติดเขามากับการสื่อสารคมนาคมนั้นเอง ทําใหการเดินทางยากลําบาก และภัยอันตรายก็ไปจากประเทศหนึ่งถึงอีกประเทศหนึ่งไดงาย คนรายสามารถไปกอการรายในประเทศอื่นๆ ไดฉับไว

ไมใชแคน้ัน เรื่องนี้ยังกระทบมาถึงปญหาการอพยพเขาเมือง และการลี้ภัยอีกดวย ทําใหคนในประเทศตางๆ หวาดระแวงกัน ในขณะที่สงครามเชื้อชาติและสงครามศาสนาทําใหมีการอพยพลี้ภัยมากขึ้น ปญหาจากการอพยพลี้ภัยนั้นก็เกิดขึ้นอีกแบบหนึ่ง เนื่องจากในการอพยพลี้ภัยนั้นก็มีผูท่ีแอบแฝงเขาไปดําเนินการกอการรายระหวางประเทศ

นอกจากนี้ ปญหาการอพยพและลี้ภัยยังสงผลใหปญหาความขัดแยงระหวางกลุมชนเพิ่มมากขึ้น ในเมื่อชนเจาถิ่นไมพอใจตอผูอพยพลี้ภัยเขามา เนื่องจากความรังเกียจในดานเชื้อชาติศาสนาและสีผิวบาง กลัววาผูอพยพลี้ภัยเหลานั้นจะแยงโอกาสในการทํามาหากินบาง ทําใหเกิดการทํารายและกีดกันกัน ความ

Page 12: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๔

ยุงยากเดือดรอนก็ยิ่งแผขยายออกไป พรอมกับท่ีความสงบสุขในสังคมมนุษยก็ลดนอยลง

การแบงแยก รังเกียจ และเกลียดชังกันนี้ ถูกทําใหแรงเขมมากขึ้นดวยการแกงแยงแขงขันกัน ในการแสวงหาทรัพยากรเมื่อคนโลภแขงขันแยงชิงทรัพยากรกัน ก็เบียดเบียนกันเองดวยแลวก็ตองไปเอาทรัพยากรนั้นจากธรรมชาติดวย ก็เลยเกิดปญหาท้ังสองประการ คือ ท้ังปญหาทางดานธรรมชาติท่ีคนไปเบียดเบียนทําลาย ทําใหสภาพแวดลอมเสียรุนแรงขึ้น และเกิดความขาดแคลนทรัพยากร พรอมกันนั้นคนก็เบียดเบียนคนดวยกันมากยิ่งขึ้นดวย

โดยเฉพาะปญหาธรรมชาติแวดลอมเสีย และทรัพยากรขาดแคลนหรือสิ้นเปลืองหมดไปนี้ ก็มาเกิดขึ้นหรือมาปรากฏเปนผลชัดเจนขึ้นเมื่อจะสิ้นศตวรรษที่ ๒๐ น้ีเอง ซ่ึงจะสงผลใหคนในศตวรรษที่ ๒๑ ตองเดือดรอนมาก กลายเปนวาคนในศตวรรษที่๒๑ จะตองรับมรดกผลกรรมของคนที่ทําไวในศตวรรษที่ ๒๐ทรัพยากรมากมายของธรรมชาติท่ีสั่งสมมาโดยใชเวลาหลายรอยลานป ถูกคนผลาญใหหมดไปในเวลาเพียง ๑๐๐ - ๒๐๐ ปเทาน้ันเอง

โลกพัฒนากาวไกล ทําไมมนุษยไมพบสันติสุขเทาที่พูดมานี้จะเห็นชัดวา ปญหาทั้งหลายเกิดจากความ

ชิงชัง หรือเกลียดชังกัน ดวยอํานาจของโทสะอยางหนึ่ง และปญหาที่เนื่องจากความโลภอยางหนึ่ง โลภะและโทสะนี้เปนตัว

Page 13: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๕

การสําคัญ เมื่อวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเจริญกาวหนามากขึ้นตลอดจนเกิดมี high technology หรือเทคโนโลยีช้ันสูง ซ่ึงเกี่ยวของกับขาวสารขอมูลข้ึนมา ก็ปรากฏวาความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีเหลานั้น ถูกนํามาสนอง โลภะ และโทสะ คือถูกใชเปนเคร่ืองมือรับใชโลภะ และโทสะ ใหแสดงฤทธิ์เดชไดเต็มแรงเต็มกําลังยิ่งขึ้น

การสรางความเจริญทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมที่เปนมา ไดเปนไปในแนวทางของการสนองโลภะและโทสะเสียเปนสวนใหญ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พรอมท้ังความเจริญของเทคโนโลยีทางดานขาวสารขอมูลและการสื่อสาร ไดถูกใชในการนํามากลอมมนุษยใหเพลิดเพลินลุมหลงอยูในความมัวเมาตางๆ มากกวาจะใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิต หรือพัฒนาตัวมนุษยเอง เทคโนโลยีเหลานั้นถูกใชเปนเคร่ืองมือแสวงหาสิ่งบําเรอความสุขสนองความโลภ และพรอมกันนั้นก็ใชเปนเครื่องมือสนองโทสะรับใชการทําลายดวยความเกลียดชังกัน มีการแยงชิงสิ่งบริโภคกัน การครอบงํากัน และการพยายามกําจัดกัน เนื่องจากการรังเกียจแบงแยกพวก ผิว เชื้อชาติ ศาสนา ความเกลียดชังแบงแยกกันก็มีอยูแลว ความโลภยังมาหนุนใหความเกลียดชังแบงแยกนั้นรายแรงยิ่งขึ้นไปอีก

แมแตเทคโนโลยีท่ีสรางขึ้นเพื่อประโยชนในการอํานวยความสะดวกสบายตางๆ ก็กลับถูกนํามาใชเปนเครื่องมือทําลายลางมนุษยเสียเอง ทําใหคนในยุคที่เจริญนี้ กลับมีภัยอันตรายมากขึ้น เพราะทําลายกันไดงายยิ่งขึ้น ยกตัวอยางเชน ไฟฟาที่

Page 14: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๖

เปนเคร่ืองมือใหแสงสวาง และใหพลังงานตางๆ แตกอนโนนคนจะทําลายกันโดยจะใหไฟดับท้ังเมือง จะตองไปเที่ยวตามดับไฟแตละบานๆ แตปจจุบันนี้เพียงทําลายที่แหลงจายไฟฟากลางหรือโรงงานผลิตไฟฟาแหงเดียว ไฟก็ดับท้ังเมือง พลังงานใชไมไดคนเกิดความเดือดรอนทีเดียวทั่วทั้งเมือง

ตกลงวา ความโลภเห็นแกตัว และความชิงชังรังเกียจกันท่ีเคียงคูกันมานี่แหละ ไดกอปญหาใหแกมนุษยท้ังในระหวางมนุษยกับมนุษยดวยกันเอง และมนุษยกับธรรมชาติ

การแกปญหาขางตนนี้ จะทําไดก็ตองมีการขัดเกลาควบคุมความโลภ และความเกลียดชัง แตเปนธรรมดาของมนุษยปุถุชนยอมมีความโลภและความโกรธ การพูดนั้นทําไดงาย แตจะแกปญหาจริงทําไดยาก จะตองมีการศึกษาชนิดที่เปนการพัฒนามนุษยกันอยางจริงจัง

เมื่อเปนการพัฒนา บนฐานของปญหาไมวาจะเจริญเพียงใด ปญหาก็ตองเจริญตามไป

อยางไรก็ตาม ความโลภ และความโกรธที่เปนธรรมดาของมนุษยปุถุชนนี้ จะควบคุมไดงายขึ้น แลวก็จะเปนเรื่องประเภทเฉพาะกรณี ท่ีเกิดขึ้นแลวก็หายไป คงอยูไมนาน ถาไมมีปจจัยตัวที่สามมาคอยหนุน

ขอสําคัญ การที่ความโลภและความโกรธเหลานั้น กอใหเกิดภัยอันตรายรุนแรงและยาวนานกวางไกล ก็เพราะปจจัยอีก

Page 15: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๗

อยางหนึ่งในจิตใจของมนุษย อันนี้คือสิ่งที่เรียกวา ทิฏฐิ หรือความเห็น ความเชื่อ ลัทธินิยม และแมแตศาสนา หรืออุดมการณตางๆ ตลอดจนคานิยมในสังคม เมื่อใดความโลภ ความโกรธความชิงชังกัน มีความเชื่อ มีความคิดเห็น มีลัทธิ หรือมีคานิยมเปนที่เกาะ เปนที่ยึดถือจับตัวแลว มันก็จะมีตัวกําหนดทิศทางและคอยกํากับใหความโลภและความโกรธแคนนั้นกออันตรายไดอยางสม่ําเสมอเปนประจํา คงอยูนาน และแกไขไดยาก

เมื่อมีความยึดถือตามๆ กันไป จะโดยรูตัวหรือไมรูตัวก็ตาม มันก็จะกลายเปนกรรมของสังคมที่มีผลกวางไกลสืบไปตลอดกาลเวลาอันยาวนาน

ในทางตรงขาม ถามีความเห็นถูกตอง มีความเชื่อถูกตองมีคานิยม มีลัทธิอุดมการณท่ีถูกตอง นอกจากผลดีและพลังสรางสรรคมากมายจะเกิดจากทิฏฐิท่ีถูกตองนั้น และทิฏฐิท่ีถูกตองนั้นจะเปนฐานหนุนคุณธรรมที่ตรงขามกับโลภะและโทสะใหมีกําลังมากขึ้นแลว ความโลภและความโกรธที่ยังมีอยู ก็จะเกิดไดนอยอยูในขอบเขตจํากัด และถูกควบคุมไดงาย เพราะไมมีท่ีเกาะที่ยึดหรือฐานที่จะตั้งตัว

แตปจจุบันนี้เราจะเห็นไดชัดวา ความโลภ ความโกรธไดถูกหนุนใหแนนหนาและมีกําลังมาก เพราะมีฐานมีท่ีเกาะที่ยึดจากความเห็นผิด

ในยุคที่ผานมา เรามีปญหากับเรื่องอุดมการณใหญๆ ท่ีแบงโลกออกเปน ๒ คาย เวลานี้เราบอกวาการขัดแยงแขงขันระหวางอุดมการณใหญน้ันหมดไป แตท่ีจริงเราไมไดหมดปญหา

Page 16: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๘

จากอุดมการณหรอก เพราะอุดมการณน้ี ก็คือเรื่องของทิฏฐิน้ันเอง ท่ีจริงเรากลับลงไปสูปญหาในเรื่องทิฏฐิ ท่ีลึกลงไปถึงขั้นรากฐานทีเดียว

เพื่อรวบรัดจะพูดไดวา มิจฉาทิฏฐิ ความเห็นผิดสําคัญที่ครอบงําอารยธรรมของมนุษยสมัยปจจุบัน มี ๓ ประการ คือ

๑. การมองตัวมนุษยเอง แยกตางหากจากธรรมชาติโดยมีฐานะที่จะไปเปนเจาของผูครอบครองพิชิตธรรมชาติ และจัดการกับธรรมชาติตามความปรารถนาของตน

๒. การมองเพื่อนมนุษย ไมเปนเพื่อนมนุษย คนไมมองคนในความมีภาวะที่รวมกัน แตมองแบบแบงแยกออกไปวา เปนมนุษยพวกโนน พวกนี้ มีตัวกําหนดแบงแยกตางๆ

๓. การมองความสุข วาเกิดจากการมีวัตถุท่ีจะบํารุงบําเรอตนใหเต็มท่ี โดยเขาใจวามนุษยจะมีความสุขไดตอเมื่อมีวัตถุเสพบํารุงบําเรอมากที่สุด

ขอท่ี ๑ เปนทรรศนะหรือทิฏฐิตอธรรมชาติ ขอท่ี ๒ เปนทิฏฐิหรือทรรศนะในการมองมนุษยดวยกัน ขอท่ี ๓ เปนการมองจุดหมายของชีวิตของตัวมนุษยเอง

ทิฏฐิ ๓ อยางนี่แหละเปนตัวกําหนดทิศทางหรือวิถีการกระทําของมนุษย ซ่ึงเราเห็นไดไมยากวามันมีบทบาทอยางไรในปจจุบัน มนุษยปจจุบันนี้ตกอยูใตอํานาจครอบงําของทิฏฐิเหลานี้

Page 17: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๙

ถามนุษยท้ังหลายอยูใตอํานาจของมัน เขาก็มีกรรมรวมกัน เรียกวาเปนกรรมของสังคม สังคมก็จะหันเหหมุนวนเปนไปตามทิฏฐิเหลานี้ คือเปนไปตามกรรม อันไดแกการกระทําในรูปแบบตางๆ ของมนุษยท่ีเกิดจากทิฏฐิเหลานี้

เพราะฉะนั้น จึงตองย้ําวา เมื่อความโลภและความโกรธหรือ โลภะ และโทสะ คือความอยากได และความแบงแยกเกลียดชังกันนั้น มีทิฏฐิเปนฐานกอตัว หรือกอตัวขึ้นเปนทิฏฐิแลว กลายเปนความเห็น เปนหลักการ เปนความเชื่อ ไมวาจะทางศาสนาหรืออะไรก็ตามขึ้นมาแลวนี้ มันจะลงลึก มันจะแนบแนน และก็จะยืดเยื้อมั่นคงกอผลยาวนานกวางไกล แกไขไดยากและในการแกไขนั้น ถาไมแกใหถึงขั้นทิฏฐิคือความเห็นผิดเหลานี้แลว การแกความโลภและความโกรธก็ไมมีทางสําเร็จได

อารยธรรมไมนําสูความเกษมศานติ์เพราะสรางสรรคมาบนรากฐานที่เปนปญหา

แมแตวิทยาการตางๆ ซ่ึงเปนที่มาของความเจริญของโลกยุคปจจุบัน หรือวาเปนแหลงของอารยธรรมปจจุบันนี้ ท่ีแบงกันเปน ๓ หมวดใหญๆ คือ วิทยาศาสตรธรรมชาติ หรือ thenatural sciences แลวก็สังคมศาสตร หรือ the social sciencesและมนุษยศาสตร หรือ the humanities น้ัน ก็แทบจะไมรูตัวกันเลยวาไดเจริญมาตามแนวคิด หรือทิฏฐิท้ัง ๓ ประการนี้

Page 18: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๑๐

ในที่น้ีอาจจะพูดคราวๆ โดยยังไมวิเคราะห เอาเปนแบบงายๆ ชนิดพอผานหูไวกอนวา

หมวดหรือพวกที่ ๑ คือ วิทยาศาสตรธรรมชาติ (thenatural sciences) น้ัน ไดเจริญมาตามวิถีของทิฏฐิ คือตามแนวคิดของมนุษยท่ีมุงมองออกไปในการที่จะพิชิตธรรมชาติ หรือวาแยกตัวตางหากออกมาจากธรรมชาติ แลวก็พยายามที่จะพิชิตธรรมชาติ

หมวดหรือพวกที่ ๒ คือ สังคมศาสตร (the socialsciences) ไดเจริญมาในแนวทางของคนที่มองมนุษยท้ังหลายอยางที่ไมเปนเพื่อนมนุษยตอกัน แตมองแบบแบงแยกวาเปนพวกนั้น พวกนี้ ท่ีจะแกงแยงครอบงํากัน คือเปนสังคมศาสตรในทรรศนะแบบมุงอํานาจ มองเห็นมนุษยแตในแงของการแกงแยงชวงชิงและครอบงํากัน อยูในระบบของการแขงขันเปนสําคัญ

หมวดหรือพวกที่ ๓ คือ มนุษยศาสตร (the humanities)ก็เจริญมาในแนวคิดของคนที่มองความหมายของอิสรภาพ หรือfreedom ซ่ึงเปนจุดหมายของชีวิต ในแงของการแผขยายพลังอํานาจออกไปนอกตัวในการที่จะไดเปนใหญท่ีจะทําอะไรๆ ไดตามปรารถนา หรือแมแตจะครอบงําเปนใหญเหนือธรรมชาติและเหนือเพื่อนมนุษยดวยกัน คือมองไปที่ความเปนใหญเหนือสภาพภายนอกทั้งหมด ซ่ึงเปนทิฏฐิตนตอที่ไดเปนฐานใหแกการพัฒนาวิทยาศาสตรและสังคมศาสตรดวยซ้ําไป

หมายความวา แนวคิดของมนุษยศาสตรน้ี เปนฐานเดิมของแนวคิดของวิทยาศาสตรธรรมชาติ และสังคมศาสตรดวย

Page 19: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๑๑

เมื่อมองอิสรภาพ หรือ freedom ในความหมายอยางนี้ก็ทําใหมองความหมายของความสุขไปในแนวทางเดียวกัน คือมองเห็นความสุขเนื่องกันอยูกับอิสรภาพชนิดที่จะไปเปนเจาเปนใหญ เหนือสิ่งภายนอก ไดแกการที่จะเอาสิ่งภายนอกมาบําเรอตนเอง เชนการที่จะเสพวัตถุไดเต็มท่ี

เมื่อเปนเชนนี้ ก็ยอมมีความเปนไปไดมากที่วิทยาการตางๆ จะเปดชองใหแกการใชศักยภาพไปในทางที่จะสนองความโลภ ท่ีมุงจะไดสิ่งตางๆ เอาเขามาใหแกตนแบบเห็นแกตัว มัวเมาเสพสุขบํารุงบําเรอตน แลวก็มุงอํานาจในการที่จะเปนใหญเหนือธรรมชาติและมนุษยอื่น

ดังไดกลาวแลววา ถาคนมีทิฏฐิ มีแนวความคิด ความเชื่อถือ และยึดถืออยางนี้แลว ถึงจะแกความโลภ หรือความเห็นแกตัว และโทสะความเกลียดชังอยางไร ก็แกไมตก แกไมสําเร็จปญหาตางๆ ในโลกไมมีทางแกได ถามนุษยยังมีทิฏฐิแบบนี้

ยิ่งตอไปนี้ประชากรโลกจะเพิ่มมากขึ้น พรอมกับท่ีทรัพยากรธรรมชาติจะยิ่งลดนอยลง และธรรมชาติแวดลอมก็เสียมากขึ้นๆ ความเชื่อหรือการมีทิฏฐิคือแนวความคิดที่วามาทั้งสามประการนี้ จะทําใหปญหามีแตรุนแรงยิ่งขึ้น เพราะวาเมื่อคนมากข้ึน และทรัพยากรนอยลง ความเชื่อในการมีอิสรภาพ และความสุข ดวยการออกไปพิชิตธรรมชาติในภาวะที่มนุษยมองแบงแยกกันเปนคนละกลุมคนละพวกอยางนี้ ก็จะยิ่งบีบใหคนตองเบียดเบียนแยงชิงกันหนักขึ้น รุนแรงยิ่งขึ้น และทําลายธรรมชาติผลาญทรัพยากรรวดเร็วยิ่งขึ้น

Page 20: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๑๒

นอกจากนี้ ทิฏฐิท่ีผิดสามอยางนี้ยังไดชักนํามนุษยใหพัฒนาวิถีการดําเนินชีวิตที่กอใหเกิดผลรายแกชีวิตและสังคมแพรระบาดทั่วไป เชน การติดสิ่งเสพติด ความรุนแรงตางๆความเครียด โรคจิต การฆาตัวตาย ตลอดจนโรคเอดส เพราะฉะนั้นจึงไดกลาววา ประชากรของโลกในศตวรรษที่ ๒๑ กําลังจะตองไดรับผลกรรมของพวกเราที่ทําไวในศตวรรษที่ ๒๐ น้ีอยางหนัก

ขอย้ําอีกครั้งหนึ่งวา การแกไขปญหาความโลภ ความโกรธ ความเห็นแกตัว การแยงชิงสิ่งเสพบํารุงบําเรอ และการเกลียดชังทําลายซึ่งกันและกันนั้น เปนเรื่องสําคัญที่ตองแกไขก็จริง แตจะแกไขได ตองแกใหถึงขั้นทิฏฐิ ไมใหความโลภและความเกลียดโกรธนั้นมีท่ียึดที่เกาะที่กอตัวจับตัวจนกลายเปนสภาพเหนียวแนน ยืดเยื้อ มั่นคง สงผลกวางไกล และยาวนาน

โลกเริ่มสํานึกรูตัว และจับจุดของปญหาไดแตจะแกไขสําเร็จ ตองมองสาเหตุใหไดครบทั่ว

ทิฏฐิ น้ีเปนเรื่องของศาสนาโดยตรง ตัวศาสนาเองก็เปนทิฏฐิ เมื่อศาสนาจะชวยโลกใหแกปญหา ศาสนาเองจะตองเปนทิฏฐิท่ีดี หรือเปนตัวเอื้ออํานวยใหเกิดทิฏฐิท่ีถูกตอง ท่ีจะดําเนินไปสูการแกปญหาของโลก โดยตัวเองจะตองไมไปสั่งสอนหรือไปหนุนทิฏฐิท่ีกลาวมาขางตน

Page 21: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๑๓

ปจจุบันนี้ ในประเทศพัฒนาท้ังหลาย ก็ยอมรับกันทั่วไปแลววา การมองมนุษยแยกตางหากจากธรรมชาติ แลวจะไปพิชิตธรรมชาติน้ัน เปนสิ่งที่ไมถูกตอง เดี๋ยวนี้ในประเทศพัฒนาแลวเหลานั้น มีการย้ําเนนกันนักวาจะตองมองมนุษยเปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ

โดยเฉพาะในการแกปญหาธรรมชาติแวดลอม วงการทางวิชาการ หนังสือ เอกสาร และผูชํานาญการที่พูดเกี่ยวกับsustainable development ท่ีเราแปลกันวา การพัฒนาแบบยั่งยืนมักจะย้ําเนนกันวา ตอไปนี้เราจะตองมองมนุษยเปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ มนุษยจะตองอยูรวมกันดวยดีโดยสงบกับธรรมชาติ

การพัฒนาแบบยั่งยืน หรือ sustainable development น้ีเปนเรื่องที่เดนในปจจุบัน การที่มาจับจุดเนนกันใหมนุษยมองตนเองเปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ จึงนับวาเปนนิมิตดีท่ีจะมีการแกทิฏฐิขอท่ี ๑ คือปรับเปลี่ยนการมองความสัมพันธระหวางมนุษยกับธรรมชาติเสียใหม ซ่ึงจะเปนทางแกปญหาไดอยางหนึ่ง

แตการแกทิฏฐิขอท่ี ๑ เทานั้นยังไมเพียงพอ ทิฏฐิท่ีกลาวมาแลวทั้ง ๓ อยาง จะตองสอดคลองไปดวยกันทั้งหมด จึงจะแกปญหาไดจริง ไมใชแกปญหาแคทิฏฐิอยางหนึ่งอยางเดียว ซ่ึงเปนเรื่องที่ไปไมตลอด ไมครบวงจร และไมสําเร็จผลจริง

สิ่งที่สําคัญไมนอย ซ่ึงจะสงผลไปถึงการแกปญหากับธรรมชาติดวย ก็คือ ปญหาการมองความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษยดวยกันเองวาเรามองมนุษยอื่นอยางไร ทิฏฐิขอน้ีมี

Page 22: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๑๔

ความสําคัญไมนอยไปกวาการมองธรรมชาติ เปนทิฏฐิประการที่สองที่ตองแกไขศาสนาจะลาสมัย ถาชวยคนใหเปนสุขไดแคในหมูพวกแลวกลายเปนตวัสรางปญหาเมือ่คนออกมานอกกลุมของตวั

วันนี้ศาสนาทั้งหลายมาประชุมกัน เพื่อหาทางชวยใหมนุษยอยูรวมกันโดยสงบสุข หาทางชวยกันบรรเทาความทุกขยากของโลก ก็นับวาเปนเรื่องที่ดี เปนความเพียรพยายามในเวลาอันสมควร ซ่ึงวาที่จริงก็ถึงเวลาอันสมควรมานานแลว

แตวงการศาสนาก็ควรจะตองยอมรับความจริงวา เทาที่ผานมาในอารยธรรมมนุษยน้ี ศาสนาไดมีบทบาทเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหมนุษยแบงแยก ตลอดจนรบราฆาฟนทําสงครามกันไมนอย ถาจะแกปญหาจริงก็ตองเปดใจกันมาพูด และพูดกันอยางเปดเผยดวยความซื่อตรงและจริงใจ ยอมสํารวจตัวเองกอนกอนที่จะไปสอน หรือไปเรียกรองจากคนอื่น

เราจะตองหันกลับไปคนหาเหตุภายในศาสนาวา มีจุดหันเหหรือเคามูลอะไรที่ทําใหผูคนในสมัยที่ผานมาแลว ตองไปรบราฆาฟนกันดวยเรื่องศาสนา ถาจับจุดนั้นไดก็แกท่ีจุดนั้น จะถูกตองกวามาพูดกันในวันนี้

การพูดในวันนี้ก็เปนสิ่งที่ดี คือถาเราพิจารณาหาจุดนั้นไดมองเห็นเหตุตนเคานั้นแลว การมาพูดกันที่น่ีก็จะพลอยไดผลดีไปดวย

Page 23: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๑๕

ในบรรดาจุดหลายจุดที่อาจจะมองนั้น จุดสําคัญที่สุดในข้ันพื้นฐานที่จะตองสํารวจใหชัดเจนก็คือ ศาสนาของเราสอนใหมองมนุษยอื่น หรือคนพวกอื่น ตลอดจนคนที่นับถือศาสนาอื่นอยางไร ใหมองอยางยอมรับและเคารพกันในภาวะและฐานะที่เสมอและโนมไปในทางที่จะอยูรวมกัน หรือมองในแงท่ีจะแบงแยก ไมยอมรับ ไมเคารพ ไมเห็นคุณคาของกันและกัน ตลอดจนจะตองไปพิชิต หรือมองผูอื่นเปนคนบาปเปนตน ท่ีจะตองไปกําจัด

ในอดีตแหงยุคสมัยที่ผานมานั้น ศาสนาสวนใหญไดมีบทบาทชวยเหลือสังคมเปนกลุมๆ ทําใหคนในหมูน้ันหรือกลุมน้ันอยูกันเปนสุข มีความสามัคคีกัน มีสันติดวยดี แตพอออกมาเกี่ยวของกับคนนอกกลุม ท่ีเรียกวาพวกอื่น การมองก็เปลี่ยนไป กลายเปนการมองแบบแบงแยก เห็นกันเปนปรปกษ ท่ีจะตองขัดแยงแยงชิงหรือตอสูกัน น่ันแหละเปนตัวเหตุอยางหนึ่งที่ทําใหคนรบราฆาฟนกัน

คําสอนทางศาสนาอยางนั้นจึงเหมาะกับความเปนอยูของมนุษยท่ีอยูในระดับทองถิ่น แตพอขยายออกไป โดยเฉพาะเมื่อมาถึงยุคนี้ท่ีคนจะอยูกันในระดับท่ีเปนประชาคมโลก หรือเปน global village อะไรทํานองนี้ คําสอนของศาสนาก็เลยจะไมทัน ไมเขากันกับสภาพปจจุบันของโลก

เลยกลายเปนวา พอมาถึงยุคนี้ โลกเจริญรุดหนาไปถึงขั้นท่ีคนอยูรวมกันทั้งโลก แตคําสอนของศาสนานั้นยังเหมาะสําหรับการอยูรวมกันเปนกลุมเล็กๆ เปนเหตุใหมนุษยเหลานี้ไมพรอมท่ี

Page 24: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๑๖

จะอยูรวมกันในระดับโลกทั้งหมด ยังมีความรูสึกนึกคิดในแบบที่จะอยูเปนกลุมๆ แลวก็จะตองยกพวกมาตีรันรบราฆาฟนกัน ดังที่เราก็เห็นกันอยูชัดเจนวา สภาพปจจุบันกําลังเปนอยางนั้น

ถาอยางนี้ก็กลายเปนวา การพัฒนาคนไมทันกับสภาพการพัฒนาทางรูปธรรมของโลก โลกเจริญไปจนกระทั่งมนุษยจะตองอยูรวมกันทั้งโลก แตภาวะจิตใจและปญญาของมนุษย ยังไมพรอมท่ีจะอยูรวมกันอยางนั้น ยังเหมาะสําหรับการอยูกันเปนพวก เปนกลุมเล็กๆ ศาสนาเองก็ไมคุนกับบทบาทที่จะชวยมนุษยในวงกวางระดับโลกใหอยูกันโดยสันติสุขได

เพราะฉะนั้น ศาสนาแทนที่จะเปนปจจัยชวยโลกใหอยูรวมกันดวยความสงบและสันติสุข ก็กลับเปนตัวแบงแยกทําใหมนุษยแตกกัน ขัดแยง และทําลายกัน ตลอดจนรบราฆาฟน ทําสงครามกันรุนแรงยิ่งขึ้น กลายเปนวาศาสนาปรับตัวไมทันกับความเจริญของโลก

ถาเปนอยางนี้ ศาสนาจะตองทบทวนบทบาทของตนและยิ่งกวานั้นจะตองทบทวนใหลึกลงไปถึงรากฐานทางความคิด ท่ีเปนทิฏฐิของตนดวย เพราะบทบาทที่แสดงออกนั้นจะเปนไปดวยดีก็ตองมีทิฏฐิท่ีถูกตองเปนฐานให

ศาสนาจะตองสอนใหมนุษยน้ันมองมนุษยพวกอื่นในภาวะและฐานะที่เสมอกันกับตน ยอมรับและเคารพกัน และใหมองดวยทาทีของการที่จะอยูรวมกัน คือมีท้ังความเสมอและสมาน

Page 25: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๑๗

เสมอคือเทาเทียมกัน และสมานคือรวมกัน ไมใชสอนในแงท่ีทําใหมองมนุษยไมเปนเพื่อนมนุษย ซ่ึงไมเสมอ และมองในแบบท่ีจะแยกกัน ซ่ึงเปนการไมสมาน

ถามองในแงบวกอยางนั้นยังไมได ถาทําไมไดในขั้นบวกอยางที่วามาแลว อยางนอยในแงลบ ก็ตองใหถือวา การทําลายชีวิตมนุษยเปนบาป คือฆาคนแลวเปนบาปทั้งนั้น ไมวาฆามนุษยคนไหนกลุมใด ใหหลักนี้เปนพื้นฐานไวกอน เปนขั้นตนที่สุดในเมื่อยังไมมีความรูสึกเชิงคุณธรรมในแงบวก เชนเมตตาเปนตน

สิทธิมนุษยชนเปนหลักประกันชวยโลกไวในยุคสมัยที่มนุษยยังมีรากฐานความคิดที่ผิดพลาด

เวลานี้ก็เห็นกันอยูชัดๆ วา มนุษยในยุคปจจุบันยังมีปญหาการแบงแยกเบียดเบียนขมเหงแยงชิงกันมาก ชอบแขงขันกัน คือแบงพรรคแบงพวก และถาพิจารณาใหดีก็จะเห็นวา คําที่เราพูดกันเดนในปจจุบัน ซ่ึงเปนเรื่องขึ้นหนาขึ้นตาของอารยธรรมยุคนี้ (และเปนคําที่มาจากตะวันตก) คือคําวา สิทธิมนุษยชน(human rights) ตลอดจนคําวา การยอมทนกันได (tolerance) ในระหวางศาสนาเปนตนนั้น ไดมีความสําคัญขึ้นมามากในยุคปจจุบันนี้ ก็เพราะเราอยูในระบบความคิดแบบที่วามานี้น่ันเองคือระบบความคิดแบบแบงแยกพรรคพวกกัน

เราตองยอมรับวา คําวา human rights และ toleranceเปนตนนั้น เปนสิ่งสําคัญมากในยุคปจจุบันนี้ และเปนหลักที่ดีงามมีประโยชนมาก จําเปนสําหรับคนในยุคปจจุบัน แตก็ตอง

Page 26: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๑๘

ยอมรับดวยวา ท่ีเปนอยางนี้ ก็เพราะวาเรายังอยูในโลกที่อยูภายใตระบบความคิดแบบแบงแยก หรือมีรากฐานความคิดอยูในระบบการแบงแยกนั้น

สิทธิมนุษยชนและการยอมทนกันทางศาสนาเปนตน เปนหลักประกันที่จะชวยใหมนุษยในยุคที่มีระบบความคิดแบบแบงแยกนั้นพออยูดวยกันไปได โดยไมเบียดเบียนขมเหงกัน คือปองกันไมใหฝายหนึ่งเขามาครอบงํา บังคับ หรือทําลายอีกฝายหนึ่ง และไมใหตางคนตางกลุมตางพวกมากดขี่กัน

คําวา สิทธิมนุษยชน (human rights) เปนตนนี้ เกิดจากภูมิหลังในประวัติศาสตร ท่ีมนุษยอยูมาดวยการดิ้นรนตอสู เมื่อมนุษยยังอยูในระบบความคิดแบบแบงแยกแขงขันกัน หลักสิทธิมนุษยชนเปนตนนั้นก็จะเปนหลักประกันสําหรับปกปองตัว ไมใหฝายอื่นเขามาครอบงําทําลายได

ท่ีจริงนั้นหลักการเหลานี้เปนแนวความคิดที่ยังมีลักษณะเปนเชิงลบ หรือ negative คือ กาวมาไดเพียงถึงขั้นที่วา เมื่อคนรุกรานกันไปมา ทําลายกัน เบียดเบียนกันมากนักและหนักหนาเขาก็พยายาม หาหลักประกัน ท่ีจะมาชวยปองกันตัวใหพนจากการเบียดเบียนของกันและกัน ทําใหเกิดมีกฎเกณฑตางๆ ข้ึน ซ่ึงเปนสิ่งที่ดีและจําเปนสําหรับสังคมแบบนี้ สังคมที่พัฒนาแลวนับวาทําไดผลไมนอยในเรื่องนี้ ซ่ึงก็ชวยโลกไดมาก

อยางไรก็ตาม หลักสิทธิมนุษยชนเปนตนนี้ เปนสิ่งที่พอใชไปกอนสําหรับโลกในยุคที่มนุษยยังมีแนวคิดแบบแบงแยกเทานั้น

Page 27: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๑๙

ซ่ึงไปไมไดไกล วิธีปฏิบัติตามหลักการเหลานี้จะนํามนุษยใหกาวไปไดแคการประนีประนอม หรือ compromise เทานั้น

การประนีประนอม หรือ compromise ไมใชเปนสิ่งที่จะชวยใหมนุษยอยูรวมกันไดดีอยางแทจริง เพราะมันไมทําใหเกิดการประสานกลมกลืน ท่ีจะสนิทเขาเปนอันเดียวกัน มันไมใชเปนเอกภาพ

การประนีประนอมก็คือการที่แตละฝายตองยอมเสียบางอยางเพื่อใหตนไดบาง หรือเพื่อจะไดดวยกันทั้งสองฝาย ตางฝายจึงตองยอมเสียอยางใดอยางหนึ่ง เพราะฉะนั้น จึงมีความรูสึกจําใจอยูในตัว

ถามนุษยไมกาวใหพนเลยจากทิฏฐิท่ีเปนแนวความคิดแบบเกานีไ้ป การทีจ่ะใหมนุษยอยูรวมกนัโดยสนัตสิขุกเ็ปนไปไมได

ในขณะที่โลกปจจุบันแคบเขามาอยางที่กลาวแลวนั้น มนุษยท่ีไมมีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันก็จะตองรบราฆาฟนกันตอไป แลวเขาก็เอากฎเกณฑตามหลักสิทธิมนุษยชนนั้นมาใชเพื่อชวยเปนหลักประกันที่จะกั้นขวางวางขอบเขตกันไวเพียงเพื่อไมใหขมเหงรังแกหรือทําลายกัน แตจะไมสามารถกลมกลืนกันไดจริง

เพราะฉะนั้น จึงพูดไดวา แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหรือ human rights เปนตนนั้น เปนหลักยึดถือสําหรับพอใชไปพลางกอนในยุคแหงระบบความคิดแบบแบงแยก แตไมเพียงพอท่ีจะใหมนุษยอยูรวมกันอยางประสานกลมกลืน และมีความสงบสุขอยางแทจริง

Page 28: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๒๐

หลักสิทธิมนุษยชน เปนบัญญัติของคนบนฐานแหงจริยธรรมเชิงลบ

ขอพูดโดยสรุปวา หลักสิทธิมนุษยชน (human rights)เปนตนนี้ มีจุดออนหรือขอบกพรองที่สําคัญ ๓ ประการ คือ

ประการที่ ๑ ตัวหลัก หรือ concept เองมีความบกพรองเพราะเกิดจากภูมิหลังและพื้นฐานความคิดแบบแบงแยก พรรคพวกผิวพรรณเปนตน ซ่ึงทําใหมีการดิ้นรนตอสูแขงขันแยงชิงและปกปองตัวเองเพื่อใหอยูรอด ลักษณะของการที่จะไดมาซึ่งสิทธิมนุษยชน จึงเปนไปในรูปของการที่จะเรียกรองหรือทวงเอา

ประการที่ ๒ สิทธิมนุษยชน เปนตนนี้ เปนบัญญัติของสังคม คือเปนเรื่องที่เกิดจากมนุษยมากําหนดตกลงกันขึ้นเอง ไมใชเปนของมีมาโดยธรรมชาติ ไมใช natural rights เมื่อเปนของที่มนุษยกําหนดกันขึ้นเอง มันก็ไมมีความจริงเปนฐานรองรับท่ีจะใหเกิดความมั่นคง ท่ีจะตั้งอยูไดตลอดไป แตเปนเรื่องของสังคมที่ตองคอยจัดคอยกํากับ โดยกําหนดทําเปนกฎเกณฑขอบังคับแลวก็ยอมรับกัน จึงจะคงอยูได

ถาจะใหมั่นคงยั่งยืนจริงก็ตองโยงเขากับธรรมชาติท่ีเปนของจริงใหได คือใหมีฐานอยูในธรรมชาติดวย การที่จะมีฐานอยูในธรรมชาติ ก็คือการพัฒนามนุษยใหมีสภาพจิตซึ่งพรอมท่ีจะรักษาสิทธิมนุษยชนนั้น และเมื่อน้ันสิทธิมนุษยชนจึงจะยั่งยืนอยูได แตเรื่องนี้ตองโยงไปถึงขอบกพรองประการที่ ๓

Page 29: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๒๑

ประการที่ ๓ หลักสิทธิมนุษยชน หรือ human rightsเปนตนนี้ เปนเรื่องของพฤติกรรมทางสังคม เปนเรื่องที่เนนกันอยูแคระดับสังคม โดยไมคอยไดดูเบื้องหลังกันใหลึกลงไปและใหท่ัวตลอดระบบแหงพฤติกรรมของมนุษย

ท่ีจริง พฤติกรรมที่ออกมาภายนอกยอมมีแรงจูงใจผลักดันอยูภายใน พฤติกรรมทางสังคมนั้นตองขึ้นอยูกับแรงจูงใจ ซ่ึงเปนทั้งตัวผลักดันและเปนตัวนําทาง ถาไมมีฐานที่ถูกตองในจิตใจ หรือฐานในจิตใจไมถูกตอง แทนที่จะไดผลดีบางทีก็กลับทําใหเกิดปญหามากยิ่งขึ้น

จริงอยู เราเห็นใจผูตองการสิทธิมนุษยชน ท่ีมีการเรียกรองกันตางๆ แตถาเราจะแกปญหากันใหไดจริง จะตองกาวลงไปถึงการวิเคราะหแมแตในจิตใจของผูท่ีเรียกรองนั้นดวย

การเรียกรองสิทธิมนุษยชนนั้น เมื่อมองลึกลงไปจะพบวามีไมนอยเลย หรือเปนกันทั่วไปทีเดียววา มักทําดวยมีโทสะ มีความรูสึกเกลียดชังเคียดแคนเปนฐานอยูขางใน

เมื่อมีความเคียดแคนชิงชังหรือโทสะเปนฐานอยูขางในแลว ก็จะทําใหไดผลจริงจังยาก เพราะคนที่เกี่ยวของไมมีความรูสึกที่จะประสานกลมกลืนเปนอันหนึ่งอันเดียวกันอยางแทจริง

โทสะหรือความชิงชังก็จะเปนตัวผลักดันและกําหนดทิศทาง ทําใหพฤติกรรมไมเปนไปอยางพอดีท่ีจะใหผลท่ีดีงามเกิดขึ้นแตมักจะทําใหเกิดปญหายิ่งขึ้น และอีกฝายหนึ่งก็จะไมทําการดวยความมุงหวังใหเกิดความดีงาม แตจะทําแบบปฏิกิริยา ดวยความโกรธแคน และเทาที่จําเปนจําใจ จนกลายเปนวา ท้ังฝายผู

Page 30: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๒๒

ท่ีทําลายสิทธิมนุษยชนก็ดี ผูท่ีเรียกรองก็ดี มาสมคบกันกอปญหาใหยืดเยื้อยาวนานยิ่งขึ้น

จึงจะตองแกปญหาใหลึกลงไปถึงพื้นฐานในจิตใจดวย ซ่ึงก็อยูท่ีการพัฒนามนุษยอยางที่กลาวแลวนั้น

จากที่พูดมานี้ จึงเปนอันวา จําเปนที่เราจะตองกาวตอไปขางหนาสูแนวความคิดที่เปนเชิงบวก หรือ positive อยางแทจริงในเรื่องของการมองความสัมพันธระหวางมนุษยดวยกัน คือจะตองมองมนุษยเปนเพื่อนมนุษย เปนเพื่อนรวมโลก เปนผูเสมอหนากันตอกฎธรรมชาติ

อยางนอยก็ใหมองในแงท่ีวาเราทุกคนนี้ตองตกอยูภายใตกฎธรรมชาติ และตองเผชิญกับภัยอันตรายจากธรรมชาติดวยกันจึงเปนเพื่อนรวมสุขรวมทุกข และควรจะตองมารวมมือชวยกันแกปญหาจากธรรมชาติสวนที่รายแรงเปนอันตรายตอมนุษยจรยิธรรมเชงิบวกจะตองขึน้มานาํ จงึจะทําใหโลกอยูดไีดโดยมีความหลากหลายในความเปนหนึ่งเดียว

อยางไรก็ตาม การมองอยางที่วามานี้ก็ยังเปนความคิดที่ไมเปนเชิงบวก หรือเชิงสรางสรรคแท การที่จะใหเปนความคิดเชิงบวกที่สรางสรรคอยางแทจริง ก็คือ ตองใหเปนแนวความคิดที่มองมนุษยแบบเสมอและสมานกัน

ทําไมตองย้ําใหเสมอและสมาน แนวความคิดที่เปนมาในหมูมนุษย (โดยเฉพาะภายใตอิทธิพลอารยธรรมตะวันตก)น้ันเวลาพูดวา “เสมอ” มักจะมีความหมายเปนความเสมอกันในการ

Page 31: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๒๓

ท่ีจะแขงขันแยงชิง หมายความวา มีสิทธิเทาเทียมกันที่จะแขงกันเปนความเสมอแบบแขงขันและประกอบดวยความหวาดระแวงซ่ึงกันและกัน ซ่ึงเปนไปตามแนวความคิดแบงแยก ยังเปนจริยธรรมเชิงลบ จะทําใหคนอยูรวมกันอยางสงบสุขแทจริงไมได จึงตองมีสมานดวย

สมาน คือการที่จะรวมเขาดวยกัน ซ่ึงหมายถึงการมีทาทีความรูสึกซึ่งโนมเอียงไปทางที่จะเขาอยูรวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ไมใชเสมอเพียงเพื่อมาสู competition คือการแขงขัน แลวก็ไปจบลงดวย compromise คือการประนีประนอม แตเปนการพัฒนา cooperation คือความรวมมือกัน เพื่อนําไปสู harmonyคือความสามัคคีกลมกลืน

ถาจะมี competition คือแขงขันกัน ก็ตองให balanceคือดึงดุลไวดวย cooperation คือความรวมมือ และจะตองมีเมตตาคือความรักกัน เปนเครื่องประสานหลอเลี้ยงดวย

เมตตาหรือความรักนั้นจะตองพัฒนาใหถึงขั้นที่เรียกตามศัพทพระพุทธศาสนาวาเปน อัปปมัญญา คือ ไมมีขอบเขต ไมจํากัดกลุมพวก แตเปนสากลจริงๆ ไมใชเมตตาแบบแบงแยกเพราะในเรื่องนี้มนุษยก็มีปญหาอีก คือมักสอนใหเมตตา ใหรักกัน แตในเมตตานั้นก็มีการแบงแยกพรรคพวก ใหรักแตในหมูพวกตน ไมแผความรักไปยังผูอื่น

ความรักแบบเมตตาที่แทจะตองแผออกทั่วไปไมมีขอบเขต ตอทุกชีวิตที่อยูในกฎธรรมชาติดวยกัน

Page 32: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๒๔

ท่ีพูดนี้ ไมไดหมายความวาจะไมใหมนุษยท่ีมีพื้นเพภูมิหลังวัฒนธรรมตางๆ ไมรักษากลุมของตัว ไมรักษาวัฒนธรรมแบบแผนหรือเอกลักษณของตัว ไมใชเชนนั้น

การรักษากลุมรักษาหมูรักษาวัฒนธรรมนั้นเปนไปไดตามเหตุตามผล เพราะวาคนเรามีภูมิหลังไมเหมือนกัน จะตองมีการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมของหมู หรือวัฒนธรรมของตนน้ัน เพื่อใหทุกคนอยูรวมกันดวยดีและตนเองก็ดําเนินชีวิตไปไดดวยดี อันนั้นคือเหตุผล และถาเรามีวัฒนธรรมที่ดีของตนเองแลวการที่จะไปปรับตัวเขากับผูอื่น ถาทําอยางถูกตองก็กลายเปนของงายขึ้น คือ ไมใชรักษาวัฒนธรรมหรือหมูพวกตัวดวยความคิดแบงแยกที่จะเชิดชูหมูตนและทําลายพวกอื่น

เมื่อเรามีดีเราก็มีสิทธิรักษาสิ่งที่ดีของเราไว แตก็ไมใชไปบังคับคนอื่น ใหตองรับเอาของเราไป ไมใชเปนการรักษาตัวแบบปดตัวจํากัดตัว แตเปนการปฏิบัติไปตามเหตุผลอยางเปนลําดับในแงท่ีวาตัวเองมีดีก็รักษาไว และพรอมกันนั้นก็ขยายกวางออกไปโดยเปดใจรับผูอื่นดวยทําใหมีการอยูรวมกันดวยดีชนิดที่ขยายออกไปทุกขั้นตอน

ถาทําไดอยางนี้ การรักษาวัฒนธรรมของหมูเหลาก็จะเปนขั้นตอนในระหวางของการรวมตัวกันของมนุษยท่ีคอยๆ ขยายออกไป จนถึงเอกภาพระดับโลกในที่สุด แลวอยางนี้ ก็จะเกิดมีสิ่งที่เรียกวา ความหลากหลายในความเปนหนึ่ง หรือdiversity in unity ข้ึนมา คือรักษาวัฒนธรรมของตัวไวได พรอมท้ังปรับตัวเขากับผูอื่นอยางดีดวย

Page 33: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๒๕

แตท้ังนี้การรักษาวัฒนธรรมของตนนั้น จะตองเปนไปตามเหตุผลดวยปญญา ดวยความรูความเขาใจ ไมใชทําไปดวยโมหะ โดยสักแตวายึดถือไปเทานั้น

ถาเรามีการพัฒนามนุษยอยางถูกตอง มนุษยก็จะมีความโนมเอียงไปในการที่จะกาวจากตัวเองไปสูการอยูดวยดีในหมูของตน แลวกาวจากกลุมหรือหมูของตนไปสูการอยูกันดวยดีกับเพื่อนรวมโลกทั้งหมด

จริยธรรมเชิงลบ ต้ังอยูบนฐานของการปองกันตัวจริยธรรมเชิงบวก ตั้งอยูบนฐานแหงการพัฒนาตัวของมนุษย

มนุษยท่ีพัฒนาดีแลวจะคอยๆ หลุดพนไปจากสิ่งที่ทางพระพุทธศาสนาเรียกวา มัจฉริยะ คือความหวงแหนแบงแยกกีดกันกัน ๕ ประการ ตามหลักนี้ เราจะมองเห็นลักษณะของมนุษยท่ีพัฒนาแลว ในแงท่ีเกี่ยวกับความสัมพันธกับเพื่อนมนุษยไดดานหนึ่ง คือการที่เขามีมัจฉริยะหรือความหวงแหนกีดกันแบงแยกนี้ลดนอยลงไป มัจฉริยะ ๕ คือ

๑. อาวาสมัจฉริยะ ความหวงแหนกีดกัน เกี่ยวกับเรื่องที่อยูอาศัย ประเทศ ทองถิ่น ดินแดน

๒. กุลมัจฉริยะ การหวงแหนกีดกัน เกี่ยวกับเรื่องพรรคพวก พงศเผา เหลากอ หรือชาติพันธุ เชน ethnicgroups และ religious groups ตางๆ

๓. ลาภมัจฉริยะ ความหวงแหนกีดกัน เกี่ยวกับเรื่องลาภทรัพย สมบัติ และผลประโยชนตางๆ

Page 34: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๒๖

๔. วรรณมัจฉริยะ ความหวงแหนกีดกัน เกี่ยวกับเรื่องชั้นวรรณะ ผิวพรรณ จําพวก class, caste ตลอดจนcolour

๕. ธัมมมัจฉริยะ ความหวงแหนกีดกัน ในเร่ืองของวิทยาการ ความรู คุณพิเศษ วุฒิ ความดีงาม ความกาวหนาในทางภูมิธรรมภูมิปญญา และความสําเร็จตางๆ

ในการศึกษา เมื่อมีการพัฒนามนุษย มนุษยท่ีพัฒนาแลวจะตองมีลักษณะในดานความสัมพันธกับเพื่อนมนุษยท่ีมีมัจฉริยะเหลานี้ลดนอยลงจนกระทั่งหมดไปในที่สุด เพราะฉะนั้นเราจึงสามารถดูมนุษยวามีความเจริญหรือพัฒนาสักแคไหน จากการแสดงออกของมัจฉริยะในความสัมพันธระหวางกัน

บัดนี้ ถึงเวลาแลวที่เราจะตองกําจัดมัจฉริยะ คือความใจแคบท้ัง ๕ อยางนี้ใหได โลกจึงจะปลอดภัยจากการกีดกันทําลายกันระหวางหมูระหวางพวก

แตแนวโนมเวลานี้ดูเหมือนจะเปนไปในทางตรงขาม อยางที่บอกแลววาโลกเจริญไปภายนอกในดานเทคโนโลยี เปนตน ท่ีทําใหมนุษยตองอยูรวมกันในโลกที่แคบเขาทั้งโลกติดตอท่ัวถึงกลายเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน แตภายในทางดานจิตใจของมนุษยไมไดพัฒนา

มนุษยยังมากไปดวยความรูสึกที่จะแยกกลุมแยกพวก เปนกลุมศาสนา กลุมเชื้อชาติตางๆ ในแตละพวกก็คิดจะผนึกกําลังของตน ดวยความรูสึกเกลียดชังหรือรังเกียจพวกอื่น มีแต

Page 35: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๒๗

จิตใจที่จะแขงขันหรือสูรบกัน ไมมีจิตใจท่ีจะอยูรวมกัน มีแตความรูสึกที่จะตองไดเปรียบเหนือกวาผูอื่น หาทางครอบงําผูอื่น

กลายเปนวามีการพัฒนามนุษยไปในแนวทางของการแบงแยกและสรางความเขมแข็งในการที่จะแขงขันตอสูกัน ไมไดพัฒนาแนวความคิดความรูสึกที่จะรักและอยูรวมกัน จึงเปนการสวนทางกับสภาพรูปธรรมของความเจริญในดานเทคโนโลยี โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับขาวสารขอมูลและการสื่อสารคมนาคม

เนื่องจากความคิดหลักของคนในโลกปจจุบันนี้ เปนเรื่องของการแบงแยกตัวออกเปนเราเปนเขา และมุงที่จะแขงขันตอสูปกปองตัว เชิดชูตัวขึ้นไป โดยไมคํานึงวาจะทําใหเกิดความพินาศเดือดรอนแกผูอื่น จึงทําใหเรื่องสิทธิมนุษยชนหรือ humanrights กลายเปนเรื่องสําคัญ ผูท่ีเสียเปรียบก็ตองเรียกรองสิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชนก็เลยเปนเครื่องมือในการที่จะปกปองตัว ชวยกีดกั้นผูอื่นไมใหเขามาครอบงําตน และเปนเคร่ืองชวยคุมครองพยุงรักษาโลกไวใหพออยูพอเปนไปไดในขณะที่หมูมนุษยยังอยูในระบบความคิดแบบแบงแยก

เปนอันวา การพัฒนามนุษยสวนทางกับการพัฒนาสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะสิ่งแวดลอมเสกสรร (artificial environment)ท่ีมนุษยประดิษฐข้ึน ซ่ึงทําใหมนุษยท่ัวทุกสวนของโลกมีความเปนอยูและชะตากรรมรวมกัน

โลกกลายเปนชุมชนอันเดียว เสมือนเปนโลกเล็กๆ แคบๆแตมนุษยท้ังหลายยังไมพรอมท่ีจะอยูในโลกแบบนี้ มนุษยยังมี

Page 36: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๒๘

สภาพจิตปญญาและพฤติกรรมที่เหมาะสําหรับการอยูในโลกที่แบงแยกจากกัน จึงไดพูดวา การพัฒนามนุษยไมทันกับการพัฒนาของสภาพแวดลอม

จริยธรรมเชิงลบ จบลงดวยการประนีประนอมขางนอก พรอมกับความขุนหมองคับของจิตอยูขางใน

ไดพูดไปแลว ๒ ทิฏฐิหรือ ๒ แนวความคิดสําคัญ โดยไดช้ีใหเห็นวา มนุษยในยุคที่ผานมานี้ไดเสพติดหรือตกอยูใตอิทธิพลของแนวความคิดแบบแขงขันตอสู ท้ังระหวางมนุษยดวยกันและระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอม มนุษยจึงคิดจะพิชิตโลก ท้ังพิชิตโลกธรรมชาติ คือพิชิตธรรมชาติแวดลอม และพิชิตโลกมนุษย คือพิชิตมนุษยพวกอื่น แตเมื่อมาถึงยุคปจจุบัน แนวความคิดแบบนั้นใชไมไดเสียแลว ความมั่นคงปลอดภัยทั้งของโลกและของมนุษยเองบังคับวามนุษยจะตอง หันมาอยูรวมดวยดี ท้ังกับเพื่อนมนุษย และเพื่อนสิ่งแวดลอมในโลกนี้

หมายความวา เรามีเพื่อน ๒ ขาง มนุษยดวยกันที่อยูรอบตัวก็เปนเพื่อน และสิ่งแวดลอมท่ีอยูรอบดานก็เปนเพื่อน ไมใชเปนศัตรูท่ีจะมาพิชิตกัน

อยางไรก็ตาม การพัฒนาแกไขทิฏฐิสองอยางนี้จะสําเร็จได ตองเขาใหถึงทิฏฐิขอท่ี ๓ ถาแกทิฏฐิขอท่ี ๓ ไมได ก็แกขอท่ี ๑และ ๒ ไมสําเร็จ

Page 37: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๒๙

ขอท่ี ๑ และ ๒ น้ันเปนแนวความคิดและทาทีในความสัมพันธของมนุษยกับโลกภายนอก คือโลกนอกตัวออกไป ท้ังโลกของมนุษย และโลกธรรมชาติแวดลอม ความสัมพันธท่ีถูกหรือผิดน้ันออกมาจากในตัวของมนุษยเอง การที่จะใหความสัมพันธกับโลกภายนอกทั้งสองอยางมั่นคงปลอดภัยแทจริง จะตองพัฒนาเขาไปถึงในตัวมนุษยเอง จึงเปนเรื่องของทิฏฐิขอท่ี ๓ คือการพัฒนาความคิด ความเขาใจ หรือทิฏฐิเกี่ยวกับชีวิตของตนเองวาอะไรคือความหมาย และความมุงหมายของชีวิต

มนุษยน้ันตองการอิสรภาพ แตคําวา “อิสรภาพ” หรือfreedom น้ัน ก็มีความหมายตางกันไปไดหลายอยาง

ดังกลาวแลววา ในอารยธรรมที่ผานมา มนุษยมองออกไปขางนอกวา อิสรภาพ คือการที่ตัวเองมีความปลอดภัยพนจากการครอบงําของผูอื่น แลวก็กลับสามารถที่จะมีอํานาจเหนือผูอื่นตลอดจนสามารถจัดการผูอื่นไดตามความมุงหมายของตน เชนมีอํานาจเหนือธรรมชาติ และจัดการธรรมชาติใหเปนไปตามความปรารถนาของตน

การมองอิสรภาพในความหมายแบบนี้จะทําใหมองความหมายของสาระอื่นๆ ท่ีเกี่ยวกับชีวิตมนุษยเชนความสุขตางออกไปดวย กลาวคือ เมื่อมองอิสรภาพ วาคือการที่ไดเปนใหญสามารถไปจัดการกับผูอื่นได ก็จะมองความหมายของความสุขวาเปนความสามารถที่จะเอาอะไรๆ จากภายนอกเขามาบํารุงบําเรอตนเองไดเต็มท่ีตามตองการเชนมีวัตถุท่ีจะเสพใหมาก แลวก็ตองไปจัดการกับธรรมชาติ เพื่อเอามาปรุงแตงผลิตเปนวัตถุ

Page 38: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๓๐

สําหรับเสพบํารุงบําเรอใหมากที่สุด เกิดเปนทิฏฐิหรือแนวความคิดวา มนุษยจะมีความสุขมากที่สุด เมื่อมีวัตถุบํารุงบําเรอมากที่สุด

ถึงตอนนี้ก็ไดเห็นประจักษกันแลววา แนวความคิดแบบนี้กําลังมาถึงจุดติดตันเนื่องจากธรรมชาติแวดลอมก็เสื่อมเสียลงไป ทรัพยากรธรรมชาติก็ลดนอยรอยหรอลงไป จนไมเพียงพอแกมนุษยท่ีมีจํานวนเพิ่มข้ึน และสําหรับมนุษยท่ีอยูภายใตแนวความคิดแบบนี้ พอมาถึงจุดติดตันเขาก็ตองใชวิธีแกไขดวยการประนีประนอม หรือ compromise เชนเดียวกับการ ท่ีตองประนีประนอมระหวางมนุษยกับมนุษยดวยกัน

คราวนี้มนุษยตองมาประนีประนอมกับธรรมชาติ หมายความวา เพื่อใหธรรมชาติอยู ตนเองก็ตองยอมที่จะมีความสุขไมไดเต็มท่ี เพราะถาตนเองจะมีความสุขเต็มท่ี ก็ตองจัดการกับธรรมชาติอยางเต็มท่ี แตถาจะทําอยางนั้น ธรรมชาติก็เสีย เมื่อธรรมชาติเสียก็กลับเปนอันตรายแกตนเอง ตนเองก็อยูไมไดอีกเพราะฉะนั้น เพื่อใหธรรมชาติคงอยูตอไป และตัวมนุษยเองก็อยูรอดได มนุษยก็จึงตองยอมเสียสละ ยอมที่จะมีความสุขไมเต็มท่ีเพื่อปลอยใหธรรมชาติอยูได แตเปนการเสียสละ เพื่อใหตัวเองอยูได และธรรมชาติก็อยูไดแคเทาที่มนุษยยอมปลอยใหบาง ไมใชอยูอยางดี ระบบประนีประนอม หรือ compromise น้ี จึงเปนไปดวยความจําใจ

เมื่อตองจําใจจํายอมอยางนี้มนุษยก็จะไมมีความสุขแทจริง ไมเต็มอิ่ม เพราะเมื่อจะไดก็ตองจําใจยอมเสีย กลายเปน

Page 39: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๓๑

ความขัดแยงในตัว ท้ังนี้ก็เพราะแนวความคิดที่ตั้งไวผิด คือมีทิฏฐิท่ีผิดนั่นเอง

จะกาวจากจริยธรรมเชิงลบ สูจริยธรรมเชิงบวกไดตองเขาใจความหมายของอิสรภาพใหถูกตอง

ขอพูดงายๆ แบบรวบรัดวา ในการดํารงอยูของมนุษยท่ีจะมีความสุขไดอยางแทจริง จะตองมีอิสรภาพ ๓ ข้ัน คือ

๑. อิสรภาพในความสัมพันธที่ถูกตองกับธรรมชาติแวดลอมคืออิสรภาพในการอยูรวมกับธรรมชาติแวดลอม อยางปลอดพนจากความติดขัดบีบคั้น เชนมีความปลอดภัยจากความอดอยากขาดแคลน มีสิ่งจําเปนสําหรับชีวิต โดยเฉพาะปจจัย ๔ ท่ีเพียงพอและพนจากภัยธรรมชาติ หากมีภัยธรรมชาติคุกคามเบียดเบียนก็สามารถแกไขไดตามสมควร รวมท้ังการมีชีวิตอยูอยางประสานกลมกลืนที่ธรรมชาติมีสภาพเกื้อกูลตอความอยูดีของมนุษย

๒. อิสรภาพในความสัมพันธที่ถูกตองกับเพื่อนมนุษย คือการอยูรวมกันดวยดีในหมูมนุษยดวยกัน ปลอดพนจากการเบียดเบียนซึ่งกันและกัน ไมขมเหงครอบงํากัน แตมีความเปนมิตร และชวยเหลือเกื้อกูลรวมมือกันอิสรภาพทั้งสองอยางนี้เกี่ยวเนื่องกับทิฏฐิสองขอตนที่พูดมาแลว

๓. อยางไรก็ตาม อิสรภาพทั้งสองอยางที่กลาวมาแลวจะไมสําเร็จแทจริง ถาไมมีอิสรภาพอยางที่สาม คืออิสรภาพภายในแหงชีวิตของตนเองดวย เพราะฉะนั้น เมื่อพูดกันใหถึงรากถึงเหงา

Page 40: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๓๒

สิ่งที่สําคัญที่สุดก็คือการพัฒนาตัวมนุษยเอง ใหเขาถึงอิสรภาพภายใน

อิสรภาพภายในคืออะไร การที่จะเขาถึงอิสรภาพที่แทจริงของมนุษยน้ันจริงอยูตอนแรกเขาตองมีความมั่นคงปลอดภัย โดยหลุดพนจากการบีบบังคับครอบงําของสิ่งแวดลอมท้ังทาง รางกายจากธรรมชาติ และเปนอิสระจากการบีบคั้นครอบงําทางสังคมจากเพื่อนมนุษยดวยกัน

เมื่อเขามีอิสรภาพดานภายนอกอยางนี้แลว เขาจะตองรูจักฝกตนใหอยูโดยลําพังและสามารถมีความสุขดวยตัวเองมากข้ึน จนกระทั่งชีวิตของเขาสามารถอยูไดดีดวยตนเอง และมีความสุขที่เปนอิสระ หรือจัดการกับความสุขของตนเองไดโดยไมตองข้ึนตอสิ่งอื่นภายนอก

อิสรภาพภายใน กับอิสรภาพภายนอกสองอยางนั้นเกี่ยวเนื่องกัน เมื่อภายในชีวิตมีความสุขที่เปนไทของตนเองมากขึ้นเขาก็มีความสุขไดโดยลําพังตนเอง โดยไมตองไปครอบงําธรรมชาติ โดยไมตองไปครอบงําเพื่อนมนุษย

การที่มนุษยไมตองมีความสุขดวยการไปเปนใหญครอบงําธรรมชาติแวดลอมและเพื่อนมนุษยน้ัน มองในความหมายที่พลิกกลับอีกดานหนึ่งก็คือการที่เขามีความสุขได โดยไมตองไปข้ึนตอธรรมชาติแวดลอม และไมตองไปขึ้นตอเพื่อนมนุษย น่ันก็คือการที่เขาเปนอิสระมากขึ้น เพราะฉะนั้นความเปนอิสระของมนุษยจึงอยูท่ีการอยูดีมีความสุขไดโดยลําพังตนเองมากขึ้น อันเปนความสุขอยางอิสระ ไมใชความสุขแบบพึ่งพา

Page 41: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๓๓

เมื่อเขามีความสุขไดดวยตนเองโดยลําพังมากขึ้น อันนี้แหละจะกลับมาเปนฐานใหเขาสามารถรักษาอิสรภาพทางกาย(physical freedom) และอิสรภาพทางสังคม (social freedom)ใหคงอยูไดดวย เขาจะมีความสัมพันธท่ีดีท่ีถูกตองกับธรรมชาติแวดลอมและกับเพื่อนมนุษยในสังคม เพราะเขาอยูดีมีความสุขไดโดยไมตองไปหาสิ่งภายนอกมาสนองความปรารถนาของตนดวยการครอบงําจัดการพิชิตใครๆ หรืออะไรๆ อื่น

เพราะฉะนั้น อิสรภาพภายในตัวของมนุษยจึงเปนฐานและเปนหลักประกัน ใหอิสรภาพภายนอกสองขอแรก ท้ังดานกายภาพ และดานสังคม มีความมั่นคงแทจริง

ในทางตรงขาม ถามนุษยไมมีอิสรภาพภายใน (innerfreedom) อันนี้ ความสุขของเขาจะตองขึ้นตอการไปจัดการครอบงําเสพสิ่งภายนอก และครอบงําเพื่อนมนุษยดวยกันมากข้ึน และเมื่อน้ันอิสรภาพทางกาย และอิสรภาพทางสังคมก็ไมมีทางเปนไปไดสําเร็จ เพราะจะตองมีการแยงชิงจัดการกันเรื่อยไปจนกวาจวนจะแยดวยกันทั้งสองฝาย ก็มาตกลงยอมผอนปรนแกกัน น่ีก็คือระบบการประนีประนอม หรือ compromise ท่ีถูกบีบใหยอมแลวก็จําใจรักษาสภาพนั้นไว

แตถาคนมีอิสรภาพภายในแลว การมีทาทีดีงามที่ประสานกลมกลืนกับธรรมชาติแวดลอมและเพื่อนมนุษยก็เปนไปได และตัวมนุษยน้ันเองก็จะมีความสุขที่แทจริงดวย เปนความสุขท่ีมีท้ังความประสานกลมกลืน และมีดุลยภาพควบคูไปดวยกัน

Page 42: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๓๔

อิสรภาพในความหมายที่ถูกตองครบสามขั้นเปนฐานของระบบความสัมพันธที่ประสานกลมกลืน

มนุษยมีศักยภาพที่จะพัฒนาชีวิตใหเปนอิสระไดมาก แตดวยความเขาใจผิดวา ความสุขอยูท่ีการมีวัตถุท่ีจะเสพบําเรอตนใหมากที่สุด มนุษยจึงทําใหชีวิตของตนหรือความสุขของตนตองไปข้ึนตอวัตถุท่ีจะเสพที่จะบําเรอจากภายนอกมากขึ้นๆ เมื่อไมอาจมีความสุขภายในไดดวยลําพังตนเอง ก็ทําใหเขาตองออกไปเบียดเบียนธรรมชาติ และเบียดเบียนเพื่อนมนุษยเพื่อจะหาความสุขที่หวังใหได แตยิ่งทําไปก็ยิ่งเกิดปญหา นอกจากชีวิตจิตใจตัวเองจะไมเปนอิสระแลว ก็สูญเสียอิสรภาพทางกายและทางสังคมไปดวย

กลายเปนวา ยิ่งพัฒนาไป มนุษยก็ยิ่งสูญเสียความสามารถที่จะมีความสุขดวยตนเองลงไปทุกที และนั่นก็คือการที่ไดสูญเสียอิสรภาพที่แทจริงไปแลวนั่นเอง

เพราะฉะนั้น มนุษยท่ีเดินทางถูกตอง โดยมีแนวความคิดท่ีถูกตอง ก็จะเขาใจวา อิสรภาพของมนุษยอยูท่ีการมีความสุขที่ข้ึนตอสิ่งภายนอกนอยที่สุด หรือการมีความสุขไดดวยตนเองโดยไมตองอาศัยสิ่งภายนอก น้ันคืออิสรภาพของเขา ความเขาใจน้ีจะทําใหเขาพัฒนาตัวเองใหมีความสุขไดโดยลําพังจิตปญญาของตนเองมากยิ่งขึ้น จนไมข้ึนตอสิ่งแวดลอมภายนอกในการที่จะมีความสุข

Page 43: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๓๕

เมื่อมนุษยมีแนวความคิดที่เกี่ยวกับความหมายของชีวิต ท้ังในเรื่องอิสรภาพและความสุขถูกตองแลว เขาก็จะสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทางกายภาพ คือธรรมชาติแวดลอม อยางเกื้อกูลกันซ่ึงสําหรับตัวเขาเองก็เพียงใหมีอิสรภาพทางกาย หาวัตถุไดโดยไมขาดแคลน แลวก็พนภัยทางกาย

ในภาวะเชนนี้ วัตถุท่ีมีมาจะมีความหมายเปนเครื่องประกอบเสริมความสุข ไมใชเปนตัวกําหนดความสุข กลาวคือ ในข้ันตน วัตถุในระดับปจจัย ๔ จะทําหนาที่เปนหลักประกันพื้นฐานของการดํารงชีวิต และการมีโอกาสที่จะพัฒนาตนใหเขาถึงจุดหมายของชีวิตที่สูงขึ้นไป เหนือจากนั้นวัตถุท่ีเพิ่มข้ึนมาก็เปนเครื่องประกอบเสริมความสุข ท่ีเขาจะเสพอยางรูจักพอดี โดยไมลุมหลงมัวเมา ทาทีและความเขาใจอยางนี้จะเปนเงื่อนไขแหงความสัมพันธกับธรรมชาติแวดลอมอยางดี

สวนในดานสังคม เขาก็มีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมคือเพื่อนมนุษยอยางเกื้อกูลกัน ใหตางฝายตางก็มีอิสรภาพทางสังคมดวยกัน เพื่อทุกคนจะไดมีโอกาสเขาถึงอิสรภาพภายในของตนๆ

ในที่สุด อิสรภาพขั้นสุดทายที่แทจริงก็คือการมีอิสรภาพภายใน ท่ีจะทําใหมนุษยจัดการกับชีวิตของตนเองไดอยางถูกตองและเปนผลสําเร็จ เขาจะมีจิตใจที่พนจากอํานาจบีบคั้นครอบงําของกิเลสคือ โลภะ โทสะ โมหะ และความทุกขใจ ซ่ึงเปนตัวการที่ทําใหเขาเกิดมีปญหากับภายนอก

Page 44: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๓๖

เมื่อเขามีความหลุดพนภายในแลว เขาก็ไมตองถูกบีบใหออกมาดิ้นรนแยงชิงความสุขจากขางนอก แตมีความโปรงวางเต็มอิ่มภายใน ซ่ึงทําใหพรอมท่ีจะดําเนินชีวิตและปฏิบัติในทางที่เกื้อกูลกับสิ่งแวดลอมภายนอก ท้ังทางธรรมชาติและทางสังคม

ขอใหขอสังเกตนิดหนอยวา การที่สัมพันธกับธรรมชาติแวดลอมน้ัน ก็ตองเปนความสัมพันธอยางมีดุลยภาพ ไมใชไปสุดทางทั้งสองอยาง

ท่ีสุด ๒ อยางนั้น คือ พวกหนึ่งก็มุงแตจะไปจัดการกับธรรมชาติภายนอกอยางเดียว สวนอีกพวกหนึ่งก็ละเลยปลอยธรรมชาติเรื่อยเปอยไป

ขอใหขอสังเกตวา พวกมนุษยท่ีมีความคิดแบบพิชิตธรรมชาติ ท่ีมุงจัดการกับธรรมชาติภายนอกนั้น ในเวลาที่เขาพูดวาเอาชนะธรรมชาติน้ัน เขาหมายถึงการเอาชนะเฉพาะแตธรรมชาติภายนอกเทานั้น

เวลาพูดถึงชีวิตจิตใจของคน เชนวา ทําไมเขาจึงไมแกไขความเห็นแกตัว หรือความเกลียดชังกันเปนตน เขากลับพูดวานั่นเปนธรรมชาติของมนุษย เขารูสึกวาเราจะตองปลอยใหเปนไปตามธรรมชาติภายในนั้นๆ

เพราะฉะนั้น การมองคําวา ธรรมชาติ และการเอาชนะธรรมชาติของเขา จึงเวาแหวงไมสมบูรณ และมีความขัดแยงในตัวเอง เขามองแตธรรมชาติภายนอกที่จะเอาชนะ แตไมเคยคิดวา ธรรมชาติภายในก็เปนธรรมชาติดานหนึ่งที่เอาชนะไดเชน

Page 45: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๓๗

เดียวกัน น่ีคือการมองแบบสุดโตง และเปนการมองที่ไมครอบคลุม จึงเปนทรรศนะที่ผิดพลาดไมสมบูรณ

สวนการที่จะปลอยตามธรรมชาติเรื่อยเปอยไปก็ไมถูกตอง เพราะตัวมนุษยเองก็เปนปจจัยอยางหนึ่งอยูในธรรมชาติน้ันดวย มนุษยจะตองรูจักแกไขปญหาในการอยูกับธรรมชาติแวดลอม จะตองจัดหาและจัดสรรปจจัย ๔ ใหมนุษยอยูรวมกันโดยมีอาหารการกินเปนตนอยางเพียงพอ และมีความเปนอยูสะดวกสบายพอสมควร ตลอดจนมีความปลอดพนจากภัยธรรมชาติเปนตน การกระทําเหลานี้เปนสิ่งจําเปน

เมื่อมนุษยมีแนวความคิดถูกตองแลว การที่จะจัดการอะไรกับธรรมชาติน้ันเขาก็จะทําดวยจิตสํานึกและความรูตัววาตนเองหรือหมูมนุษยน้ี เปนสวนหนึ่งอยูในระบบความสัมพันธอยางอิงอาศัยกันของธรรมชาติ ไมไดแยกตัวออกมา เมื่อจะจัดทําอะไรกับธรรมชาติ เขาจะมองวาตัวเขาเองก็เปนปจจัยสวนหนึ่งอยูในธรรมชาติ และความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติก็จะมีผลกระทบตอตัวเขาและตอหมูมนุษยสวนรวมดวย

ความรูความเห็นและความเขาใจทั้งหมดนี้จะเปนขอบเขตอยูในตัวเองที่ทําใหเขาจัดทําอะไรกับปจจัยสวนอื่น หรือองคประกอบสวนอื่นในธรรมชาติอยางพอเหมาะพอดี ไมเกินสมควร การเปลี่ยนแปลงแกไขในกระบวนการธรรมชาติ ท่ีมีเขาเปนสวนหนึ่งรวมอยูดวย โดยที่ตัวเขาเองคํานึงถึงองคประกอบที่เกี่ยวของและความสัมพันธอิงอาศัยกันทั้งหมดอยูตลอดเวลา ก็จะทํา

Page 46: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๓๘

ใหเกิดผลดีดวยกันทั้งหมดทุกสวนในธรรมชาติน้ัน ความพอดีหรือภาวะสมดุล ก็จะเกิดขึ้น

หมายความวา ตราบใดที่มนุษยยังมองตัวเองเปนสวนหนึ่งในระบบความสัมพันธแบบอิงอาศัยกันของธรรมชาติ ตราบน้ันการที่มนุษยจะทําตัวเปนปจจัยสวนหนึ่งในการทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ ก็เปนสิ่งที่ทําไดโดยใชปญญาบนพื้นฐานแหงการมีทิฏฐิท่ีถูกตองดังไดกลาวมา

ถาจะใหการพัฒนาพามวลมนุษยสูสันติสุขทกุระบบการของสงัคมตองปรบัรากฐานความคดิกนัใหม

ปจจุบันนี้พูดกันวา การพัฒนาจะตองเปนแบบยั่งยืน ดังท่ีเรียกกันวา sustainable development จะตองให economyไปดวยกันกับ ecology คือ ตองให economy ดี โดยที่ nature ก็อยูไดดวย น้ันคือการยอมรับความจริงที่ไดพูดมาขางตน แตก็ยังเปนการยอมรับดวยทาทีแบบประนีประนอม อยางที่กลาวมาแลวซ่ึงมีความขัดแยงและความขัดขืนฝนใจอยูในตัว ไมทําใหเกิดความมั่นใจไดเลยวาจะราบรื่นกลมกลืน เพราะยังไมไดเปลี่ยนทิฏฐิข้ันพื้นฐาน

ความสําเร็จท่ีแทจริงของการพัฒนาแบบยั่งยืนหรือ sustainable development น้ัน อยูท่ีการเปลี่ยนทิฏฐิพื้นฐานดังท่ีกลาวมาแลว โดยเฉพาะทิฏฐิเกี่ยวกับความหมายและความมุงหมายของชีวิตมนุษย พรอมท้ังความเขาใจในเรื่องอิสรภาพและความสุขที่พูดมาแลว

Page 47: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๓๙

เพราะฉะนั้น การที่จะมี sustainable development ใหecology อยูดีคู economy ไดน้ัน มนุษยจะตองมีวิธีการเอาประโยชนจากธรรมชาติโดยไมเอาเปรียบธรรมชาติและมนุษยก็ไมเอาเปรียบกันเองดวย เพราะถามนุษยเอาเปรียบกันเอง มนุษยท่ีถูกเอาเปรียบก็เทากับถูกผลักดันบีบบังคับใหไปเอาเปรียบธรรมชาติอีกนั่นแหละ

ถึงแมจะไมเอาเปรียบทําลายธรรมชาติโดยตรง แตก็มีการเอาเปรียบทําลายธรรมชาติโดยออมจากการที่มนุษยเอาเปรียบกันเองแลวผลักดันใหมนุษยดวยกันตองไปเอาเปรียบธรรมชาติ

อยางไรก็ตาม ปญหาในระดับวิธีการอยางนี้ จะแกไขใหสําเร็จจริงไมได ถาไมแกไขใหลึกลงไปถึงพื้นฐานแหงความคิดความเชื่อและคานิยม กลาวคือทิฏฐิท้ังหลายที่ไดกลาวมา

ถึงตรงนี้ขอพูดแทรกหนอยวา เราจะตองไมมองขามบทบาทที่สําคัญยิ่งของสื่อมวลชน ในการชักจูงสงเสริมคานิยมทางสังคมและความคิดเห็นของประชาชน

สื่อมวลชนและเทคโนโลยีในดานขาวสารขอมูลทุกชนิด สามารถชวยเหลือทําประโยชนแกมวลมนุษยไดเปนอยางมาก ในการแกปญหาของโลกสมัยปจจุบัน และในการพัฒนามนุษย ถานําเอาศักยภาพที่มีอยูมาใชในการสงเสริมทิฏฐิหรือแนวความคิดท่ีดีงามขั้นพื้นฐานทั้ง ๓ ประการที่กลาวมาแลว พรอมท้ังคานิยมทางสังคมที่สอดคลองกับทิฏฐิเหลานั้น แทนที่จะมุงใชความเกงกาจเชี่ยวชาญไปในการชักนําและโหมกระพือโลภะ โทสะ

Page 48: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๔๐

โมหะ และคานิยมทางสังคมที่ไมพึงปรารถนานานัปการ ซ่ึงเปนไปตามอํานาจการชักนําของทิฏฐิท่ีเปนโทษสามอยางขางตน

การศึกษา แมจะมีอิทธิพลโดดเดนนอยกวาสื่อมวลชน แตก็หนักแนนลงไปถึงรากถึงฐานมากกวาสื่อมวลชน

การศึกษานั้นไมควรจะมีความหมายเปนเพียงการเตรียมคนไปหางานทํา เพื่อรับใชระบบแขงขันตามแนวความคิดแบงแยกแบบเกา การศึกษาจะตองมุงจุดเนนไปยังบทบาทที่สําคัญที่สุดของตน คือการพัฒนามนุษยตามแนวทางของการสรางเสริมทัศนคติหรือทิฏฐิท่ีเกื้อกูลท้ังสามประการ การศึกษาเชนนั้นจะชวยใหเราสถาปนาสัมมาทิฏฐิลงไดในสังคม

ในวงการเมือง ปจจุบันนี้ ประชาธิปไตยกําลังชูธงชัยแตวาที่จริง คุณงามความดีของระบบประชาธิปไตยนั้น ก็ยังหาไดเปนที่มั่นใจโดยสิ้นเชิงไม และผลสัมฤทธิ์ของมันก็ยังเปนที่นาสงสัยอยู

พูดคราวๆ ก็คือ ตราบใดประชาธิปไตยยังถูกครอบงําดวยทิฏฐิท่ีผิดทั้งสาม ตราบนั้น มันก็จะไมสามารถนํามนุษยชาติไปสูความเกษมศานติท่ีแทจริง ประชาธิปไตยจะบรรลุจุดหมายสูงสุดของมันได ก็ตอเมื่อรากฐานทางอุดมการณของมันไดรับการแกไขใหถูกตอง

เวลานี้ มีการพยายามเอาประชาธิปไตยมาจับเขาคูกับลัทธิทุนนิยม หรือถึงกับจัดวาเปนลัทธิอันหนึ่งอันเดียวกัน เชนมีการพูดวา “ประชาธิปไตยและเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี” และวา“ประชาธิปไตยแบบตลาดเสรี” นาสงสัยวา ในขั้นสุดทาย

Page 49: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๔๑

ประชาธิปไตยจะเขาคูหรือเปนหนึ่งเดียวกับทุนนิยมไดจริงหรือไม หรือมิฉะนั้นก็นาสงสัยวา ประชาธิปไตยที่เขาคูหรือเปนหนึ่งเดียวกับทุนนิยมนั้น จะเปนประชาธิปไตยที่ดีจริงหรือไม

ลัทธิทุนนิยม กับลัทธิสังคมนิยม ท่ีมองเห็นกันโตงๆ วาเปนระบบสองอยางตางกันที่ขัดแยงกันอยางตรงขามนั้น วาที่จริงแลวก็รวมลงในวัตถุนิยมเปนอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งสองอยางนั่นแหละ และทั้งสองลัทธิน้ันก็ลวนตั้งอยูบนฐานแหงแนวความคิดแบบกาวราวแบงแยกทั้งสามดวยกันทั้งคู

การลมสลายของลัทธิสังคมนิยมคอมมิวนิสตมิใชเปนเครื่องบงบอกวา ลัทธิทุนนิยมจะเปนระบบท่ีถูกตองดีงามแตอยางใด ในทางตรงขาม มันกลับช้ีนัยวา ในบรรดาลัทธิวัตถุนิยมท่ีครอบงําโลก ๒ แบบน้ัน เมื่อความลมเหลวของลัทธิหนึ่งปรากฏออกมาแลว ความลมเหลวของอีกลัทธิหนึ่งก็เปนที่คาดหมายได

ขณะนี้ ไมวาใครๆ ก็ไดยินเสียงรองทุกขโอดครวญมากมายเกี่ยวกับผลรายที่เกิดขึ้นแกสังคมและสภาพแวดลอม จากความเจริญทางเศรษฐกิจ ตามแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ดําเนินตามระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประชาธิปไตยจะดีงามประเสริฐได ก็ตองชําระสะสางตัวเองใหหมดจดจากเชื้อรายที่วามาแลว และตั้งมั่นอยูบนรากฐานทางอุดมการณท่ีผุดผองดีงาม

สวนเศรษฐกิจน้ันเลา ก็จําเปนตองมีการเปลี่ยนแปลง มิใชเพียงแคปฏิรูปหรือแปรรูปใหมเทานั้น แตจะตองพลิกผันรากฐานทางทฤษฎีกันใหมเลยทีเดียว

Page 50: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๔๒

ระบบประนีประนอมบนฐานความคิดที่ผิดควรตองปดฉากลงไปดวยกันกับศตวรรษที่ ๒๐

รวมความวา จะตองพัฒนาเศรษฐกิจพรอมไปกับการพัฒนาตัวมนุษยเองดวย เพราะฉะนั้น การพัฒนาเศรษฐกิจจะตองใหสมดุลดวยการพัฒนามนุษย มิฉะนั้น ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจก็อาจจะเปนเพียงภาพลวงตา

ดังที่ปรากฏในหลายกรณี วาเปนความเจริญทางเศรษฐ-กิจท่ีทําใหธรรมชาติเสื่อมโทรมบาง เปนความเจริญทางเศรษฐกิจท่ีทําใหเพื่อนมนุษยดวยกันเดือดรอนบาง ตลอดจนเปนความเจริญทางเศรษฐกิจท่ีทําใหสูญเสียความเปนมนุษยของตนเอง คือเปนความเจริญทางเศรษฐกิจท่ีทําลายความเปนมนุษยหรือ ทําลายคุณคาแหงความเปนมนุษยของตัวเอง ดังเชนตัวอยางที่เห็นไดงาย คือ การที่มนุษยยอมตัว หรือถูกบีบบังคับใหทอดทิ้งเกียรติภูมิของตนลงไปเปนโสเภณีเพียงเพื่อเห็นแกจะหาเงิน

บางทีก็มีความเจริญทางเศรษฐกิจชนิดที่ลวงตา เปนภาพรวมออกมาวา ประเทศมีความเจริญเติบใหญทางเศรษฐกิจแตแทจริงแลวปรากฏวาคนสวนใหญสูญเสียความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สวนในบางกรณีประเทศไมมีความเจริญเติบใหญทางเศรษฐกิจ แตคนกลับมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจดีกวา ถาอยางน้ี เรายอมไมมีความเจริญทางเศรษฐกิจ เพื่อใหคนมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจจะดีกวา

Page 51: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๔๓

ไปๆ มาๆ สภาพการพัฒนาของโลกยุคปจจุบันกลายเปนวา เพื่อจะใหมนุษยสวนนอยมีความสุข ก็ตองใหธรรมชาติและมนุษยอื่นสวนใหญตองยอมรับความทุกข เปนความสุขจากการกอทุกขแกธรรมชาติและมนุษยเหลาอื่น ธรรมชาติก็แย สังคมก็ยับเยิน และตัวคนก็ไมมีความสุขจริง ในสภาพการพัฒนาแบบนี้ถึงแมธรรมชาติพินาศหมดก็ไมพอที่จะทําใหคนมีความสุขแทจริง พระพุทธเจาเคยตรัสวา แมจะเนรมิตภูเขาทั้งลูก ใหเปนทองคํา ก็ไมพอที่จะทําคนคนเดียวใหมีความสุขเต็มอิ่มตามความปรารถนาไดจริง ถึงแมมนุษยจะแกงแยงกันจนสังคมพินาศ คนก็ไมมีความสุขจริง ตางพวกตางคนตางแยงกัน ตางก็ไมพบความสุขไปดวยกัน ธรรมชาติพินาศหมดคนก็ไมพบความสุข สังคมพังทลายหมดคนก็ไมสุขจริง

ในระบบความคิดแบบแบงแยกแขงขันตอสูกันนี้ ก็จะมีจริยธรรมเชงิลบขึน้มาเปนเครือ่งจาํกดัขอบเขต มกีารตัง้กฎเกณฑข้ึนเปนหลักประกันไมใหลวงละเมิดล้ําแดนกัน ดังที่กําลังย้ําเนนใหมีความยับยั้งสังวร (restraint) ตอธรรมชาติ ใหมีความยอมทนกันได (tolerance) ระหวางมนุษยตางศาสนา ตลอดจนการเรียกรองปกปองสิทธิมนุษยชน (human rights) ซ่ึงในที่สุดก็จบลงดวยการประนีประนอม (compromise) โดยยอมประนีประนอมกับธรรมชาติ และประนีประนอมระหวางมนุษยดวยกัน

ระบบนี้จึงจบลงดวยการที่ตางฝายตองยอมเสียบางอยาง เพื่อไมใหเสียทั้งหมด ตางฝายตางยอมที่จะไมไดเต็มตาม

Page 52: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๔๔

ตองการ เพื่อใหตนไดบาง เพราะฉะนั้น จึงเปนระบบท่ีแกปญหาไมไดจริง ทําไดเพียงครึ่งๆ กลางๆ หรือเพียงขอไปที

ในยุคใหมน้ี ท่ีทุกอยางเปนเรื่องของโลกหรือเปนเรื่องระดบัโลก (global) มนุษยจะอยูในชมุชนโลก (world community)อันเดียวกัน แนวความคิดหรือทิฏฐิเกาๆ แบบแบงแยกแขงขันแยงชิงตอสูกันนั้น ใชไมได ไมเหมาะแลว ไมพอที่จะใหโลกมีสันติสุขมันเปนเรื่องของอารยธรรมที่มีจริยธรรมแนวลบ ซ่ึงไดแคเปนเครื่องพยุงโลกไวกอน เพียงในขั้นของการประนีประนอม เหมือนการสงบศึกชั่วคราว จึงไมเพียงพอที่จะชวยใหโลกมีสันติและประชาชนมีความสุข แตจะตองมีจริยธรรมแนวบวกมาชวยเติมและจะตองปรับตัวเขาสูแนวความคิดใหม

เริ่มยุคใหมแหงศตวรรษที่ ๒๑ดวยแนวความคิดใหมเดิมแทแหงสัจธรรม

พระพุทธศาสนาสอนวา๑. มนุษยเปนสวนหนึ่งอยูในระบบความสัมพันธแหงเหตุ

ปจจัยของธรรมชาติ ท่ีทุกสวนสงผลกระทบตอกัน จึงตองทําการท่ีเกือ้กลูประสานกลมกลนืกนั เพือ่ใหเกดิผลดีในการอยูรวมกนันัน้

๒. มนุษยสัตวท้ังปวงเปนเพื่อนรวมกฎธรรมชาติเสมอเหมือนกัน ทุกชีวิตรักสุขเกลียดทุกขกลัวตายเหมือนกันไมมีการแบงแยกแตกตาง การทํารายสัตวไมวาชีวิตใด ก็เปนสิ่งที่ไมดีท้ังสิ้น มนุษยควรมีเมตตาและไมตรีท่ีไมจํากัดแบงแยก มีแนวโนม

Page 53: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๔๕

ของจิตใจในทางที่จะชวยเหลือเกื้อกูล มุงความสามัคคีและมีความกลมกลืนเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน

๓. ชีวิตที่ดีงามสูงสุดเปนชีวิตที่มีความสุขดวยความมีอิสรภาพ นอกจากอิสรภาพภายนอกที่เกี่ยวของกับธรรมชาติแวดลอม เริ่มแตความปลอดพนจากความขาดแคลนปจจัย ๔ และการพนจากการเบียดเบียนกันระหวางมนุษยแลว สูงขึ้นไปมนุษยจะตองมีอิสรภาพภายใน ซ่ึงเกิดจากการพัฒนาตน ดวยการพัฒนาจิตปญญา จนกระท่ังมีความสุขที่เปนไทแกตนเอง ซ่ึงทําใหเขาสามารถกลับมาเกื้อกูลตอธรรมชาติแวดลอมและเพื่อนมนุษยไดดียิ่งขึ้น

ขอพูดยอนตนซ้ําอีกหนอยวา ข้ันตนเราตองอาศัยธรรมชาติแวดลอมและสังคม เราจึงตองมีอิสรภาพ ๒ ดานนั้น ซ่ึงเปนสิ่งจําเปนเพื่อเปนปจจัยเอื้อใหเรามีโอกาสที่จะพัฒนาอิสรภาพภายในขึ้นได แตเหนือข้ึนไปเราจะตองใชโอกาสเทาที่มีน้ันในการพัฒนาตนใหมีอิสรภาพภายในขึ้นจริงๆ เพื่อใหตนเองเปนอิสระในตัว อิสรภาพสองอยางแรกจึงจะมีหลักประกัน

ถาไมมอีสิรภาพภายในเปนฐาน และเปนประกนั อสิรภาพสอง อยางดานนอกก็จะไมสําเร็จ อยางนอยก็ตั้งอยูนานไมได แตถามนุษยพัฒนาตัวเองใหมีอิสรภาพภายในแลว เขาก็จะไมเรียกรองจากธรรมชาติเกินสมควร และไมมุงแตจะแขงขันแยงชิงกันกับเพื่อนมนุษย แตจะหันมาเกื้อกูลและรวมมือกันมากขึ้น ทําใหเกิดมีจริยธรรมในทางบวก ท่ีไมตันอยูแคการประนีประนอม แตจะไปถึงความประสานกลมกลืนกันดวย

Page 54: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๔๖

ในสภาพเชนนี้ ความเจริญทางเศรษฐกิจก็จะสมดุลดวยการพัฒนาตัวมนุษยเอง ซ่ึงจะทําใหเกิดผลสอดคลองกับความมุงหมายของการประชุมสภาศาสนาโลก ป ๑๙๙๓ (1993Parliament of the World's Religions) ครั้งนี้ท่ีวา จะสนับสนุนใหมีการรวมงานรวมการกันสืบตอไปในการเสริมสรางสันติภาพ บรรเทาความทุกขยากเดือดรอน และอนุรักษผืนโลก ความมุงหมายทั้งสามประการของการประชุมน้ี จะสําเร็จเองในตัว

ในทางตรงขาม ถาคนยังมีทิฏฐิแบบเดิม ทุกอยางจะขัดแยงกันในตัว เพราะถาจะใหคนมีความสุข วัตถุประสงคสามอยางนั้นก็ตองเสีย แตถาทําตามหลักที่วามานี้ เมื่อบุคคลแตละคนมีความสุข ความสุขของบุคคลนั้นก็จะกลับไปชวยหนุนวัตถุประสงคสามขอใหสําเร็จดวย ท้ังใหมนุษยอยูรวมกันโดยสันติ ท้ังบรรเทาความทุกขยากเดือดรอน และอนุรักษผืนโลกไวได วัตถุประสงคท้ังสามประการจะสําเร็จหมด

แตก็ตองเตือนวา จะสําเร็จแคใดก็อยูท่ีระดับของการพัฒนาตนและการเขาถึงอิสรภาพที่แทจริงของมนุษย

อยางไรก็ตาม การประชุมน้ีไมไดกําหนดความมุงหมายเกี่ยวกับเรื่องความสุขของบุคคล ซ่ึงเปนปจจัยสําคัญ ตอความสําเร็จหรือลมเหลวแหงวัตถุประสงคของการประชุมน้ี จึงขอเสนอแนะวาการประชุมทํานองนี้ควรจะไดยกเอาเรื่องอิสรภาพและความสุขของบุคคลขึ้นเปนขอพิจารณาดวย

Page 55: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๔๗

จริงอยู ในทางพระพุทธศาสนานั้นทานถือวา มนุษยท่ีพัฒนาสมบูรณแลว จะกําจัดละโลภ โกรธ หลงไดท้ังหมด แตมนุษยจะตองพัฒนาขึ้นไปตามลําดับเปนขั้นตอน

สําหรับคนทั่วไป คุณสมบัติสําคัญที่จะใชวัดระดับการพัฒนา ก็คือการละความเห็นผิด ซ่ึงมีความสําคัญเปนอยางยิ่งในข้ันตนๆ ของการพัฒนามนุษย

ถาละความเห็นผิด โดยแกไขความเห็นใหถูกตองไดแลวถึงจะยังไมหมดโลภะ และโทสะ ยังมีความเห็นแกตัว ยังมีความโลภ มีความเกลียดโกรธชิงชังกันบาง ก็จะไมมีพิษสงมากนัก จะเกิดเปนปญหาเฉพาะกรณีๆ และเปนเรื่องชั่วคราวระยะสั้น แลวก็หมดเรื่องไปเปนเรื่องๆ ไมรุนแรง ไมยืดเยื้อ ไมกวางไกล ไมยาวนาน เพราะไมมีทิฏฐิเปนที่จับยึดเกาะเกี่ยว แตถาโลภะ และโทสะนั้น มีทิฏฐิคอยรับรองและเปนฐานรองรับเปนที่ยึดเกาะเกี่ยวแลว มันก็จะมีผลรายกวางไกลและลึกล้ํายาวนานมาก

เพราะฉะนั้น ในการพัฒนามนุษย พระพุทธศาสนาจึงกลาวถึงคุณสมบัติข้ันแรกวาไดแกการละความเห็นผิดได เมื่อแกไขความเห็นใหถูกตองแลว ถึงเขาจะยังมีโลภะ และโทสะ มันก็จะออนกําลังลง และกอผลรายในวงจํากัด ดังที่ทานกลาวถึงพระโสดาบันวาละความเห็นผิดได แตโลภะและโทสะเพียงแคเบาบางลง ยังไมหมด นอกจากนี้ อิทธิพลของโลภะและโทสะนั้น ก็จะถูกกลบและถูกแปรผัน ภายใตพลังสรางสรรคของแนวความคิดหรือทิฏฐิท่ีถูกตอง ซ่ึงกอใหเกิดผลที่ดีงาม มากมายแผขยายออกไป

Page 56: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๔๘

สรางสรรคอารยธรรมใหม ใหแกศตวรรษที่ ๒๑เพือ่สันตสุิขทีแ่ทและยัง่ยนื บนฐานความคดิทีถ่กูตองสมบรูณ

ชวงนี้ก็เลยขอพูดแทรกเพิ่มข้ึนนิดหนอยเปนขอสังเกต ซ่ึงเปนเรื่องเกี่ยวกับทางศาสนาอยูมาก คือความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษยอยางหนึ่ง และความสัมพันธของมนุษยตอสัจธรรมอยางหนึ่ง

ในการอยูรวมกันระหวางศาสนานั้น ทางดานความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษย มนุษยจะตองมีเมตตา และปฏิบัติตอกันดวยความเห็นใจ คอยพูดคอยจากัน ซ่ึงจะทําใหคนตางศาสนาอยูกันไดดวยความเห็นใจไมตรี

แตในความสัมพันธกับสัจธรรม มนุษยไมสามารถที่จะไปตอรองหรือผอนปรนกับสัจธรรมได เชนจะปรับสัจธรรมใหเขากับตนไมได เรื่องนี้จะตองแยกใหถูกตอง

มนุษยกับมนุษย แมตางศาสนากันก็สัมพันธกันดวยเมตตาไมตรี แตกับสัจธรรม มนุษยจะตองสัมพันธดวยปญญาตองตรงไปหาตัวความจริง ท่ีไมเขาใครออกใคร เพราะฉะนั้น การใชปญญาจะตองเปนอสิระ มนุษยจะโอนออนผอนสจัธรรมเขากบัความตองการของตัวไมได แตจะตองพุงตรงเขาไปใหถึงตัวความจริงของมัน ดังนั้น การแสวงปญญาจึงตองเอาความเปนอิสระตามความเปนจริงโดยไมมีการบีบคั้นกีดกันหรือโอนออนผอนตาม แตมนุษยท่ีตางศาสนากันสามารถพูดกันดวยเมตตาไมตรี

Page 57: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๔๙

ถามนุษยแยกทาที ๒ อยาง คือทาทีของมนุษยตอมนุษยกับทาทีของมนุษยตอสัจธรรมหรือธรรมชาติออกจากกันได และปฏิบัติใหถูกตอง ก็จะไมมีปญหา

ปญหาในวงการศาสนาตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน ท่ีมีการขัดแยงทะเลาะวิวาท ตลอดจนรบราฆาฟนทําลายกันก็เพราะความสับสนในเรื่องนี้ดวย กลาวคือ

คนพวกหนึ่งก็เลยเถิดไป ในแงท่ีวาตนเห็นอยางไรก็จะบังคับใหเพื่อนมนุษยตองเห็นอยางนั้น คนอื่นจะตองเห็นสัจธรรมเหมือนตน

สวนอีกพวกหนึ่งก็สุดโตงไปอกีทางหนึง่ โดยบอกวาใหประสานสามคัคกีนั โดยใหถอืวาสจัธรรมหรอืความจรงินัน้มเีหมอืนกนัทกุศาสนา เหมอืนกบัจะปรบัสจัธรรมใหมาเปนตามที่มนุษยตองการ ซ่ึงเปนไปไมได

ตกลงวา ทาทีท่ีถูกตองก็คือมนุษยอยูกับเพื่อนมนุษยดวยเมตตา และมนุษยอยูกับสัจธรรมดวยปญญา ถาทําอยางนี้ก็ถูกตองไมมีปญหา

เมื่อนําเอาทิฏฐิคือแนวความคิดที่ถูกตองเขามาแลว แมแตวิทยาการตางๆ ก็จะดําเนินไปในทิศทางที่ถูกตอง คือ

๑. เราจะมีวิทยาศาสตร ท้ังวิทยาศาสตรธรรมชาติและวิทยาศาสตรประยุกต พรอมท้ังเทคโนโลยี ท่ีไมคิดจะพิชิตธรรมชาติ ไมเอาเปรียบธรรมชาติ แตมุงรูธรรมชาติตามความเปนจริงซ่ึงเปนทัศนคติท่ีชวยใหมนุษยเขาถึงอิสรภาพที่แทจริง

Page 58: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑๕๐

๒. สังคมศาสตรท้ังหลาย ก็จะตั้งอยูบนฐานความคิดที่มองมนุษยไมแบงแยก และไมมุงแขงขันหาพลังอํานาจที่จะขมหรือครอบงํากัน แตมองกันเปนเพื่อนรวมโลกรวมกฎธรรมชาติ ท่ีมุงหนาไปในทิศทางของความรวมมือและประสานกลมกลืนกัน

๓. มนุษยศาสตร ก็จะหันมาเนนเกี่ยวกับความเพียรพยายามของมนุษยในการเขาถึงคุณคาสูงสุดแหงความมีอิสรภาพที่เปนภายในและการพัฒนาความเปนมนุษย จะเสริมหนุนใหมนุษยพัฒนาตน จนบรรลุอิสรภาพที่แทจริง และกลับมาเปนฐานทีถ่กูตองใหแกศาสตรสองหมวดแรก ท้ังวทิยาศาสตรธรรมชาติและสังคมศาสตร

มนุษยยุคปจจุบันในศตวรรษที่ ๒๐ ไดสรางปญหาโดยสะสมกรรมตางๆ ท่ีจะทําใหเกิดเปนปญหาโผลข้ึนตอไปอยางมากมายในศตวรรษที่ ๒๑ มนุษยศตวรรษที่ ๒๑ จึงจะประสบปญหาที่เปนมรดกในทางราย ท่ีอาจนําไปสูความพินาศ ท่ีมนุษยรุนกอนสรางไวให

ถามนุษยปจจุบันในศตวรรษที่ ๒๐ จะแกไขปญหาเพื่อชวยคนยุคตอไป ใหศตวรรษที่ ๒๑ เปนศตวรรษแหงสันติสุขซึ่งแกปญหาไดสําเร็จ ก็จะตองไมสืบตอกระแสแหงปญหานี้ โดยจะตองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการกระทําทุกอยาง ตลอดลงไปถึงความคิดจิตใจ โดยเฉพาะทิฏฐิท้ังสามที่กลาวมา

แนวความคิดหรือทิฏฐิท่ีเสนอมาทั้ง ๓ ประการนั้นเปนสิ่งท่ีสอดคลองกับยุคสมัยปจจุบันนี้ท่ีธรรมชาติแวดลอมกําลังเสื่อมโทรมจนทําใหการพิชิตหรือเอาชนะจะกลายเปนสิ่งที่ไมมีความ

Page 59: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century ๕๑

หมาย ทรัพยากรธรรมชาติก็รอยหรอจนจะไมมีใหเราผลาญหรือจัดการตามปรารถนาไดตอไป และในระหวางมนุษยดวยกันเองโลกก็แคบเขา เพราะการสื่อสารคมนาคมรวดเร็วทั่วถึงจนผูคนทั่วท้ังโลกกลายเปนชุมชนอันหนึ่งอันเดียว

ในสภาพเชนนี้ มนุษยจะตองอยูรวมกันดวยดีใหได ถึงเวลาที่จะตองขามพนลัทธิแหงการประนีประนอมเขาสูสัจธรรมแหงความประสานกลมกลืน

ท้ังหมดนี้จะสําเร็จไดก็ดวยการที่มนุษยเขาถึงอิสรภาพแทจริง ท่ีตนเองเปนอยูอยางมีความสุขไดโดยขึ้นตอสภาพแวดลอมนอยลง คือออกไปครอบงําจัดการเอาจากสิ่งแวดลอมนอยลง และหันไปเกื้อกูลใหมากขึ้น แลวมนุษยเองก็จะประสบความสุขจากอิสรภาพที่แทจริงนั้นดวย

ขอจบปาฐกถาหรือการบรรยายเสนอแนวความคิดแกท่ีประชุมเพียงเทานี้

Page 60: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)
Page 61: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A BUDDHIST SOLUTION FOR THE TWENTY-FIRST

CENTURY

Page 62: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)
Page 63: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century

This is the first time∗ this century that an international religiousassembly of such magnitude has been organized. During the interval ofone hundred years since the last meeting of the Parliament, the worldhas undergone so many great changes. People say now we are alreadyin the post-industrial Information Society, entering the Post-Cold Warperiod.

With the end of the Cold War, the tension and fear resulting fromthe threat of confrontation between the two superpowers and a worlddivided into ideological camps seemed to dissolve along with it. Thiswas around the end of the twentieth century. Many people felt that inthe approaching twenty-first century, the human race would be blessedwith a much more peaceful existence, that the world would live inpeace.

But it soon became apparent that this was not to be. The threatof total annihilation through nuclear war seemed to have been averted,but although this posed a great danger to mankind, it was a danger thatnever actually came to a head. With the passing of this greater threat, itwas replaced by one of lesser magnitude, but scattered over the planetin many areas. These were dangers which actually came to a head. Thethreat of the Cold War was a very definite, tangible one, a threat thatcould be focused on quite easily. Although it was a very dangerous

∗ Address to the 1993 Parliament of the World’s Religions in Chicago.

Page 64: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century56

situation, it was nevertheless one which was very unlikely to actuallydevelop into a full scale war. The wars that have since sprung up allover the globe are much more difficult to control. Even the threat ofnuclear war, which seemed to have passed, is not gone by any means.In fact it poses an even greater threat than before because it is nowmuch harder to control, nuclear weapons being scattered over a largenumber of countries, with very different backgrounds.

Although the ideological wars seem to have passed on, we nowhave more wars arising from racial and religious confrontation, which aremuch more passionate and brutal. Civil wars and racial confrontation arebecoming more and more common all over the globe. In addition,terrorism is becoming both more common and more violent. The factthat the world has been made smaller through the development ofinformation technology not only facilitates travel and communication, italso facilitates the spread of terrorism. Terrorism rides the media ofcommunications technology, making travel no safer than before, andincreasing the likelihood of danger in all countries. Terrorist activities aremuch easier to carry out because of the development of communicationsand travel.

This leads to the problem of immigration and refugees. People inmost countries are now more suspicious of outsiders. Nationalistic, racialand religious wars have led to increased numbers of refugees, amongwhom may be terrorists infiltrating into the host country to undertaketerrorist activities.

Hatred, discrimination, and mutual distrust is intensified by thestruggle for natural resources. The avaricious competition to amassnatural resources not only leads to strife within human society. Theseresources must be found within the natural environment, which gives

Page 65: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century 57

the problem a double edge. On one hand, there are problems with theenvironment, in the form of depletion of natural resources anddestruction of the environment, which has been gradually intensifyingthrough the increased competition for these resources, and on the otherhand there is an intensification of mutual human destruction.

The environmental crisis and the shortage of natural resourcesbegan to become really clear only towards the end of this twentiethcentury. These problems are going to have a big effect on the people ofthe twenty-first century which we are now approaching. Twenty-firstcentury man will inherit the fruits of twentieth century man’sdestruction of the environment. The enormous amount of naturalresources on this planet, amassed over a period of hundreds of millionsof years, have mostly been consumed by humanity in a period of onlyone or two hundred years.

All of these problems stem from the problem of hatred or violenceperpetuated under the power of what we call in Buddhism dosa, oraversion, and lobha, desire or greed. These two forces, greed and hatred,are very important forces in the mind. With the development oftechnology, and in particular, so-called ‘high technology’, which dealswith information and communications, greed and hatred have acquiredmuch more effective tools.

Technology has become a tool of greed and hatred, andtechnological progress, in the form of industrial development, has beenalmost exclusively to their ends. Science, technology and thedevelopment of information and communications technology have beenused to lull humanity into heedless consumption, dullness andintoxication in various forms, rather than for the development of thehuman being or quality of life. They have been used as tools for seeking

Page 66: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century58

objects with which to nourish greed, and in so doing, have fired hatredthrough the contention and dispute over material wealth. In thedestruction which results from racial and religious antagonism, hatred isalready in abundance. This is further intensified by the influence ofgreed and the struggle for material resources.

Even forms of technology which are created for our benefitbecome tools for destruction. It is much easier for human beings to inflictdestruction on each other. Take, for example, electricity: in the past, ifan enemy wanted to put out all the lights in a city, they would have togo throughout the city, putting out the lights in each house. Now,simply by destroying the central power supply, the whole city would bethrown into darkness and almost all activities paralysed.

The influence of these two qualities, desire or contention forresources, and hatred or enmity, have caused many problems for humanbeings, both within themselves and within the environment. In order toreally address these problems, it is necessary to bring these two forcesunder control.

Greed and hatred, which are natural conditions within thehuman mind, would be much easier to control, and would be muchshorter lived, if it were not for the influence of a third condition, whichin Buddhism we call ‘diṭṭhi’, views and beliefs. Ideologies, religiousbeliefs and social values are all aspects of diṭṭhi. Whenever greed, angerand hatred are reinforced with beliefs and social values, they acquire aclearer direction, an impetus which channels them into much moredestructive activities. Greed and hatred are maintained and prolonged bythe influence of diṭṭhi, making them much harder to resolve.

Adherence to different ideologies and social values, be itconscious or otherwise, becomes kamma on a social scale, which is of

Page 67: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century 59

far-reaching effect, extending over long periods of time. Conversely, ifthere is right view, right belief, social values or ideologies which areright, greed and hatred will arise on a much lesser scale, and will bemuch easier to control, because they are not supported or encouraged.

In the present time we can see that greed and hatred arepositively flourishing. They are supported or based on a powerfulfoundation of wrong views. In the preceding decades we experiencedproblems with ideologies. There were two major schools which had splitthe world into camps. Now the contention between these ideologies haspetered out, but we have not resolved the problems of nationalism,racism and sectarianism. Ideology is in fact a kind of diṭṭhi, and so wecome back to the problem of diṭṭhi or ideology to find a solution.

Briefly speaking, the beliefs that have held control over modernhuman civilization can be grouped into three main perceptions:

1. The perception that mankind is separate from nature, thatmankind must control, conquer or manipulate nature according to hisdesires.

2. The perception that fellow human beings are not ‘fellowhuman beings’. Rather than perceiving the common situations orexperiences shared among all people, human beings have tended tofocus on the differences between themselves.

3. The perception that happiness is dependent on an abundanceof material possessions, that human beings will only find happinessthrough a wealth of material possessions with which to feed theirdesires.

The first perception is an attitude towards nature; the secondperception is an attitude towards fellow human beings; the thirdperception is an understanding of the objective of life.

Page 68: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century60

These three beliefs or perceptions have determined the directionof human development and undertaking. It is not difficult to see the roleof these three views in the present time; people in the present time arealmost entirely dominated by these perceptions. Being held under thepower of these three perceptions, their resulting actions become kammaon the social level. That is, the development of human society is guidedby the kamma, or actions, of human beings blinded by these threeviews or perceptions.

It must be stressed that when greed and hatred or anger arefounded on or supported by views, be they religious, political orotherwise, they will be intensified and sustained, yielding a result thatis far-reaching and long-lived. They will be very difficult to put right. Ifthey are not addressed on the level of diṭṭhi or view, it will beimpossible to rectify hatred and greed.

Even the different sciences and branches of learning which havebeen responsible for the material progress of humanity in recent times,and on which modern civilization is founded, have unknowinglydeveloped under the influence of these three perceptions or attitudes.

Broadly speaking, without going into a detailed analysis, wemight say that the natural sciences have developed under the influenceof people who had a tendency to aspire to conquering nature, whoperceived human beings as separate from nature; the social scienceshave developed under the influence of those who perceived not thesimilarities in human beings, but the differences, seeing human beingsas divided into different groups, tending to look at society in terms of thestruggle for power. Thirdly, the humanities have developed under theinfluence of those who see freedom, the goal of life, as an externalcondition, as the power to control other things, such as nature or fellow

Page 69: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century 61

human beings. This kind of freedom seeks to have power over externalconditions, and as such influences the development of the natural andsocial sciences. When freedom is seen in this way, happiness is likewiseperceived as being intimately related to the power to control externalcircumstances, which in turn can be used to satisfy personal humandesires.

As I have already mentioned, as long as people are under thesway of these three beliefs or perceptions, there is no way that theproblems in the world can be realistically solved.

In coming years the population of the world will continue toincrease, the resources of the world will continue to dwindle, and theenvironment will continue to deteriorate. These three attitudes or beliefswill escalate these problems to more critical dimensions. While thepopulation is increasing, and the natural resources of the worlddwindling, human beings still perceive their happiness as dependent onsensual pleasures and material possessions. They still perceive freedomas the power to control external conditions, and fellow human beings asrivals and hostile groups. Human beings will be under more pressure tovie with each other for the possession of natural resources on a moreviolent scale. Under the mis-direction of these three wrong views,human beings have also developed the lifestyles that lead to thewidespread of such life and social ills as drug abuses, violence, stress,mental illness, suicides, and AIDS. This is why I say that the people ofthe twenty-first century are going to have to receive the fruits of ouractions in the twentieth century.

I would like to stress once more that in order to solve theproblems of greed, hatred, selfishness and mutual destruction, theymust be addressed on the level of views or attitudes. Greed and anger

Page 70: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century62

must be allowed no footing or foundation on which to grow intouncontrollable proportions, giving results that are widespread and long-lived.

When we speak of views, we are coming into the domain ofreligion, because religion is view. For religion to be effective inaddressing the problems of the world it must be based on good or rightviews, and must encourage the propagation of such views in the world.That is, religions should not encourage or teach in accordance with anyof the three views or attitudes mentioned here.

In the present time, the developed countries are in agreementthat the perception of mankind as separate from nature, and the desireto conquer nature, are not correct views. Those analysts who areexamining environmental problems and looking for ways of achievingsustainable development stress that we must begin to look on humanbeings as part of nature, that human beings must learn to live peacefullywith nature.

This is a very good sign, a sign that human beings are beginningto address the first of these three pernicious views, by learning toreconsider their relationship with nature. Although it is a beginning, it isnot yet enough. The three views or attitudes I have mentioned are allinterrelated, and all must be addressed in order to really solve theproblem. It is not possible to really solve the problem by simplyaddressing one of these views. Such a solution would be insufficient, itwould not be a complete solution.

One of the factors involved in the process of causing the problemswe are presently experiencing is the way human beings look on eachother. How do we look on other people? This is the second attitudewhich must be rectified.

Page 71: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century 63

Today all our different religions are meeting together, seeking away to enable human beings to live together in peace and harmony andto relieve the suffering in the world. This is a very fine undertaking, avery timely effort, perhaps even a little overdue. But among religiouscircles it must be conceded that religions have had a major role in theappearance of many of the problems I have been speaking about. In thepast religion has been one of the major causes for disunion and discord,and even not a few cases of war and atrocities. In order to really addressthese problems we must be bold enough to speak up, to be honest andto look within ourselves before we can really teach or appeal to others.We must turn around and search within our religions to find out thecause, the reason, that in the past people have killed each other andgone to war over religion. If we can find that point, then we can reallyaddress the problem.

Our meeting together today is a very auspicious sign. If we canlook into these problems and see their causes, if we can together discussthem and see them within ourselves, this will be the beginning of asolution. The most important point for us to closely examine ourselvesin, is how does our religion teach us to look on people of other faiths anddifferent groups? Does it teach us to look on others with mutual respect,fraternity and concord, or does it teach us to look on others as inferior,as sinners or heathens, or even something which should be destroyed?

In the past, the larger proportion of religions has helped onlyselect groups of people, fostering harmony and friendship within thatgroup, but greeting others with hostility. This is why religion has beensuch a divisive force in human history, a catalyst for war anddestruction.

Page 72: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century64

Many teachings which were suitable for small groups of peopleare no longer effective in today’s ‘Global Village’. They are not up to thecurrent situation. In the present time, material development has led usto a world that is linked over the whole planet, but religious teachingsare still addressing the human situation in terms of small groups. As aresult human beings are not yet ready to live together on a global level.

So it seems that personal human development is notcommensurate with the physical world situation. Religions are not yetattuned to addressing the needs of people on a global level. Instead ofbeing a factor for mutual peace and harmony in the world, we find thatreligions are a cause of more and more contention and strife, wars andbloodshed.

In this case, religions must re-appraise their role, they must re-examine their basic views and attitudes. Before religions are able to playa constructive role in human development, the foundation of views uponwhich they are based must be sound. Human beings must beencouraged to look on others on an equal basis, they must beencouraged to respect and accept each other, seeing each other with anattitude that is harmonious.

If it is not yet possible to look at others in this positive way, thenwe must at least address the negative situation, by teaching that to killother human beings is a sin or an unskilful act. That is, to kill a humanbeing, of no matter what description, denomination, race or group, isalways a sin. Let us have this as a basic foundation, as a beginning.

It is very obvious in the present time that human beings areplagued with contention and conflict. Human life is characterized bycompetition and dissension. If we look into this deeply we will see thatthe reason that such values as human rights and religious tolerance are

Page 73: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century 65

so important in this age is because we do live in such an age ofcontention, where our thinking is divisive and factional. While weacknowledge that the concepts of human rights and religious toleranceare very important in the present time, and are very noble qualities, wemust also recognize that this is so because the world is still under theinfluence of divisive ways of thinking. Human thought is still largelyrooted in dualism. Human rights are our guarantee that while humanbeings are still under the influence of this divisive kind of thinking, theywill be able to live together without destroying or exploiting each other.

The concept of human rights arose from a historical backgroundof division, segregation and competition. Human rights are a necessaryprotection from aggression from other parties, an answer to a negativesituation: when humanity is plagued by aggression and contention, it isnecessary to devise some protection from aggression. Human rights haveled to the establishment of laws and regulations devised to try tomaintain harmony within human society. Within developed countriesthese qualities are very effective and as such are very useful to theglobal situation.

While human rights are useful within the environment ofdissension, they are not very far reaching. They are only a compromise.Compromise is not capable of leading human beings to true unity andharmony. Compromise is a situation in which each side agrees to give ina little to the other in order to attain some mutual benefit. A quality offorce or mental resignation is involved.

As long as human beings do not outgrow their old ways ofthinking, it will be impossible to bring about true peace in the world.The concept of human rights is useful in an age of fighting and

Page 74: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century66

contention, or when human thinking is divisive and separatist, but isnot enough to lead humanity to true peace and harmony.

In essence, the concepts of human rights have three major flaws:Firstly, the concepts themselves are flawed. They have resulted

from a background and basic attitude of division and segregation,struggle and contention. This situation led to an attempt to assure self-preservation and protect mutual interests, which became human rights.Human rights must be obtained through demand.

Secondly, human rights are a convention, they are a purelyhuman invention and do not exist as a natural condition. They are not‘natural rights’. Being a human invention, they do not have any firmand lasting foundation of truth. They must be supported by laws andthey must be accepted by all parties in order to work. They are notlasting. If human rights are to be lasting and firm they must beconnected to natural reality. In order for human rights to be founded onnatural reality, human mentality must be developed to a stage wherepeople are prepared to preserve human rights. Only in this way willhuman rights be sustainable.

This leads us to the third flaw of the concept of human rights,which is that it is a purely social convention, dealing with socialbehaviour. It does not consider the quality of mental motivation withinthe individual. Social behaviour must always be connected to mentalmotivation, which is both the instigator and the guiding influence ofthat behaviour. If the mental foundation is faulty, or there is not a goodfoundation within the mind, then instead of leading to a good result, theresult will be more and more contention.

While we must acknowledge the needs of human rights activists,in order to understand the situation more clearly we must analyse the

Page 75: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century 67

quality of mind within the activists themselves. When we look into themental motivations behind many, or even most, of the demands forhuman rights, we will find that they are often based on or influenced byaversion or resentment. As long as this aversion is within the mind, itwill be very difficult to obtain a truly efficacious result from humanrights activities, because the basic feeling behind them is not trulyharmonious. Aversion is the inspiration which decides the direction ofthis activity, making the resulting behaviour too aggressive to obtain therequired result, instead escalating the problem.

In order to really address this problem it is necessary to addressthe basic state of mind within each individual, which is a concern ofhuman development.

From what I have said so far, it seems that it is necessary for usto proceed to a way of thinking, or a perception of human relations,which is more positive. That is, we must see human beings asneighbours, co-habitants of this world. We are all equal in the eyes ofthe natural laws, being equally subject to the laws of nature.

However, this in itself is not yet truly positive thinking. We mustdevelop thinking which sees human beings as both equal and united.Why do I say both equal and united? There has been much talk ofequality in recent times, but it tends to be a divisive or contentious kindof equality. This kind of perception of equality leads to the drive tocompete for equal rights. It is an equality that is based on competition,suspicion and fear. In order to prevent the drive for equality from beingdivisive, there must be unity. Unity is the desire and inclination to livetogether. It is an attitude that leads to cohesion and alliance. Unity is notsimply a compromise, it is not a compromise on competition, but is adevelopment of cooperation into harmony.

Page 76: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century68

Competition must be balanced by cooperation. It must besupported by what we call in Buddhism mettā, goodwill. This goodwillmust be unlimited, unconditional, unsectarian. People have problemswith goodwill or love. There may be love, but it is divisive, it isconditional, it is exclusive and discriminative. There is love for one’sown group, but not for others. Love or goodwill must be spreadeverywhere, regardless of boundaries, towards all lives that existtogether within the domain of the natural universe.

This does not mean that human beings can no longer preservetheir unique traditions and cultures. Preservation of traditions and ethniccultures can continue, based on the fact that people do have differentbackgrounds, different birthplaces. Adapting and fitting in to their nativeenvironments leads to harmony and well-being within that particularenvironment. Ethnic cultures can and should be preserved, beingintermediate unitary stages toward the consummate global unity. Thuswe have diversity within unity. Preservation of traditions must be donewith wisdom and understanding, not with delusion or ignorance,through simply clinging to them.

If we practise correctly in regard to human development, thepopulation will grow from small groups into a more global community,one which is harmonious both on the communal and global levels.

Well-developed human beings will be free of the quality we callin Buddhism macchariya, covetousness or possessiveness, on fivecounts.

The five kinds of possessiveness are:1. Possessiveness or avarice of locality and country.2. Possessiveness or avarice of group or family, including ethnic

and religious groups.

Page 77: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century 69

3. Possessiveness or avarice of material wealth.4. Possessiveness or avarice of class or caste, including social

standing, skin colour and so on.5. Possessiveness or avarice of knowledge and learning, including

intellectual achievements and attainments.True human development is characterized by an absence of these

five kinds of avarice, culminating in their complete abandoning. Whengauging human development, the presence or absence of these fivekinds of avarice should be taken into account.

The time has come for us to urgently do away with these fivekinds of avarice in order to save the world from the threat of war anddestruction. However, in the present time it seems that the opposite isthe case. This is at odds with technological development, which hasbeen for increased communication and interdependence. The basicmental attitude of people in the present time is one of aggressivecompetition, self-preservation and personal prosperity at the expense ofothers. As a result, human rights have become a tool for protectingpersonal interests and self-preservation. They serve to hold the worldtogether while it lives under the domination of divisive thinking.

I have spoken about two important attitudes or views whichhave influenced human action in the present age: the antagonistic-typeattitudes or perceptions that view life as a struggle against both fellowhuman beings and the natural world. The basic human attitude is onethat seeks to conquer, both the natural world and fellow human beings.This kind of attitude is no longer viable. Human beings must learn tolive harmoniously, both with each other and with the naturalenvironment, with their fellow human beings and their fellowenvironment. We have these two ‘friends’, the human friend and the

Page 78: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century70

environmental friend. They are not rivals or enemies which must beconquered, but friends with whom we should learn to live in harmony.

In order to really address these two views or attitudes, we mustdelve into the third basic attitude that has coloured human perception. Ifwe cannot solve this third view, we will not be able to successfully dealwith the first two. This third attitude is a perception of life on thepersonal level, the understanding of the basic meaning or objective oflife.

Human beings aspire to freedom, but freedom has many differentmeanings. As I have already mentioned, the perception of freedomprevalent in modern civilization is of freedom from external limitationsand restrictions, including the ability to control other people and thenatural world. Seeing freedom in this way conditions the way we seeother qualities in life, such as happiness. If we see freedom as the abilityto control or manipulate other things, such as by amassing a wealth ofmaterial possessions or controlling nature, then we will feel that themore material possessions we have, the more happiness we will have.

This kind of perception has bogged down in the present timewith the deterioration of the environment, and we find that the naturalresources are no longer able to support the increasing population. It hasled to a situation where we are forced to compromise. In much the sameway as we are forced to compromise with each other, we are forced tocompromise with nature. If humanity were to consume or seekhappiness to the fullest extent, we would manipulate nature withoutrestraint. But if we did so, the situation would be dangerous to us. Asworld resources are depleted and the environment is damaged, weourselves are threatened, and so we must compromise. In order to allownature to continue and allow ourselves to survive, we agree to forego

Page 79: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century 71

some of our personal pleasures. This kind of compromise is done out ofnecessity, we are not truly happy with it. It is a sacrifice made in orderto survive. The reason we have reached this situation is because of ourwrong attitude.

Simply speaking, for human beings to live happily there must befreedom on three levels.

The first freedom is the freedom to live with nature and theenvironment. We could call this physical freedom. This is freedom fromwant and deprivation, an adequate supply of the four basic necessities oflife — food, clothing, shelter and medicine. This includes freedom fromnatural dangers, and the ability to deal with such problems when theydo arise.

Secondly, in our relationship with fellow humans, we must havesocial freedom. That is, to be able to live safely together without beingexploited by others.

However, these first two kinds of freedom will not be trulyeffective if they are not connected to the third kind of freedom, which isinner freedom, freedom on the personal level. Human development onthe personal level is the most important kind of development, thatwhich leads to inner freedom. What is inner freedom? Having physicaland social freedom, people must learn how to live independently, to behappy and contented within themselves.

This is a happiness that is more independent of externals, nolonger dependent on having to exploit nature or our fellow beings. Webecome more and more capable of finding contentment within our ownminds and through our own wisdom. This ability to be contentedwithout having to exploit nature or our fellow humans can be also calledthe ability to be contented independently of natural and social

Page 80: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century72

conditions. With a more independent kind of happiness, social andphysical freedom will be preserved and strengthened. Human beings willthen have the best possible relationship with both the naturalenvironment and human society. We will no longer feel the need to haveto exploit our environment or our fellow human beings.

Internal freedom is the foundation or the guarantee on whichsocial and physical freedom can be grounded. Conversely, without innerfreedom, human happiness must be dependent on manipulation of theexternal environment and social exploitation. Physical and socialfreedom will not be feasible realities as long as there is such exploitation.At best, there must be compromise, a situation where people are forcedto do something in order to preserve the state of the environment. If,however, there is inner freedom, it is very possible that a harmoniousattitude to the external environment will be developed, and humanitywill attain to true happiness, a happiness that is possessed of bothharmony and balance.

Human beings possess a potential for a very high level offreedom, but because of the wrong view that happiness lies in materialpossessions and consumption of sense experiences, human happiness isvery much tied to material objects. People these days find it impossibleto experience contentment within themselves, forcing them to exploitboth nature and their fellow man in order to find the happiness theyhope for from outside. The more they do this the more problems arise.Not only do we not have any true freedom and happiness within ourown lives, we lose our freedom on the physical and social levels. And soit turns out that the more material progress there is, the more do humanbeings lose their ability to experience happiness within themselves.

Page 81: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century 73

When people have a correct understanding of the meaning andobjective of life and the nature of freedom and happiness, they will relateto the physical environment in a harmonious way. Any materialpossessions accruing to them will be an augmentation, rather than thecrucial factor, of their happiness.

Ultimately, human development leads to freedom from theinternal enemies, to minds that are completely freed of the oppressiveinfluence of greed, hatred and delusion. When our minds are completelyfreed of mental defilements, we will also be freed of mental suffering,which is the main cause of human problems with the physical andsocial environment. When there is internal freedom, it is no longernecessary for us to exploit the external environment, we can instead livein a way that is truly beneficial to both the physical and socialenvironments.

Our relationship with the natural environment should be abalanced one, one that avoids extremes. One extreme is to concentratewholly on manipulating the external environment. The other extreme isto completely disregard the external environment.

It is worth noting that those who aspire to conquer nature andmanipulate it to their needs tend to see nature as an entirely externalobject. When confronted with problems pertaining to internal humannature, such as when asked why they do not do something aboutselfishness and hatred, they tend to counter that these things arenatural conditions for human beings. They feel that the internal natureshould be left to operate unrestrained. Their perception of nature isincomplete and inconsistent. Aspiring to conquer only external nature,they do not consider that internal nature is also a natural conditionwhich can be conquered.

Page 82: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century74

On the other hand, to simply leave nature to wander as it will isalso not right. The work of addressing environmental problems, seeing tothe body ีs basic needs of food, clothing, shelter and medicine, arenecessary duties.

For a correct relationship with nature, we must see our situationin a more profound way, seeing ourselves as part of the wholeinterrelated natural world, not as separate entities or owners orcontrollers of nature. If we see ourselves as part of nature, and see thatchanges in nature must also have an effect on us, this insight will havea constraining effect on our actions, giving the scope of our actions aclear definition, and preventing them from becoming too extreme oneway or another. Whenever we are to interact with the naturalenvironment, we will take into account the widest range of factorspossible, enabling our actions to be most beneficial for all concerned,including the natural environment. A balance will be achieved. As longas we see ourselves within the overall natural process, we will be ableto successfully act as a factor within that process. Our actions will beguided by wisdom and right view.

In the present time people are talking about sustainabledevelopment. It is said that the economy must be geared to the ecology.For the economy to be healthy, nature must also be healthy. This is arecognition of the necessity for compromise, as I have mentioned earlier.True success in this regard lies with people’s ability to change theirbasic views on the objective of life and their concepts of happiness andfreedom.

Here, we cannot overlook the dominant role of the mass media ininducing and influencing social values and the views of the generalpublic. The media and all kinds of information technology can be of great

Page 83: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century 75

help to humanity in the solution of the current global problems and thedevelopment of human beings if their potential is directed towardencouraging the three fundamental skilful views along with theircompatible social values, instead of their currently predominantexpertise in inducing and intensifying greed, hatred, delusion and allmanner of undesirable social values under the direction of the threeruinous views.

More fundamentally, although of less prominent influence thanthe mass media, education should not mean merely a preparation forjobs to serve the competitive system along the old ways of divisivethinking. Emphasis must be placed on its most important role of humandevelopment in which the encouragement of the three skilful attitudes orviews serves as the guiding post. Through such education, right viewcan be established in society.

In the field of politics, democracy now rides triumphant. Inreality, however, its merit is not yet beyond question and its savingpower still doubtful. We can say in passing that so long as democracy isdominated by the three wrong views, it will not lead mankind to realpeace and security. Its ideological foundation must be rectified beforedemocracy can realize its ideal.

Today, there seems to be an attempt to pair or even identifydemocracy with capitalism, as in ‘democracy and free market economy’and ‘free market democracy.’ It is doubtful whether democracy can beultimately paired or identified with capitalism, or whether democracypaired or identified with capitalism is really good democracy. Capitalismand socialism, ostensibly two different an opposing systems, are both, inreality, united under materialism and are both founded on the threetypes of aggressive and divisive thinking. The collapse of communist

Page 84: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century76

socialism does not spell the soundness of capitalism. On the contrary, itimplies that, of the two predominant forms of materialism, as the failureof one has been witnessed, that of the other can be expected. Tooobvious now are cries and complaints about the detrimental effects,social and environmental, of economic growth along the lines ofindustrial development under the capitalist economy. In order fordemocracy to be sound, it has to clear itself of such harmful elementsand establish itself on a sound ideological foundation. Economics needsnot only reformation or transformation, but a conversion in its theoreticalfoundation.

Generally speaking, it is necessary to pursue economicdevelopment concurrently with human development. Economicdevelopment must be balanced by human development, otherwiseeconomic growth can be an illusion. In many cases economic growth isat the expense of nature, sometimes it is at the expense of one’sneighbours, while sometimes it is at the expense of humanity, orhuman dignity. A simple example of this is in the profession ofprostitution, where a human being agrees, or is forced, to sacrifice self-esteem for purely financial considerations. Economic growth is alsoillusory in that some countries with high economic growth have verylow economic security. In this case, it might be better to have noeconomic growth in return for economic security.

The situation now is that in order to provide happiness for asmall group of people, the larger group of people and the naturalenvironment at large must suffer. Even if the whole of nature weredestroyed in the process of seeking happiness, human beings would notfind happiness. The Buddha once said that even a whole mountain ofgold would not be enough to render a human being truly satisfied. Even

Page 85: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century 77

if people were to fight each other until the whole of societydisintegrates, they would find no happiness. Everybody would besearching and struggling for happiness, but no-one would find it.

In this new age, where we share one global community, the oldway of thinking, with its sectarianism and rival factions, is no longersuitable, no longer viable. It is not sufficient to enable the world to livein peace. Ethical systems in the modern world, such as restraint towardnature, religious tolerance and human rights, are reduced to an attemptto preserve or sustain the world, but they are merely a com-promise.These must be supported by more positive ethical standards and a newway of thinking.

Buddhism teaches that:1. Human beings are one element within the whole natural

system of cause and effect, in which all elements play a part. All actionswithin it should therefore be harmonious and beneficial to that system.

2. All beings, both human and animal, are co-dwellers withinthis system of natural laws. All living beings desire happiness and shunsuffering, and all are afraid to die. They are all the same in this, equaland sharing, there being no distinction or segregation before the naturallaws. It is not good to destroy living beings of any description. Buddhismencourages universal love, harmony, mutual help and unity.

3. The finest and noblest kind of life is that which is endowedwith freedom, and this is true happiness. Over and above externalfreedom, which is related to the natural environment and the fournecessities of life, and freedom from social harassment, the highest levelof freedom is the inner level, which results from inner development,mental and intellectual maturity. This leads to more and moreindependent happiness and contentment, which in turn enables us to

Page 86: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century78

relate to our external environment and social situation in a much moreconstructive way.

Here I would like to stress once more that initially we mustdepend on our natural and social environment, so that the first twokinds of freedom are very necessary as the favourable conditions onwhich to develop inner freedom. Inner freedom, in turn, is thefoundation on which physical and social freedom are based, and it istheir guarantee. If human beings develop themselves and achieve moreof this inner freedom, it will no longer be necessary for them to demandfreedom from the external environment. Instead, positive ethical valueswill be developed. Without having to compromise, there will beharmony.

In such a situation, economic growth will be balanced by humandevelopment, which is in accordance with the objective of our meetingtogether as the Parliament of World Religions, with its purpose ofsupporting ‘future collaboration and action together for peace, the reliefof suffering, and the preservation of the planet’.

If we adhere to our old views and perceptions, our striving forhappiness will be of the kind that ruins these three noble objectives. Onthe other hand, if we turn to the skilful harmonious views andencourage the development of happiness within, this inner happinesswill help to successfully bring about our three objectives: living togetherin peace, the relief of human suffering, and the preservation of theplanet. These are all directly related to personal human development andthe achievement of true inner freedom. I would accordingly like tosuggest here that the objectives of real freedom and happiness of theindividual be specified as themes of such meeting as this one.

Page 87: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century 79

In Buddhism we say that a human being who has reached thehighest level of development will have completely destroyed innergreed, hatred and delusion. However, human beings must be trained instages. For people in general, the quality which is the surest gauge ofdevelopment is the absence of wrong view, which is of utmostimportance in the initial stages of human development. If wrong viewcan be given up and right view developed, then even though greed andhatred still exist, even though there is still some selfishness, they will,as I mentioned at the beginning of this talk, be on a much weaker scale,arising only momentarily. They will not persist on into long-term andwidespread scales, because they are not supported by or founded ondiṭṭhi, views. Conversely, if greed and hatred find a support in views,they will have much more intense and far reaching effects. This is whythe Buddhist system of human development stresses the elimination ofwrong view.

I would like to insert an observation here regarding humanrelations in regard to religions. Having many religions together on oneplanet, it is necessary for our relations to be guided by goodwill andunderstanding, to be able to talk together with reason. Through thismutual respect and understanding, the different religions can livetogether. However, in our relationship to the truth, or reality, it is notpossible for human beings to negotiate with nature, to bring it over totheir side. We must clearly distinguish these two different kinds ofrelationship. Among ourselves, human beings can relate with goodwilland dialogue, but in our relationship with nature or reality, we mustwork through wisdom, we must adhere to the truth. It is the use ofwisdom which leads to freedom. We should not make compromises withreality, but should instead really try to understand it. In order to

Page 88: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century80

understand reality there should be unrestricted opportunity toinvestigate it with reason.

If we understand this matter there will be no problem. Problemsare arising in religious circles in the present time because of confusion onthis matter. For example, one group or faith goes to one extreme: theytry to force their view of reality onto the rest of humanity, and they arenot happy until they have converted everyone else to their view. Others,in an effort to create more harmony, say that reality is the same in allreligions, that all religions teach the same truth. They turn reality into aquality that human beings can negotiate, which is impossible. Theproper attitude here is for human beings to relate to each other withgoodwill, and to relate to reality with wisdom.

When right view is incorporated, even into sciences and branchesof learning, all those branches of learning will be well-based. Forexample, the physical sciences, applied science and technology wouldhave a relationship with nature that is characterized by a pure desire forknowledge, rather than a desire to exploit nature. This attitude will initself help to achieve freedom.

Secondly, the social sciences will not look at mankind, with aspecialist reductionistic view of human society disconnected fromnature, as a collection of scattered factions caught up in a struggle forpower, but will instead see them as friends or fellow citizens of thenatural world.

Thirdly, the humanities will concern themselves with the humaneffort to realize the highest quality possible for a human being, which isinner freedom. This will in turn become a foundation for the properdevelopment of the natural and social sciences.

Page 89: พุทธวิธีแก้ปัญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century)

A Buddhist Solution for the Twenty-first Century 81

Human beings in the twentieth century have created much badkamma, which is going to exert an influence on humanity of thetwenty-first century. The citizens of the twenty-first century are goingto have to deal with problems which are the legacy of the twentiethcentury. In order to help solve these problems and ensure that thetwenty-first century will be a safe one, we must discuss ways ofaddressing the problems right now. We must adapt our own actions andbehaviour. If we can adapt our views as I have mentioned here, there isa possibility that we will be able to solve these problems successfully.

The three views I have offered here are particularly relevant toour time and age, when the natural environment is in such a state ofdeterioration and the natural resources depleted. The human social worldis getting smaller and smaller, now becoming a global community. Thetime has come to learn to live together, and this will only be possiblewhen human beings are able to develop the freedom that is notdependent on the external environment, and instead learn to help andsupport the external environment. In this way human beings will beable to experience the taste of true freedom and true happiness.