รายงานประจำปี 2552

109
เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม รายงานประจําป 2552 1 สวนที1 ขอมูลภาพรวม สถาบันกัลยาณราชนครินทร ประวัติสถาบันกัลยาณราชนครินทร สถาบันกัลยาณราชนครินทร เดิมใชชื่อ โรงพยาบาลนิติจิตเวช เปนหนวยงานราชการ สังกัดกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ที่เริ่มเปดใหบริการตรวจวิเคราะหโรค และบําบัดรักษามา ตั้งแตป 2514 จนถึงปจจุบัน รวมเปนเวลา 38 แนวคิดในการกอตั้งโรงพยาบาลนิติจิตเวช เกิดตั้งแตป 2496 เนื่องจากมีบุคคลวิกลจริต สติวิปลาส กอความวุนวายในสังคมอยูเนือง เชน บุคคลวิกลจริตเขาไปในลานจอดเครื่องบินของฐานทัพ อากาศ มีพฤติกรรมที่จะกระทําจารกรรม หรือแสดงออกทางการเมือง ซึ่งอาจเปนเครื่องมือของนักการเมือง หรือผูกอการรายดําเนินการตาง ได อีกทั้งยังมีผูปวยโรคจิตเขาไปปรากฏตัวในบริเวณทาอากาศยาน กรุงเทพหลายครั้งหลายหน โดยมีพฤติการณเขาไปซุกซอนในเครื่องบิน ทําใหเปนที่อับอายแกชาว ตางประเทศ และกระทบกระเทือนตอความปลอดภัยของประเทศชาติ นอกจากนี้ยังมีนักโทษตามเรือนจํา ตาง ทั่วประเทศปวยดวยโรคจิตเปนจํานวนมาก ซึ่งกรมตํารวจและกรมราชทัณฑไดรองขอใหโรงพยาบาล จิตเวชรับผูที่มีพฤติการณดังกลาว และนักโทษเหลานั้นไวกักกันรักษาโดยเฉพาะ ดวยเหตุผลมีคนไขโรคจิต คดี มีความโนมเอียงที่จะประกอบอาชญากรรมเปนภัยตอชีวิตและทรัพยสินของประชาชน แตโรงพยาบาลโรค จิตของกระทรวงสาธารณสุขไมสามารถรับไวรักษาไดทั้งหมด เนื่องจากสถานที่ไมเพียงพอ กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมการแพทยจึงไดทําหนังสือ ดวนมาก ที่มท 1241/2505 ลงวันที16 เมษายน 2505 และที่มท 300/2506 ลงวันที22 มกราคม 2506 ถึงกระทรวงมหาดไทย ขอให กรมประชาสงเคราะหจัดตั้งนิคมสงเคราะหอาชีพคนโรคจิต และขอใหจัดสรางสถานพยาบาลโรคจิตคดีแบบ กึ่งโรงพยาบาลกึ่งเรือนจํา เพื่อแกปญหาความยุงยากในการควบคุมดูแลรักษาผูปวยโรคจิตคดีไมใหหลบหนี ซึ่งอาจเปนผลเสียหายแกคดี และกอความเดือดรอนเปนภัยตอสังคม กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการ ปกครองไดสงเรื่องใหศูนยปองกันอาชญากรรมพิจารณา ระหวางรอผลการพิจารณาของกระทรวงมหาดไทย วันที4 ตุลาคม 2506 กระทรวงสาธารณสุขโดยกรมการแพทย ในสมัยที่ศาสตราจารยนายแพทยฝน แสงสิง แกว ดํารงตําแหนงอธิบดีกรมการแพทย ไดจัดทํา โครงการโรคจิตคดีเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่ออนุมัติใน หลักการ ซึ่งคณะรัฐมนตรีไดประชุมปรึกษาลงมติเมื่อวันที21 เมษายน 2507 ใหรอฟงผลการพิจารณาของ ศูนยปองกันอาชญากรรมกอน

Upload: galyainstitute-

Post on 08-Mar-2016

233 views

Category:

Documents


4 download

DESCRIPTION

รายงานประจำปี 2552 สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

1

สวนที่ 1 ขอมูลภาพรวม

สถาบันกัลยาณราชนครินทร

ประวัติสถาบันกัลยาณราชนครินทร

สถาบันกัลยาณราชนครินทร เดิมใชช่ือ “ โรงพยาบาลนิติจิตเวช ” เปนหนวยงานราชการสังกัดกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ที่เร่ิมเปดใหบริการตรวจวิเคราะหโรค และบําบัดรักษามาตั้งแตป 2514 จนถึงปจจุบัน รวมเปนเวลา 38 ป

แนวคิดในการกอตั้งโรงพยาบาลนิติจิตเวช เกิดตั้งแตป 2496 เนื่องจากมีบุคคลวิกลจริต สติวิปลาส กอความวุนวายในสังคมอยูเนือง ๆ เชน บุคคลวิกลจริตเขาไปในลานจอดเครื่องบินของฐานทัพอากาศ มีพฤติกรรมที่จะกระทําจารกรรม หรือแสดงออกทางการเมือง ซ่ึงอาจเปนเครื่องมือของนักการเมืองหรือผูกอการรายดําเนินการตาง ๆ ได อีกทั้งยังมีผูปวยโรคจิตเขาไปปรากฏตัวในบริเวณทาอากาศยานกรุงเทพหลายครั้งหลายหน โดยมีพฤติการณเขาไปซุกซอนในเครื่องบิน ทําใหเปนที่อับอายแกชาวตางประเทศ และกระทบกระเทือนตอความปลอดภัยของประเทศชาติ นอกจากนี้ยังมีนักโทษตามเรือนจําตาง ๆ ทั่วประเทศปวยดวยโรคจิตเปนจํานวนมาก ซ่ึงกรมตํารวจและกรมราชทัณฑไดรองขอใหโรงพยาบาลจิตเวชรับผูที่มีพฤติการณดังกลาว และนักโทษเหลานั้นไวกักกันรักษาโดยเฉพาะ ดวยเหตุผลมีคนไขโรคจิตคดี มีความโนมเอียงที่จะประกอบอาชญากรรมเปนภัยตอชีวิตและทรัพยสินของประชาชน แตโรงพยาบาลโรคจิตของกระทรวงสาธารณสุขไมสามารถรับไวรักษาไดทั้งหมด เนื่องจากสถานที่ไมเพียงพอ

กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมการแพทยจงึไดทําหนังสือ ดวนมาก ทีม่ท 1241/2505 ลงวันที ่16 เมษายน 2505 และที่มท 300/2506 ลงวันที ่22 มกราคม 2506 ถึงกระทรวงมหาดไทย ขอให กรมประชาสงเคราะหจดัตั้งนิคมสงเคราะหอาชีพคนโรคจิต และขอใหจัดสรางสถานพยาบาลโรคจิตคดีแบบกึ่งโรงพยาบาลกึ่งเรือนจํา เพื่อแกปญหาความยุงยากในการควบคุมดูแลรักษาผูปวยโรคจิตคดีไมใหหลบหนีซ่ึงอาจเปนผลเสียหายแกคด ีและกอความเดือดรอนเปนภัยตอสังคม กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการปกครองไดสงเรื่องใหศูนยปองกันอาชญากรรมพิจารณา ระหวางรอผลการพิจารณาของกระทรวงมหาดไทย วันที ่ 4 ตุลาคม 2506 กระทรวงสาธารณสุขโดยกรมการแพทย ในสมัยที่ศาสตราจารยนายแพทยฝน แสงสิงแกว ดํารงตําแหนงอธิบดกีรมการแพทย ไดจัดทํา “โครงการโรคจิตคดี” เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่ออนุมัติในหลักการ ซ่ึงคณะรัฐมนตรีไดประชุมปรึกษาลงมติเมื่อวนัที่ 21 เมษายน 2507 ใหรอฟงผลการพิจารณาของศูนยปองกนัอาชญากรรมกอน

Page 2: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

2

ตอมาวันที่ 28 พฤษภาคม 2507 ไดมีการประชุมรวมกันเปนครั้งแรกระหวางผูแทนกระทรวงสาธารณสุข และ ผูแทนกระทรวงมหาดไทย ใหแกไขโครงการโรงพยาบาลโรคจิตคดีที่กรมการแพทยเสนอใหสมบูรณและเหมาะสม

ในการประชุมรวมกัน คร้ังที่ 2 วันที่ 22 มิถุนายน 2508 ไดมีมติใหเปลี่ยนชื่อโครงการโรงพยาบาลโรคจิตคดี เปนโครงการนิติ - จิตเวช เพื่อใหเปนคําที่ตรงกับคําในภาษาอังกฤษวา Forensic Psychiatry ซ่ึงเปนคําที่เหมาะสม และมีความหมายเขาใจงาย หากใชคําวา “โรคจิตคดี” ตรง ๆ อาจเปนการกระทบกระเทือนใจแกผูปวยที่เขารับการรักษาพยาบาล กระทรวงสาธารณสุขจึงไดนําผลการประชุมจัดทําโครงการรวมกัน และขอกําหนดงบประมาณผูกพันตั้งแตป 2510 - 2514 เปนเงิน 12 ลานบาท เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติในหลักการ ซ่ึงคณะรัฐมนตรีไดลงมติเมื่อ วันที่ 15 สิงหาคม 2510 เปนเรื่องที่ 19 เห็นชอบใหจัดตั้งโรงพยาบาลนิติจิตเวช ตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ

การกอตั้งโรงพยาบาลนิติ-จิตเวช ไดกําหนดวัตถุประสงคไวดังนี้

1. เพื่อแกไขปญหาเฉพาะหนา : ก. เปนสถานที่รับผูปวยโรคจิตที่เกี่ยวของกับคดี หรือมีพฤติกรรมที่เปนภัยรายแรงตอ

สังคมไวรักษาพยาบาล เพื่อใหหายหรือทุเลาจากโรค กลับไปอยูกับสังคมได ข. ควบคุมดูแลเพื่อปองกันมิใหเสียรูปคดีหรือออกไปรบกวนสวัสดิภาพของชุมชน ค. เพื่อพิเคราะหโรคตามที่ตํารวจหรือศาลตองการทราบ 2. เพื่อหาทางปองกันและรักษาผูปวยท่ีมีแนวโนมจะประกอบอาชญากรรมเสียแตเนิ่น ๆ

โดยมีคลินิกนิติจิตเวช (Forensic Psychiatric Clinic): ก. ใหการพิเคราะหโรคขั้นตน และรับรักษาผูปวยที่ญาติไดพบวามีความโนมเอียงจะ

ประกอบอาชญากรรม ข. ใหความเห็นแกเจาหนาที่ตํารวจหรือฝายปกครอง พรอมทั้งแนะนําแผนการปองกัน

และรักษาดวย ค. ใหความเห็นแกศาลในรายที่ผูปวยไดประกอบอาชญากรรม และเรื่องดําเนินไปถึงขึ้นศาลแลว ง. วิจัยทางนิติ - จิตเวช โดยความรวมมือระหวางจิตแพทย นักจิตวิทยา นักสังคม

สงเคราะหและนักกฎหมาย

Page 3: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

3

ในป 2512 ไดเร่ิมดําเนินการกอสรางโรงพยาบาลนิติจิตเวชขึ้น ดวยงบประมาณ 1,800,000 บาท เปนคากอสรางตึกอํานวยการหลังแรก ราคา 600,000 บาท ตึกผูปวย 1 หลัง ราคา 500,000 บาท โรงครัว 1 หลัง ราคา100,000 บาท และบานพักแพทยและเจาหนาที่ 4 หลัง แลวเสร็จในป 2514 วันที่ 1 เมษายน 2514 ไดรับผูปวยโรคจิตจากสถานสงเคราะหบานกึ่งวิถีมาดูแล 15 คน ไดทําพิธีเปดตึกอํานวยการโดย ฯพณฯ นายแพทยสมบุญ ผองอักษร รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงใหเกียรติเปนประธานในพิธี ในวันที่ 24 กันยายน 2514 และเริ่มใหบริการตรวจรักษาผูปวยนอก ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2514 โดยผูปวยคดีรายแรกเปนผูตองหาหญิงคดีพยายามฆา สถานีตํารวจภูธรอําเภอเมืองฉะเชิงเทรา สงตรวจสภาพจิต

ตอมาในป พ.ศ.2545 รัฐบาลภายใตการนําของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี มี

นโยบายปฏิรูประบบราชการ ปรับองคกรใหมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ําซอน และมีเปาหมายขององคกรที่ชัดเจน กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขไดขานรับนโยบายดังกลาว โดยอธิบดีกรมสุขภาพจิต นายแพทยปราชญ บุณยวงศวิโรจน ไดเล็งเห็นถึงบทบาทความสําคัญของการพัฒนาศูนยกลางวิชาการจิตเวชเฉพาะทางที่มีบทบาทตอความสงบสุขความปลอดภัยของสังคม อีกทั้งไดวิเคราะหจากบทบาทภารกิจ ผลการดําเนินงาน ตลอดจนความพรอมของโรงพยาบาลนิติจิตเวช ทั้งดานมาตรฐานของบุคลากรที่มีความเปนเฉพาะทาง การพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลไปสูการรับรองคุณภาพ จึงไดผลักดันใหมีการยกระดับจากโรงพยาบาลสูสถาบัน และเพื่อใหบุคลากรไดยึดถือพระจริยวัตรของสมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ที่ทรงอุทิศพระวิริยะอุตสาหะ มีพระเมตตาตอการพัฒนาสุขภาพจิตของประชาชนไทย โดยมิไดแสดงใหเห็นถึงความยอทอแมแตนอย เพื่อเปนสิริมงคลแกเหลาขาราชการและผูปฏิบัติงานทั้งปวง และเพื่อเปนการถวายวโรกาสที่พระองคทรงพระชันษาครบ 80 ชันษา ทานอธิบดีกรมสุขภาพจิต ในนามของกรมสุขภาพจิต จึงไดขอพระราชทานนามสถาบันฯ จากพระองคทาน ความทราบฝาพระบาทแลวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานนามโรงพยาบาลนิติจิตเวชใหม วา “ สถาบันกัลยาณราชนครินทร ” และเสด็จทรงประกอบพิธีเปดสถาบันกัลยาณราชนครินทร เมื่อวันอาทิตยที่ 16 มิถุนายน 2545

Page 4: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

4

ขอมูลท่ัวไป สถาบันกัลยาณราชนครินทร

อดีต ป 2514 สถาบันกัลยาณราชนครินทร มีส่ิงกอสรางรวมทั้งสิ้น 19 รายการ

เตียงรับผูปวย 150 เตียง ปจจุบัน ป 2552 สถาบันกัลยาณราชนครินทร มีส่ิงกอสรางรวมทั้งสิ้น 54 รายการ

เตียงรับผูปวย 330 เตียง พื้นท่ีสถาบนัฯ จํานวน 49 ไร 2 งาน 45 ตารางวา สถานที่ตั้ง เลขที่ 23 หมู 8 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 แขวงทววีัฒนา เขตทวีวฒันา

กรุงเทพมหานคร 10170 โทรศัพท 0 2889 9066 - 7 โทรสาร 0 2889 9083 E-mail address : [email protected] / [email protected] เว็บไซตสถาบันฯ URL : http:// www.galyainstitute.com http://www.galyainstitute.com/ghome.html

Page 5: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

5

รายนามผูอํานวยการโรงพยาบาลนิติจิตเวช – สถาบันกัลยาณราชนครินทร ป 2512 - ปจจุบัน มีผูอํานวยการจํานวน 9 คน รายนามดงัตอไปนี้

1. นายแพทยยรรยง โพธารามิก พ.ศ. 2512 - 2515

ยุคบุกเบิกเริ่มกอตัง้โรงพยาบาลนิติจิตเวช

2. นายแพทยสุรินทร ปนรัตน พ.ศ. 2515 - 2526 ผูวางรากฐานงานบริการและวิชาการนิติจติเวชในประเทศไทย

3. นายแพทยสุจริต สุวรรณชีพ พ.ศ. 2526 - 2527 ผูวางระบบวชิาการในงานฟนฟูสมรรถภาพผูปวยนติิจติเวช

4. นายแพทยธํารง ทัศนาญชลี พ.ศ. 2527 - 2532 กาวสูวิชาการระดับชาต ิ

5. นายแพทยหมอมหลวงสมชาย จักรพันธุ พ.ศ. 2532 - 2536 พัฒนาคุณภาพชีวิตผูปวยนิตจิิตเวช และระบบใหคําปรกึษาทางโทรศพัท

6. นายแพทยสุปรีชา วงศพุทธา พ.ศ. 2536 - 2539 พัฒนาบริการจิตเวชชุมชนในเขตสาธารณสุขเขต 4 ที่รับผิดชอบ

7. นายแพทยอภิชัย มงคล พ.ศ. 2539 - 2540 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

8. นายแพทยเกียรติภูม ิ วงศรจิต พ.ศ. 2540- 2547

พัฒนามาตรฐานคุณภาพบริการ สูการรับรองคุณภาพมาตรฐานโรงพยาบาล (HA)

9. นายแพทยศิริศักดิ์ ธิติดิลกรัตน พ.ศ.2548 – ปจจุบัน

Page 6: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

6

วิสัยทัศน พันธกิจ ปรัชญา คานิยมหลัก หนาท่ีความรับผิดชอบ

วิสัยทัศน : เปนผูนําวิชาการดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิตระดับสากลภายในป 2552 พันธกิจ : พัฒนา ถายทอดองคความรู เทคโนโลยี และใหบริการดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิตตาม

มาตรฐานสากล

ปรัชญา : เลิศลํ้าวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคณุธรรม คานิยมหลัก : มุงมั่น จดัแนวคิด จิตพัฒนา เนนลูกคา ผานระบบ ครบทีม หนาท่ีความรบัผิดชอบ :

1. ใหบริการตรวจวินิจฉัย บําบัด รักษา และฟนฟูสมรรถภาพผูปวยจิตเวชคดีหรือผูที่มีปญหาทาง สุขภาพจิต ซ่ึงเกี่ยวของกับกฎหมาย 2. ใหบริการตรวจวินจิฉัย บําบัดรักษา และฟนฟูสมรรถภาพผูปวยที่มปีญหาสุขภาพจิต โรคจิตเวช

โรคระบบประสาท การติดสุรา และสารเสพติด และโรคทางกายอื่น ๆ แกประชาชนทั่วไป 3. ดําเนินงานจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชน โดยใหบริการสุขภาพจิตชุมชน ทั้งในภาวะปกติและภาวะ

วิกฤต สงตอและติดตามผลการรักษาผูปวยที่จําหนายออกจากโรงพยาบาล 4. สนับสนุนงานสาธารณสุขมูลฐาน ในการปองกันและสงเสริมสุขภาพจิตของประชาชนในเขต

พื้นที่รับผิดชอบ โดยการสนับสนุนดานวิชาการ ส่ือสุขภาพจิตศึกษา นิเทศและติดตามผลการดําเนินงานสุขภาพจิตชุมชนอยางตอเนื่อง

5. ใหการศึกษา และฝกอบรม ดานนิติจิตเวช จิตเวชศาสตร และสุขภาพจิต แกแพทยเฉพาะทาง พยาบาล นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห บุคลากรทางการแพทย ทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป

6. คนควาวิจัยและพัฒนาวิชาการดานนิติจิตเวช อาชญาวิทยา จิตเวชศาสตร และวิชาการอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

Page 7: รายงานประจำปี 2552

ผูอํานวยการสถาบันกัลยาณราชนครินทร

นายแพทยศิริศักดิ์ ธิติดิลกรัตน

ศูนยนโยบายและแผนยุทธศาสตร

ฝายแผนงานและสารสนเทศ

ศูนยพัฒนาคุณภาพ

กลุมอํานวยการ นายณัฏฐกร ประสาทศรี

กลุมบริการทางการแพทย แพทยหญิงดวงตา ไกรภัสสร

กลุมการพยาบาล นางสาวเบญจวรรณ สามสาล ี

กลุมสนับสนุนบริการทางการแพทย ื ื

กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทาง ดานนิติจิตเวช

แพทยหญิงวนัทดา ถมคาพาณิชย

ฝายบริหารทั่วไป

ฝายทรัพยากรบุคคล

ฝายการเงินและบัญชี

ฝายพัสดุ

ฝายโภชนาการ

ฝายประชาสัมพันธ

กลุมงานการแพทย

กลุมงานจิตวิทยา

กลุมงานสังคมสงเคราะห

กลุมงานฟนฟู

กลุมงานทันตกรรม

กลุมงานเภสัชกรรม

กลุมงานเทคนิคบรกิาร

กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทาง ดานวิกฤตสุขภาพจิต

แพทยหญิงรัชนีกร เอี่ยมผอง

ฝายวิชาการวิกฤต

ฝายพัฒนาเครือขายวิกฤต สุขภาพจิต

ฝายพัฒนาระบบบริการ วิกฤตสุขภาพจิต

งานบริการใหคําปรึกษา (1323, 191)

งานพยาบาลผูปวยนอก

งานพยาบาลผูปวยใน

กลุมสงเสริมสุขภาพจิต และจิตเวชชุมชน

นางบุญเหลือ โททะมัน

งานสงเสริมสุขภาพจิต

งานจิตเวชชุมชน

งานบําบัดผูปวยสารเสพ

งานคลินิกกลางวัน

กลุมพัฒนาวิชาการ และจัดการความรู

นางสาววิไล เสรีสทิธิ

พญ.ดวงตา ไกรภสัสรพงษ ที่ปรึกษา

พญ.เบญจพร ปญญายง ที่ปรึกษา

7

รายงานประจําป 2552

Page 8: รายงานประจำปี 2552

เปาประสงค ดานประสทิธิผล 

เปาประสงค ดานคุณภาพ 

เปาประสงค ดานประสทิธิภาพ 

เปาประสงค ดานการพัฒนา

องคกร 

วิสัยทัศน

พันธกิจ : พัฒนา ถายทอดองคความรู เทคโนโลยี และใหบริการดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิตตามมาตรฐานสากล

15. การบังคับใชกฎหมายสุขภาพจิตมีประสิทธิภาพ

16. เปนองคกรแหงการเรียนรู 17. บุคลากรมีสมรรถนะและมีความสุขในการทํางาน

18. การบริหารจัดการองคกรเปนระบบและมีประสิทธิภาพ

1. องคกรเปนที่ยอมรับและไดรับการรับรองคุณภาพ

5. ผูใชบริการพึงพอใจและปลอดภัย

9. การบริการสะดวกและรวดเร็ว

10. การใหบริการเปนไปตามแนวทาง/

มาตรฐาน

2. ผูมีปญหาสุขภาพจิตสามารถอยูในสังคมได

6. เครือขายมีสวนรวมและใหบริการไดตามมาตรฐาน

11. การพัฒนาและถายทอดความรูมีหลากหลายและเขาถึง

ไดงาย

3. เปนศูนยกลางวิชาการดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิต

7. คลังความรูดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิตเขาถึงไดงายและ

12. องคความรูและเทคโนโลยีดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิตมี

มาตรฐาน

4. การบริหารราชการเกิดประสิทธิผลตามเปาหมาย

8. เปนองคกรที่มกีารบริหารจัดการตามเกณฑ

13. การบริหารดานการคลังมี

ประสิทธิภาพ

14. ระบบการสื่อสารและสารสนเทศมีความครอบคลุม

เปนผูนําวิชาการและบรกิารระดับชาติ ดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิต ภายในป พ.ศ. 2554

ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาบริการสุขภาพจิตและนิต ิจิตเวชใหมีคุณภาพมาตรฐาน

อยางตอเนือ่ง

ยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาเครือขายบริการนิติจิตเวช

และวิกฤตสุขภาพจิต

ยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาองคความรูเทคโนโลยี

ดานนิตจิิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิต

ยุทธศาสตรที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกร

ใหมีประสิทธิภาพ

8

รายงานประจําป 2552

Page 9: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

9

สวนที่ 2 ผลการดําเนินงานดานบริหาร

การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารงบประมาณ

Page 10: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

10

2.1 การบริหารทรัพยากรบุคคล 2.1.1. ขอมูลบุคลากรและอัตรากําลัง ป 2552

ประเภทบุคลากร / ตําแหนง

จํานวน ประเภทบุคลากร / ตําแหนง

จํานวน ตําแหน งตามกรอบ

ปฏิ บั ติ งานจริ ง

ตําแหน งตามกรอบ

ปฏิ บั ติ งานจริ ง

ขาราชการ พนักงานราชการ 1. ผูอํานวยการเฉพาะดาน(นายแพทย) 1 1 1. นักวิชาการคอมพิวเตอร 1 1 2. นายแพทย 13 8 2. นักสังคมสงเคราะห 3 1 3. ทันตแพทย 2 1 3. นักจิตวิทยา 3 3 4. เภสัชกร 3 3 4. นักกิจกรรมบําบัด 2 0 5. พยาบาลวิชาชีพ 78 76 5. นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 1 1 6. นักจิตวิทยา 1 1 6. นักวิชาการการเงินและบัญชี 1 1 7. นักจิตวิทยาคลินิก 4 3 7. ผูชวยเหลือคนไข 22 2 8. นักสังคมสงเคราะห 3 3 8. เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป 1 1 9.นักวิชาการสาธารณสุข 0 1 9. อื่น ๆ 47 0 10.นักกิจกรรมบําบัด 2 2 11.นักโภชนาการ 1 0 12. นักจัดการงานทั่วไป 3 2 13.นักวิชาการการเงินและบัญชี 1 1 14.นักวิชาการสถิติ 2 2 15. พยาบาลเทคนิค 8 7 16.จพง.ทันตสาธารณสุข 2 2 17.จพง.เภสัชกรรม 4 3 18.จพง.ธุรการ 3 3 19.จพง.การเงินและบัญชี 4 3 20.เจาพนักงานพัสดุ 2 1 21.โภชนากร 1 2 22.จพง.วิทยาศาสตรการแพทย 2 2 23.จพง.รังสีการแพทย 1 0 24.จพง.อาชีวบําบัด 3 2 25.จพง.โสตทัศนศึกษา 1 1 26.จพง.เวชสถิติ 2 2

รวม 147 131 รวม 81 10

Page 11: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

11

2.1.1 ขอมูลบุคลากรและอัตรากําลัง ป2552 (ตอ)

ประเภทบุคลากร / ตําแหนง

จํานวน ประเภทบุคลากร / ตําแหนง

จํานวน ตําแหน งตามกรอบ

ปฏิ บั ติ งานจริ ง

ตําแหน งตามกรอบ

ปฏิ บั ติ งานจริ ง

ลูกจ างประจํา ลูกจ างชั่ วคราว 1. พนักงานพิมพดีดช้ัน 3 1 1 1. นักจิตวิทยา 1 1 2. พนักงานพิมพดีดช้ัน 2 3 3 2 .นักสังคมสงเคราะห 2 2 3. พนักงานพิมพดีดช้ัน 1 3 3 3. พยาบาลวิชาชีพ 1 1 4. พนักงานขับรถยนต 1 1 4. นักการแพทยแผนไทย 1 1 5. ผูชวยเหลือคนไข 59 59 5.นักวิชาการคอมพิว เตอร 1 1 6. ชางทอ 1 1 6.นักวิชาการโสตทัศนศึกษา 1 - 7. พนักงานโทรศัพท 1 1 7. จ . วิ เคราะหนโยบายและแผน 2 - 8. พนักงานชวยการพยาบาล 4 4 8. นักประชาสัมพันธ 2 2 9.ลูกมือชาง 1 1 9. จพง .การเงินและบัญชี 8 6 10. เจ าหน าที่บริหารงานทั่ วไป 1 - 11. เจ าหน าที่คอมพิว เตอร 4 1 12.เจาพนักงานธุรการ 12 10 13 . เจ าพนักงานพัสดุ 2 2 14 . เจ าหน าที่หองสมุด 1 1 15. เจ าหน าที่บันทึกขอมูล 2 2 16.ช างไฟฟา 1 1 17.พนักงานสถิ ติ 1 1 18.พนักงานอาชีวบําบัด 2 2 19.พนักงานขับรถยนต 4 2 20. ผูช วย เหลือคนไข 18 18 21.พนักงานประจําตึก 8 7

รวม 74 74 75 61

Page 12: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

12

แผนภูมิท่ี 1:  อัตรากําลังบุคลากรสถาบันกัลยาณราชนครินทร ประจาํป 2552

Page 13: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

13

2.2 การบริหารงบประมาณ 2.2.1 รายรับ – รายจายงบประมาณ ประจําป 2552

รายการ งบประมาณทีไ่ดรับ(บาท) รายจาย (บาท)

1. หมวดเงินเดอืนและคาจางประจํา 6,099,246.48 6,099,246.48 2. หมวดคาใชสอยตอบแทนและวัสด ุ 57,934,036.50 57,934,036.50 3. หมวดคาสาธารณูปโภค 2,562,578.19 2,562,578.19 4. เงินเดือนพนักงานราชการ 86,721.43 86,721.43 5. ที่ดินและสิง่กอสราง 5,642,794.46 5,642,794.46 6. หมวดเงินอดุหนนุ 109,000.00 109,000.00 7. หมวดรายจายอื่น

รวมทุกหมวด 72,434,377.06 72,434,377.06

หมายเหตุ : ยอดคงเหลือรวมทุกหมวดเปนหนี้สินผูกพนัที่ตองนําไปเบิกจายในปงบประมาณ 2553 แผนภูมิท่ี 2: รายรับ-รายจายงบประมาณ ประจําป 2552 (จําแนกตามรายการ)

6.099

57 .93

4

2.562 0.08

6

5.642 0.10

9

6.099

57

.934

2.562 0.08

6

5.642 0.10

9 0.000

10.000

20.000

30.000

40.000

50.000

60.000

รายรับ รายจาย

ลานบาท

รายรับ- รายจาย งบประมาณ ประจําป 2552

เงินเดือน คาใชสอยตอบแทนและวัสดุ

คาสาธารณูปโภค เงินเดือนพนักงานราชการ

ที่ดินส่ิงกอสราง เงินอุดหนุน

Page 14: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

14

27.09

5.21.03

5.34

30.74

17.08

0.37

13.15

05

101520253035

1

รอยละ

รายรับเงินบํารุงประจําปงบประมาณ 2552

คายา คาหอง คาอาหารคาบริการทันตกรรม คาธรรมเนียมรักษาคารักษาเบิกตนสังกัด คารักษาบัตรประกันสุขภาพฯคารักษาประกันสังคม รายรับอ่ืนๆ

2.2.2 รายรับเงินบํารงุ ปงบประมาณ 2552

รายการ จํานวนเงิน (บาท) รอยละ

1. คายา 19,903,831 27.09 2. คาหอง คาอาหาร 3,816,603 5.20

- คาหองพิเศษ 2,613,985 3.56 - คาอาหารพิเศษ 898,715 1.22 - คาหองสามัญ 223,593 0.31 - คาอาหารสามัญ 80,310 0.11 3. คาบริการทางทันตกรรม 753,543 1.03 4. คาธรรมเนียมรักษาพยาบาล 3,922,275 5.34 5. คารักษาพยาบาลเบิกตนสังกัด 22,591,675.47 30.74 6. คารักษาบัตรประกันสุขภาพถวนหนา 12,549,729.11 17.08 7.คารักษาพยาบาลประกันสังคม 275,280 0.37 8. รายรับอื่น ๆ 9,441,169.56 12.85 - จําหนายผลิตภัณฑอาชีวบําบัด - - - เงินบริจาค 204,000 0.28 - ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร 17,446.73 0.02 - อื่น ๆ

รวมรายรับ 73,475,552.87 100

แผนภูมิท่ี 3: รายรับเงินบํารุง ประจําปงบประมาณ 2552 (จําแนกตามรายการ)

Page 15: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

15

8.54

17.76 18.81

49.41

3.547.79

0.150

10

20

30

40

50

1

รอยละ

รายจายเงินบํารุง ประจําปงบประมาณ 2552

คาจางเงินบํารุง คาตอบแทนคาใชสอย คาวัสดุคาสาธารณูปโภค ครุภัณฑที่ดินส่ิงกอสรางคาใชจายอื่น ๆ

2.2.3 รายจายเงินบํารุง ปงบประมาณ 2552

รายการ จํานวนเงิน (บาท) รอยละ

1. คาจางเงินบํารุง 6,185,967.91 8.54 2. คาตอบแทน 5,816,691.20 11.76 3. คาใชสอย 13,626,566.23 18.81 4. คาวัสดุ 35,790,779.07 49.41 5. คาสาธารณูปโภค 2,562,578.19 3.54 - คาไฟฟา 1,599,330.31 2.21 - คาน้ําประปา 300,625.76 0.42 - คาโทรศัพท 326,790.04 0.45 - คาไปรษณีย 63,414 0.09 - คาโทรศัพทมือถือ 65,746.92 0.09 - คาอินเตอรเน็ต/ คา UBC 206,671.16 0.29 6. คาครุภัณฑท่ีดินสิ่งกอสราง 5,642,794.46 7.79 7. คาใชจายอื่น ๆ - เงินอุดหนุน 109,000 0.15

รวมรายจาย 72,434,397.06 100

แผนภูมิท่ี 4: รายจายเงินบํารุง ประจําปงบประมาณ 2552 (จําแนกตามรายการ)

Page 16: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

16

รายการเงินบํารุง ประจําปงบประมาณ 2552 (สถานภาพเงินบํารุงของสถาบันกัลยาณราชนครินทร ณ วันที ่30 กันยายน 2552)

รายการ จํานวนเงิน (บาท)

ยอดยกมาจากป 2551 6,931,188.42

รายรับเงินบํารุง 73,475,552.87

รวมเปนเงิน ป 2552 80,406,741.29

รายจายเงินบํารุง ป 2552 72,434,377.06

เงินบํารุงคงเหลือ 7,972,364.23

Page 17: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

17

สวนที่ 3 ผลการปฏบิตัิงานดานบริการ

การใหบริการรักษา การใหบริการผูปวยนอกและผูปวยใน การใหบริการนิตจิิตเวช การตรวจ วินิจฉัย บําบัดรักษา งานบาํบดัรักษาผูติดสารเสพติด

การฟนฟสูมรรถภาพผูปวย การสงเสริมปองกนั

Page 18: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

18

3.1 การใหบริการรักษา

ลําดับ กิจกรรม หนวยนับ เปาหมาย ผลการ

ปฏิบตัิงานป 2552

รอยละของ เปาหมาย

1 2 3 4 5 6 7 8

จํานวนเตยีงทัง้หมด 1.1 จํานวนเตยีงผูปวยตอแพทย 1.2 จํานวนเตยีงผูปวยตอพยาบาลวิชาชีพ อัตราการครองเตียง - 200 เตียง (ปจจุบัน) - 330 เตียง (ตามกรอบ) จํานวนวนัเฉลี่ยที่ผูปวยอยูรักษาใน รพ. 3.1 ผูปวยนิตจิิตเวช 3.2 ผูปวยสงรักษาตามมาตรการความ

ปลอดภัย(ป.อาญา ม.48) 3.3 ผูปวยจิตเวชทัว่ไป 3.4 ผูปวยสารเสพติด 3.5 ผูปวยสุรา จํานวนผูปวยนอกรวมทั้งสิน้ 4.1 จํานวนผูปวยนอกใหม 4.2 จํานวนผูปวยนอกเกา จํานวนผูปวยนอกเฉลี่ยตอวนั (วันทําการ) จํานวนผูปวยในรวมทั้งสิ้น (คน) จํานวนผูปวยในรวมทั้งสิ้น (ราย) จํานวนผูปวยในเฉลี่ยตอวนั จํานวนผูปวยรับไวรักษาในโรงพยาบาล 8.1 ผูปวยนิตจิติเวช 8.2 ผูปวยจิตเวชทัว่ไป 8.3 ผูปวยติดสารเสพติด 8.4 ผูปวยติดสรุา 8.5 ผูปวยทางกาย

เตียง เตียง/คน เตียง/คน

200 330 วัน วัน วัน

วัน วัน วัน ราย คน ราย

ราย/วัน คน ราย คน ราย ราย ราย ราย ราย ราย

200

25,000

2,835

33 3

200

41 101 311

33 28 21

40,113 4,496 35,617

168 3,088 53,569

147 1,327 134

1,018 87 87 1

73.38 44.47

160.45 17.98 142.47

108.92

100

Page 19: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

19

3.1 การใหบริการรักษา (ตอ)

ลําดับ กิจกรรม หนวยนับ เปาหมาย ผลการ

ปฏิบตัิงานป 2552

รอยละของ เปาหมาย

9

10

จํานวนผูปวยจาํหนายรวมทั้งสิ้น 9.1 ผูปวยนิตจิิตเวช

9.1.1 จําหนายกลับแหลงนําสงตามขั้นตอนของกระบวนการยุตธิรรม

9.1.2 ผูปวยกลับเอง 9.1.3 สงไปรักษาตอที่โรงพยาบาลอื่น 9.1.4 ญาติรับกลับ 9.1.5 สงกรมประชาสงเคราะห 9.1.6 นักสังคมสงเคราะหสงกลับ 9.1.7 สถานทูตรับกลับ 9.1.8 หลบหน ี9.1.9 ถึงแกกรรม

9.2 ผูปวยจิตเวชทัว่ไปและติดสารเสพติด 9.2.1 ญาติรับกลับ 9.2.2 ผูปวยกลับเอง 9.2.3 สงไปรักษาตอที่โรงพยาบาลอื่น 9.2.4 สงกรมประชาสงเคราะห 9.2.5 นักสังคมสงเคราะหสงกลับ 9.2.6 สถานทูตรับกลับ 9.2.7 หลบหน ี9.2.8 ถึงแกกรรม 9.2.9 เจาหนาที่ผูนาํสง

จํานวนผูปวยระบบสงตอ 10.1 รับมา 10.2 สงไป 10.3 รับในรายผูปวยนิติจิตเวช

ราย ราย ราย

ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย

ราย ราย ราย

ทุกรายที่พรอมจําหนาย

ทุกรายที่พรอมจําหนาย

ทุกรายในระบบสงตอ

1,326 141 92 - 6 34 2 7 - - -

1,185 1,127

3 16 10 23 2 - 1 3 - -

134

100

100

100

Page 20: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

20

3.2 การใหบริการผูปวยนอกและผูปวยใน

แผนภูมิท่ี 5: ผลผลิตการใหบริการผูปวยนอกและผูปวยใน ปงบประมาณ 2548 – 2552

30,610

2,726

33,774

2,600

38,190

2,795

40,575

2,823

40,113

3,088

0

10,000

20,000

30,000

40,000

50,000

ปงบประมาณป 2548 ป2549 ป2550 ป2551 ป2552

รายการใหบริการผูปวยนอกและผูปวยใน ปงบประมาณ 2548-2552

ผูปวยนอก ผูปวยใน

แผนภูมิท่ี 6: ผลผลิตการใหบริการผูปวยนอกใหม (new case) ปงบประมาณ 2548-2552

5,0033,933

4,393 4,083 4,496

-1,0002,0003,0004,0005,0006,000

ปงบประมาณ1

คน

การใหบริการผูปวยนอกใหม (new case) ปงบประมาณ 2548-2552

ป 2548 ป2549 ป2550 ป2551 ป2552

Page 21: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

21

3 .2.1 ผูปวยนอกจําแนกตามผลการวินิจฉัยโรค 10 ลําดับโรคแรก ปงบประมาณ 2552

ICD10

DIAGNOSIS

SEX TOTAL

(ราย) % MALE

FEMALE

F20 SCHIZOPHRENIA 7,110 3,397 10,507 26.194

F41 OTHER ANXIETY DISORDERS 1,456 2,274 3,730 9.299

F32 DEPRESSIVE EPISODE 476 1,774 2,520 6.282

F31 BIPOLAR AFFECTIVE DISORDER 819 1,382 2,201 5.487

F06 OTHER MENTAL DISORDEVS DUE TO BRAIN DAMAGE AND DYSFUNCTIONAL AND TO PHYSICAL DISEASE

773 491 1,264 3.151

F23 ACUTE AND TRANSIENT PSYCHOTIC DISORDERS 502 569 1,071 2.670

F43 TEACTION TO SEVERE STRESS,AND ADJUSTMENT DISORDERS

307 713 1,020 2.543

F25 SCHIZOAFFECTIVE DISORDERS 443 492 935 2.366

F10 MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE TO USE OF ALCOHOL

873 76 949 2.331

F51 NONORGANIC SLCEP DISORDERS 254 344 598 1.491

(ยอดผูปวยนอกรวมท้ังหมด 40,113 ราย)

Page 22: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

22

3 .2.2 ผูปวยนอกใหม จําแนกตามผลการวินิจฉัยโรค 10 ลําดับโรคแรก ปงบประมาณ 2552

ICD10

DIAGNOSIS

SEX TOTAL

(ราย) % MALE

FEMALE

F20 SCHIZOPHRENIA 563 279 842 18.727

F41 OTHER ANXIETY DISORDERS 165 244 409 9.096

F32 DEPRESSIVE EPISODE 80 147 227 5.048

F43 TEACTION TO SEVERE STRESS,AND ADJUSTMENT DISORDERS

75 135 210 4.670

F23 ACUTE AND TRANSIENT PSYCHOTIC DISORDERS 82 88 170 3.781

F10 MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE TO USE OF ALCOHOL

124 11 135 3.002

F31 BIPOLAR AFFECTIVE DISORDER 53 72 125 2.780

F15 MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE TO USE OF OTHER STIMULANTS,INCLUDING CAFFEINE

98 16 114 2.535

F06 OTHER MENTAL DISORDEVS DUE TO BRAIN DAMAGE AND DYSFUNCTIONAL AND TO PHYSICAL DISEASE

57 40 97 2.157

F51 NONORGANIC SLCEP DISORDERS 42 49 91 2.024

(ยอดผูปวยนอกใหมรวมท้ังหมด 4,496 ราย)

Page 23: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

23

3.2.3 ผูปวยจิตเวชทั่วไปและนติิจิตเวชท่ีจําหนาย จําแนกตามผลการวนิิจฉยั 10 ลําดับโรคแรก ปงบประมาณ 2552

ICD10

DIAGNOSIS

SEX TOTAL % MALE FEMALE

F20 SCHIZOPHRENIA 431 158 589 44.419

F31 BIPOLAR AFFECTIVE DISORDER 60 75 135 10.181

F10 MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE TO USE OF ALCOHOL

87 4 91 6.862

F23 ACUTE AND TRANSIENT PSYCHOTIC DISORDERS 42 39 81 6.108

F25 SCHIZOAFFECTIVE DISORDERS 46 27 73 5.505

F15 MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE TO USE OF OTHER STIMULANTS,INCLUDING CAFFEINE

54 8 62 4.675

F06 OTHER MENTAL DISORDEVS DUE TO BRAIN DAMAGE AND DYSFUNCTIONAL AND TO PHYSICAL DISEASE

43 13 60 4.524

F32 DEPRESSIVE EPISODE 20 33 53 3.996

F19 MENTAL AND BEHAVIOURAL DISORDERS DUE TO MULTIPLE DRUG USE AND USE OF OTHER PSYCHOACTIVE SUBSTANCES CAFFEINE

29 3 32 2.413

F29

UNSPECIFIED NONORGANIC PSYCHOSIS 18 5 23 1.734

(รวมผูปวยจิตเวชและนติิจิตเวชท่ีจําหนายท้ังหมด 1,326 ราย)

Page 24: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

24

3.3 การใหบริการนิติจิตเวช

ลําดับ กิจกรรม หนวยนับ เปาหมาย ผลการ

ปฏิบตัิงาน ป 2552

รอยละของ เปาหมาย

1

ขอมูลทั่วไปของการใหบริการนิติจิตเวช 1.1 จํานวนผูปวยนอกที่มารับบริการ

1.1.1 ผูปวยนอกใหม 1.1.2 ผูปวยนอกเกา

1.2 จํานวนผูปวยนอกที่ใหบริการในเรือนจํา 1.2.1 ผูปวยนอกใหม 1.2.2 ผูปวยนอกเกา

1.3 จํานวนผูปวยรับไวในโรงพยาบาลจําแนกตามแหลงนําสง 1.3.1 ศาล 1.3.2 เรือนจํา 1.3.3 สถานีตํารวจนครบาล 1.3.4 สถานีตํารวจภธูร 1.3.5 สํานักงานตรวจคนเขาเมือง 1.3.6 สํานักงานคุมประพฤติ 1.3.7 สถานพินิจและคุมครองเด็กและ

เยาวชน 1.3.8 ญาติ 1.3.9 อ่ืน ๆ

1.4 จํานวนผูปวยรับไวในโรงพยาบาล จําแนกตามประเภทคด ี 1.4.1 ความผิดตอชีวิต 1.4.2 พรบ.ฟนฟูสมรรถภาพผูติดยา และสารเสพติด 1.4.3 พรบ.คนเขาเมือง 1.4.4 ทํารายรางกาย

ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย

ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย

ราย ราย ราย

ทุกรายที่มารับบริการ

ทุกรายที่มารับบริการ

ทุกรายที่มารับบริการ

ทุกรายที่มารับบริการ

2,971 345

2,626 107 67 40 134

58 1 12 20 15 19 6 3 -

134

24 18

15 14

100

100

100

100

Page 25: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

25

3.3 การใหบริการงานนิติจิตเวช (ตอ) :

ลําดับ กิจกรรม หนวยนับ เปาหมาย ผลการ

ปฏิบตัิงาน รอยละของ เปาหมาย

1.4.5 ลักทรัพย 1.4.6 พรบ.ยาบา 1.4.7 บุกรุก 1.4.8 พยายามฆา 1.4.9 อ่ืนๆ

13 9 7 6 53

1.5 จํานวนวนัเฉลี่ยตั้งแตรับผูปวยไวจนถึงใหคําวนิิจฉยั จําแนกตามแหลงนําสง 1.5.1 ศาล

1.5.2 ตํารวจ

วัน/คน วัน/คน

ทุกรายที่มารับบริการ

45 60

39 39

86.70 65

2 3 4 5 6 7

การใหคําปรึกษาทางนิติจิตเวช การใหปากคําพนักงานสอบสวน การไปเปนพยานศาล รายงานผลการตรวจวนิิจฉัยโรคผูปวยคด ี ออกใบรับรองแพทยสําหรับผูปวยนิตจิิตเวช เรงรัดและปรบัปรุงกระบวนการตรวจวินิจฉยัโรคในผูปวยนิตจิิตเวช 7.1 มีการประชุมวินิจฉยัโรคอยางนอยสัปดาหละ 1 คร้ัง

ราย

คร้ัง

คร้ัง

ราย

ราย

คร้ัง/ราย

ทุกรายที่มา

รับบริการ

ทุกรายที่มา

รับบริการ

ตามหนังสือเชิญ

ทุกรายที่ประชุม

วินิจฉยัโรค ทุกรายที ่รองขอ 48/100

13

53

53

233

30

60/233

100

100

100

100

100

125

Page 26: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

26

3 .3.1 สถิติผูปวยนิติ จิตเวชรับไว จําแนกตามแหลงนาํสง ปงบประมาณ 2550 - 2552

แหลงนําสง ปงบประมาณ

2550 2551 2552

ศาล สถานีตํารวจนครบาล สถานีตํารวจภธูร สํานักงานตรวจคนเขาเมือง สํานักงานคุมประพฤติ สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน เรือนจํา ญาติ อ่ืน ๆ

60 21 24 22 14 4 2 9 4

42 19 22 19 14 - 3 8 -

58 12 20 15 19 6 1 3 -

รวมรับไวท้ังป 160 127 134

Page 27: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

27

3.3.2 สถิติผูปวยนิติ จิตเวชรับไว จําแนกตามประเภทคดี ปงบประมาณ 2550 - 2552

ประเภทคด ีปงบประมาณ

2550 2551 2552 1. ความผิดเกีย่วกับความมั่นคงฯ 2. ความผิดเกีย่วกับศาสนา 3. ความผิดเกีย่วกับความสงบสุขของประชาชน 4. ความผิดวางเพลิง 5. ความผิดเพลิงไหมโดยประมาท 6. ความผิดเกีย่วกับการปลอมและแปลงเอกสาร 7. ความผิดเกีย่วกับเสรีภาพและชื่อเสียง 8. ขมขืนกระทําชําเรา 9. ขมขืนกระทําชําเราและฆา 10. กระทําอนาจาร 11. พรากผูเยาว 12. คาประเวณ ี13. ลักทรัพย 14. วิ่งราวทรพัย 15. กรรโชกทรัพย 16. รีดเอาทรัพย 17. ชิงทรัพย 18. ปลนทรัพย 19. ฉอโกงทรัพย 20. รับของโจร 21. ทําใหเสียทรัพย 22. บุกรุก 23. ยักยอกทรัพย 24. ความผิดตอชีวติ

- 1 - 2 - 1 3 1 - 2 - -

20 1 - - 4 1 1 - 9 11 -

25

1 - - - - 1 1 3 - 1 2 -

19 1 - - 4 - - - 3 5 -

19

- - - 2 - - - - - 5 - -

13 3 - - 6 1 - - 4 7 -

24

Page 28: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

28

3.3.3 สถิ ติผูปวยนิ ติ จิตเวชรับไว จําแนกตามประเภทคดี ปงบประมาณ 2550 – 2552 (ตอ)

ประเภทคด ีปงบประมาณ

2550 2551 2552 25. พยายามฆา 26. ทํารายรางกาย 27. พ.ร.บ.อาวุธปน 28. พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโทษ 29. พ.ร.บ.สารระเหย 30. พ.ร.บ.ยาบา 31. พ.ร.บ.คนเขาเมือง 32. ความผิดอันเกดิจากการใชเชค็ 33. พรบ.ฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาและสารเสพติด 34. นิติจิตเวชเพื่อการวินจิฉัย 35. อ่ืน ๆ

12 7 1 - 4 7 21 -

14 5 7

5 16 - 1 1 2 20 1 14 5 2

6 14 2 1 2 9 15 -

18 - 2

รวมรับไวท้ังป

160 127 134

Page 29: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

29

3.4 การตรวจวินิจฉัย บาํบัด รักษา

ลําดับ กิจกรรม หนวยนับ เปาหมาย ผลการ

ปฏิบตัิงาน รอยละของ เปาหมาย

1 2 3 4 5 6 7 8

การตรวจวิเคราะหทางหอง ปฏิบัติการ การตรวจทางรังสี การตรวจคลื่นสมอง การตรวจคลื่นหัวใจ การบําบัดรักษาทางยา

• รับประทานยา

• ฉีด ยา การบําบัดรักษาดวยไฟฟา

การบริการแพทยทางเลือก การใหบริการทางการพยาบาล - กลุมสุขศึกษา - กลุมนันทนาการ - กลุมเตรียมตอสูคดีโดยพยาบาล - กลุมพัฒนาตนเองเพื่อความพรอม กลับไปสูสังคม - กลุมเสริมแรงจูงใจ - กลุมชุมชนบาํบัด - กลุมออกกําลังกาย

ตัวอยาง

คร้ัง/ราย

ราย

ราย

คร้ัง คร้ัง คร้ัง

ราย

คร้ัง/ราย คร้ัง/ราย คร้ัง/ราย คร้ัง/ราย

คร้ัง/ราย คร้ัง/ราย คร้ัง/ราย

ทุกรายที่สงตรวจ

ทุกรายที่สงตรวจ

ทุกรายที่สงตรวจ

ทุกรายที่สงตรวจ

19,174

323/379 -

52

186,280 8,484 1,031

5,768

424/3,549 189/3,343

67/413 273/2,338

433/2,986 32/1,369

310/29,220

100

100

100

100 100 100

100

100 100 100 100

100 100 100

Page 30: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

30

3.4 การตรวจวินิจฉัย บาํบัด รักษา (ตอ)

ลําดับ กิจกรรม หนวยนับ เปาหมาย ผลการ

ปฏิบตัิงาน รอยละของ เปาหมาย

9

10

11 12

13 14

15

การตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยา การบําบัดทางจิตวิทยา ครอบครัวบําบัด การใหคําปรึกษาทางจิตวิทยา การวินจิฉัยทางสังคม การบําบัดทางสังคมและใหการปรึกษา - รายบุคคล - แบบกลุม - การใหคําปรึกษาครอบครัว - การคัดกรองผูปวยเพื่อใหบริการรักษาผูปวย - การรักษาทางกาย - การปฏบิัติเพือ่การบําบัดทางจิต การบําบัดรักษาทางทันตกรรม - บริการผูปวยในทันตกรรม - บริการรักษาผูปวยนอกทันตกรรม - งานสงเสริมและปองกัน

ราย

ราย

ราย ราย

ราย

ราย คร้ัง/ราย ราย ราย

ราย

คร้ัง/ราย

ราย/งาน

ราย/งาน

คน/คร้ัง

ทุกรายที่สงตรวจ

ทุกรายที่สง

ตรวจ

ทุกรายที่สงตรวจ

ทุกรายที่

ขอรับบริการ ทุกรายที่

ขอรับบริการ ทุกรายที่

ขอรับบริการ

1,681

404

1

287

1,759

478 29/309

763 150,915

357/484

1,034/3,509

539/539

2,411/2,460

229/1,540

100

100

100 100

100

100 100 100 100

100 100

100

100

100

Page 31: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

31

3.5 งานบาํบัดรักษาผู ติดสารเสพติด

ลําดับ กิจกรรม หนวยนับ เปาหมาย ผลการ

ปฏิบัติงาน รอยละของเปาหมาย

1 การบําบัดรักษาผูติดสารเสพติด-วัตถุออกฤทธิ์ 1.1 แบบผูปวยนอก 1.2 แบบผูปวยใน

ราย ราย

ทุกรายที่ขอรับบริการ

1,754 197

100 100

2 ยาเสพติด-วัตถุออกฤทธิ์หลักที่ผูปวยเสพติด 2.1 ยาบา 2.2 เฮโรอีน 2.3 กัญชา 2.4 สุรา/แอลกอฮอล 2.5 อ่ืน ๆ (Multiple drug)

ราย ราย ราย ราย ราย

ทุกรายที่ขอรับบริการ

449 46 102 806 356

100 100 100 100 100

3 การใหบริการจิตสังคมบําบัดสําหรับผูติดยาบา (Matrix Program) 3.1 แบบผูปวยนอก 3.2 แบบผูปวยใน

ราย/คร้ัง ราย/คร้ัง

ทุกรายที่ขอรับบริการ

149/1,864 185/802

100 100

Page 32: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

32

3.6 การฟนฟูสมรรถภาพผูปวย

ลําดับ กิจกรรม หนวยนับ จํานวนผูปวย

1 2 3 4 5

การประเมินสมรรถภาพผูปวย การฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย - อาชีวบําบัด - กายภาพบําบดั การฟนฟูสมรรถภาพทางสังคม - บันเทิงบําบัด - ศิลปกรรมบําบัด - ทักษะการใชชีวิต/อยูรวมกนัภายในบาน - ทักษะทางสังคม - ทักษะการพกัผอน - ทักษะการใชชีวิตในสังคม การฟนฟูสมรรถภาพทางอาชีพ - ทักษะพื้นฐาน - เกษตรกรรมบําบัด - อุตสาหกรรมบําบัด/หัตกรรม - อาชีพอ่ืน ๆ กลุมบําบัดอื่น ๆ - พัฒนาทกัษะผูปวยจิตเภทเรือ้รัง

คร้ัง/ราย

คร้ัง/ราย คร้ัง/ราย

คร้ัง/ราย คร้ัง/ราย คร้ัง/ราย คร้ัง/ราย คร้ัง/ราย คร้ัง/ราย

คร้ัง/ราย คร้ัง/ราย คร้ัง/ราย คร้ัง/ราย

คร้ัง/ราย

310/957

68/68 2/2

24/1,440 153/656

- 29/250 48/279

-

244/534 210/237

610/1,591 - -

รวม คร้ัง/ราย 1,698/6,014

Page 33: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

33

3.7 การสงเสริม ปองกัน

ลําดับ กิจกรรม หนวยนับ ผลการ

ปฏิบตัิงาน รอยละของเปาหมาย

1 2

เปนวิทยากรเผยแพรความรูสุขภาพจิต การใหความรูสุขภาพจิตในงานสาธารณสุข มูลฐาน 2.1 โปสเตอร 2.2 หนังสือคูมือ 2.3 ชุดนิทรรศการ 2.4 ว ีดี โอ เทป 2.5 สปอตวิทย ุ2.6 สติกเกอร 2.7 บทความ 2.8 เทปเสียง 2.9 การด/บริการพิมพ/ใบประกาศ/ปกเอกสาร 2.10 ปายเวที/ปานชื่อ/ปายผา/ปายตอนรับ 2.11 ถายภาพ 2.12 แผนพับ 2.13 วารสาร 2.14 หนังสือ

ราย/คร้ัง

เร่ือง/แผน เร่ือง/แผน เร่ือง/ชุด เร่ือง/มวน เร่ือง/ชุด เร่ือง/แผน เร่ือง/ชุด เร่ือง/มวน เร่ือง/แผน เร่ือง/แผน แผน

เร่ือง/แผน เร่ือง/เลม เร่ือง/เลม

1,072/440

65/319 1/45 14/20 33/94 4/4

34/744 32/844 26/26

79/2,009 153/283

4,637 7/1,522

5/6 1/45

100

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100

Page 34: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

34

3.7 การสงเสริม ปองกัน (ตอ)

ลําดับ กิจกรรม หนวยนับ เปาหมายผลการ

ปฏิบัติงาน รอยละของเปาหมาย

3 4 5 6 7 8

การเผยแพรความรูสุขภาพจติทางสื่อมวลชน 3.1 รายการวิทย ุ3.2 รายการโทรทัศน 3.3 ส่ิงพิมพ 3.4 เสียงตามสาย (ภายในโรงพยาบาล) การเผยแพรขาว 4.1 การจัดแถลงขาว 4.2 การเผยแพรขาวผานหนังสือพิมพ/วิทยุ/โทรทัศน/วารสารกรมสุขภาพจิต จัดนิทรรศการ 4.1 จัดนิทรรศการภายใน รพ. ใหบริการปรึกษาปญหาทางโทรศัพท สัมมนาประจาํป ชุมชนและญาติผูปวยเพื่อนชวยเพื่อน สถาบันกัลยาณราชนครินทร เตรียมความพรอมญาติในการดูแลผูปวยทีบ่าน (ชมรมเพื่อนชวยเพื่อน)

เร่ือง/คร้ัง เร่ือง/คร้ัง เร่ือง/คร้ัง เร่ือง/คร้ัง

เร่ือง/คร้ัง

เร่ือง/คร้ัง

เร่ือง/คร้ัง

ราย

คน

คร้ัง/ราย

ทุกรายที่ขอความรวมมือ

ทุกรายที่ขอรับบริการ

100

24/600

252/252 10/3

759/759 4,852/6,928

-

86/11

14/7

11,854

102

24/633

100 100 100 100

100

100

100

102

105.5

Page 35: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

35

การสอน/ ศึกษา/ ดูงาน/ ฝกอบรม/ ฝกปฏิบัติงาน การพัฒนางานตามแผนงาน/โครงการ งานวิจัยที่เสร็จสมบูรณ งานผลิตและเผยแพรวิชาการ

สวนที่ 4 ผลการดําเนินงานดานวิชาการ

Page 36: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

36

4.1 การสอน / ศึกษา / ดูงาน / ฝกอบรม / ฝกปฏิบัติงาน

ลําดับ กิจกรรม หนวยนับ ผลการ

ปฏิบัติงาน รอยละของเปาหมาย

1 การสงบุคลลากรไปฝกอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดงูาน (ในประเทศ)

ราย/คร้ัง 643/261 100

2 การสงบุคลากรไปฝกอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดงูาน (ตางประเทศ)

ราย/คร้ัง 2/2 100

3 หนวยงานอื่น ๆ ศึกษาดูงาน 3.1 ระดับปรญิญาตรี - นักศกึษาชั้นปที่ 5 สถาบันรวมผลิตแพทยกรมการแพทย

มหาวิทยาลัยรังสิต ราย/คร้ัง 162/4 100

- นักศกึษาพยาบาลปที่ 4 มหาวิทยาลัยคริสเตียน ราย/คร้ัง 238/4 100 - นักศกึษาสังคมสงเคราะห ป 3 มหาวิทยาลัยหัวเฉยีว ราย/คร้ัง 14/1 100 - นิสิต วท.ม. ช้ันปที่ 2 คณะแพทยศาสตร จุลาลงกรณฯ ราย/คร้ัง 23/1 100 -ผูสําเร็จการศึกษาปริญญาตรีดานจิตวิทยาและประสาท

วิทยา ในวอชิงตัน ดีซี สํานักพัฒนาสุขภาพจิต ราย/คร้ัง 3/1 100

- นักเรยีนแพทยทหารเขาศกึษาดูงาน ช้ันปที่ 5 วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกฎเกลา

ราย/คร้ัง 54/1 100

- นักศกึษาพยาบาลชั้นปที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนน ี ราย/คร้ัง 136/1 100 - นักเรยีนพยาบาลกองทับบก ช้ันปที่ 3 ราย/คร้ัง 101/1 100 - นักศกึษาพยาบาลชั้นปที่ 3 วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณ

สํานักการแพทย ราย/คร้ัง 146/1 100

-นักศกึษาพยาบาลชั้นปที่ 3 วิทยาลัยมิชชัน ราย/คร้ัง 78/1 100 - นักศกึษาพยาบาลมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ราย/คร้ัง 48/1 100 - นักศกึษาพยาบาลตํารวจวทิยาลัยพยาบาลตํารวจ ราย/คร้ัง 71/2 100 -นักศกึษาคณะสังคมสงเคราะหศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รังสิต ราย/คร้ัง 10/1 100

- ผูเขาอบรมหลักสูตรเฉพาะทางระยะสั้นนานาชาติโรงพยาบาลศรีธัญญา

ราย/คร้ัง 13/1 100

- ศูนยฟนฟูสมรรถภาพยาเสพติด

ราย/คร้ัง 2/1 100

Page 37: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

37

4.1 การสอน / ศึกษา / ดูงาน / ฝกอบรม / ฝกปฏิบัติงาน (ตอ)

ลําดับ กิจกรรม หนวยนับ ผลการ

ปฏิบัติงาน รอยละของเปาหมาย

หนวยงานอื่น ๆ ศึกษาดูงาน(ตอ) - เจาหนาที่จากราชานุกูลดูงานชมรมจริยธรรม ราย/คร้ัง 27/1 100 - ขาราชการชมรมผูสูงอายุโรงพยาบาลสวนปรุง ราย/คร้ัง 26/1 100 - ผูเขาอบรมหลักสูตรเฉพาะทางสาขาการพยาบาลจิตเวช

สถาบันจิตเวชศาสตรสมเด็จเจาพระยา ราย/คร้ัง 42/1 100

- ศูนยบําบดัรักษายาเสพติด เชียงใหม ราย/คร้ัง 10/1 100 3.2 ระดับหลังปริญญาตรี(ปริญญาโท) ราย/คร้ัง ทุกรายที่ขอศึกษา

ดูงาน

3.3 ระดับอ่ืน ๆ ราย/คร้ัง ทุกรายที่ขอศึกษาดูงาน

3.4 ตางประเทศ -Mr. Wit pilunthanakul และ Mr.Rajinder Singh ผูสําเร็จการศึกษาปรญิญาตรีดานจติวิทยาและประสาทวิทยา ในวอชิงตัน ดีซี

ราย/คร้ัง

ทุกรายที่ขอศึกษาดูงาน

2/1

100

4 การพัฒนาบุคลากร หลักสูตรปริญญาโท - แผน ก - แผน ข

คน

6

100

การสนับสนุนวิทยากรเพื่อสอนและฝกอบรม 1. การสนับสนุนวิทยากร ราย/คร้ัง 152/132 100 - ภายในกรมสุขภาพจิต ราย/คร้ัง 65/55 100 - ภายนอกกรมสุขภาพจิต ราย/คร้ัง 87/77 100 2. การฝกอบรม/ฝกปฏิบัติงาน แพทยประจําบาน และแพทยใชทุน ราย/คร้ัง ทุกรายที่ขอ

ความรวมมือ

- แพทยประจําบานปที่ 3 สถาบันจิตเวชศาสตรสมเด็จเจาพระยา

ราย/คร้ัง 7/2 100

- แพทยประจําบานสาขาจิตเวชทั่วไป คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลยัมหิดล

ราย/คร้ัง 5/3 100

Page 38: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

38

4.1 การสอน / ศึกษา / ดูงาน / ฝกอบรม / ฝกปฏิบัติงาน (ตอ)

ลําดับ กิจกรรม หนวยนับ ผลการ

ปฏิบัติงาน รอยละของเปาหมาย

แพทยประจําบาน และแพทยใชทุน (ตอ) - แพทยประจําบานชั้นปที่ 2 คณะแพทยศาสตร

โรงพยาบาลรามาธิบดี หมาวทิยาลัยมหดิล ถนนพระราม6 ราย/คร้ัง 8/2 100

- แพทยประจําบานปที่ 3 ภาควิชานิติเวชศาสตร ราย/คร้ัง 7/1 100 - แพทยใชทุนปที่ 3 และแพทยประจําบานปที่ 3

โรงพยาบาลมหานครเชียงใหม ราย/คร้ัง 3/1 100

- แพทยใชทุนปที่ 2 และแพทยประจําบานปที่ 2โรงพยาบาลมหานครเชียงใหม

ราย/คร้ัง 2/1 100

- แพทยประจําบานปที่ 3 คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ราย/คร้ัง 4/2 100

- แพทยประจําบาน คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน

ราย/คร้ัง 1/1 100

- แพทยประจําบานปที่ 3 สาขาจิตเวชศาสตร โรงพยาบาลพระมงกฎ

ราย/คร้ัง 3/1 100

- แพทยประจําบานและแพทยใชทุนภาควิชาจิตเวชศาสตร มหาวทิยาลัยขอนแกน

ราย/คร้ัง 1/1 100

- แพทยใชทุนและแพทยประจําบานปที่ 4 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม

ราย/คร้ัง 1/1 100

- แพทยใชทุนและแพทยประจําบานปที่ 4 สาขาจิตเวชเด็กและวยัรุนคณะแพทยศาสตร จุลาลงกรณมหาวิทยาลัย

ราย/คร้ัง 4/1 100

- นิสิตภาควิชารัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ราย/คร้ัง 2/1 100

- แพทยประจําบานปที่ 3 คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

ราย/คร้ัง 1/1 100

Page 39: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

39

4.1 การสอน / ศึกษา / ดูงาน / ฝกอบรม / ฝกปฏิบัติงาน (ตอ)

ลําดับ กิจกรรม หนวยนับ ผลการ

ปฏิบัติงาน รอยละของเปาหมาย

2.2 ระดับปริญญาตรี - นักศึกษาพยาบาลชั้นปท่ี 3 รุนที่ 23 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี

ราย/ครั้ง

162/4

100

- นักศึกษาจิตวิทยา ช้ันปท่ี 4 คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ราย/ครั้ง 2/1 100

- นักศึกษาคณะสังคมสงเคราะหศาสตรและสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยหวัเฉียว วิทยาเขตยศเส

ราย/ครั้ง 2/1 100

- ผูฝกปฏิบัติงานดานจิตวิทยาคลินิก ผูจัดกรมสุขภาพจิต ราย/ครั้ง 1/1 100 - นักศึกษาพยาบาลศาสตรบันฑิต(ตอเนื่อง)วทิยาลัยพยาบาล

บรมราชชนนี ราชบุรี ราย/ครั้ง 83/4 100

- นักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรมหาลัยราชภัฏนครปฐม

ราย/ครั้ง 1/1 100

- นักศึกษาพยาบาลชั้นปท่ี 3 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี ราย/ครั้ง 96/1 100 - นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ มหากรุงเทพธนบุรี ราย/ครั้ง 3/1 100 - นักศึกษาคณะสังคมสงเพราะศาสตรช้ันปท่ี 2

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรรังสติ ราย/ครั้ง 3/1 100

- นักศึกษาภาคจิตวิทยา มหาวิทยาลัยรามคําแหง ราย/ครั้ง 2/1 100 - นักศึกษาคณะสังคมสงเคราะหมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิม

พระเกียรต ิราย/ครั้ง 1/1 100

- นักศึกษาภาคจิตวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรรังสิต ราย/ครั้ง 2/1 100 - ผูอบรมหลักสตูรการ)ปฏิบัติงานดานจิตวิทยาคลินิกป 2551

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ราย/ครั้ง 2/1 100

- นักศึกษาคณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร

ราย/ครั้ง 1/1 100

- นักศึกษาคณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร ราย/ครั้ง 1/1 100 - นักศึกษาพยาบาลศาสตรช้ันปท่ี 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราย/ครั้ง 16/2 100 2.3 ระดับปริญญาโท

- นักศึกษาปริญญาโทชั้นปท่ี 2 คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

ราย/ครั้ง 4/1 100

Page 40: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

40

4.2 การพฒันางานตามแผนงาน/โครงการ

ในปงบประมาณ 2552 สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดมกีารดําเนนิงานพัฒนาตามแผนงาน/โครงการที่สําคัญ ดังนี ้

• การพัฒนางานดานวิกฤตสุขภาพจิต 1. โครงการแกไขปญหาวิกฤตสุขภาพจิตในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนใต

1.1 โครงการอบรมปฏิบัติการเรื่องการบําบัดความคิดพฤติกรรมเด็กที่ประสบเหตุการณรุนแรง(Cognitive Behavior Therapy) ระหวางวันที่ 22-24 ธันวาคม 2551 ณ โรงแรมริชมอนด จังหวัดนนทบุรี กลุมเปาหมาย บุคลากรหนวยงานสังกัดกรมสุขภาพจิต จํานวน 50 คน วิทยากร Dr. Rony Berger Israel Trauma Center for Victims of Trauma and War ประเทศอิสราเอล

2. โครงการพฒันาการใหบรกิารวิกฤตสุขภาพจิต 2.1 โครงการอบรมปฏิบัติการเรื่อง “การปฐมพยาบาลผูมีปญหาสุขภาพจิต” (Mental Health First Aid)

ระหวางวันที่ 19-21 มกราคม 2552 ณ โรงแรมหัวหินแกรนด อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ กลุมเปาหมาย บุคลากรหนวยงานสังกัดกรมสุขภาพจิต จํานวน ๕๐ คน วิทยากร Mr. Len Kanowski จากประเทศออสเตรเลีย

2.2 โครงการพัฒนาเกณฑการใหบริการวิกฤตสุขภาพจิตสําหรับเครือขายสังกัดกรมสุขภาพจิต ระหวางวันที่ 27-28 กรกฎาคม 2552 ณ โรงแรมเอสดี อเวนิว กรุงเทพมหานคร กลุมเปาหมาย บุคลากรหนวยงานสังกัดกรมสุขภาพจิต จํานวน 40 คน มีแผนในการพัฒนาตอไป

2.3 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทําหลักสูตรการชวยเหลือประชาชนที่อยูในภาวะ วิกฤตสําหรับวิทยากร ระหวางวันที่ 3–5 สิงหาคม 2552 ณ โรงแรมริชมอนด อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี กลุมเปาหมาย แพทย พยาบาล นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห ที่ปฏิบัติงานดานวิกฤตสุขภาพจิตสังกัดกรมสุขภาพจิต จํานวน 18 คน

3. โครงการพัฒนาระบบการใหบริการปรึกษา 3.1 การใหบริการปรึกษาในและนอกสถานบริการ 1323

3.1.1 โครงการจัดทําแนวทางชวยเหลือบุคคลที่พยายามทํารายตนเองที่ปรึกษาทางโทรศัพทของสถาบันกัลยาณราชนครินทร รุนที่ 1 วันที่ 20 สิงหาคม 2552 รุนที่ 2 วันที่ 21 สิงหาคม 2552 ณ หองประชุมนายแพทยสุรินทรปนรัตน สถาบันกัลยาณราชนครินทร กลุมเปาหมาย บุคลากรที่ใหบริการปรึกษาทางโทรศัพท จํานวน 60 คน 3.2 การใหบริการปรึกษาในและนอกสถานบริการ MCC 3.2.1 โครงการประชุมปฏิบัติการจัดทําแนวปฏิบัติการชวยเหลือในสถานการณวิกฤตสุขภาพจิต สําหรับสถาบันกัลยาณราชนครินทร ระหวางวันที่ 13-14 สิงหาคม 2552 ณ นิจิโกะ รีสอรท

Page 41: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

41

แอนด คันทรีคลับ อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี กลุมเปาหมาย บุคลากรสถาบันกัลยาณราชนครินทร ทุกหนวยงาน จํานวน 40 คน มีแผนในการพัฒนาตอไป ในปงบประมาณ 2553

4. โครงการเรงดวนตามนโยบายกรมสุขภาพจิต 4.1 โครงการชวยเหลือดานจิตใจผูไดรับผลกระทบจากเหตุการณ วันที่7 ตุลาคม 2551 และ

เหตุการณที่เกี่ยวเนื่อง 4.1.1 เยี่ยมบานเพื่อประเมินและชวยเหลือดานจิตใจแกผูไดรับผลกระทบ กลุมเปาหมาย ผูไดรับผลกระทบจากเหตุการณวันที่ 7 ตุลาคม 2551จํานวน79 ราย และผูไดรับผลกระทบจากเหตุการณ วันที่ 13 เมษายน 2552 จํานวน 13 ราย 4.1.2 จัดบริการปรึกษาปญหาสุขภาพจิตทางโทรศัพท 1323 โดยเพิ่มเปนใหบริการเปน 3 คูสาย มีจํานวนผูใชบริการ 11,854 ราย

4.2 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การฟนฟูศักยภาพบุคลากรผูใหบริการปรึกษาสายดวนสุขภาพจิต สังกัดกรมสุขภาพจิต กลุมเปาหมายบุคลากรผูใหบริการปรึกษาสายดวนสุขภาพจิต สังกัด กรมสุขภาพจิต จํานวน 80 คน 2 รุนๆ ละ 40 คน รุนที่ 1 ระหวางวันที่ 8-10 มิถุนายน 2552 รุนที่ 2 ระหวางวันที่ 29-31 กรกฎาคม 2552 ณ โรงแรมเอสดี อเวนิว กรุงเทพมหานคร 4.3 จัดทีมปฏิบัติงานดานการคัดกรองเกี่ยวกับการตดิเชื้อโรคไขหวัดใหญสายพนัธใหม ชนดิ เอ (เอช 1 เอ็น1) ผูเดินทางระหวางประเทศ ณ ทาอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ จํานวน 6 วัน ในวันที่ 17,24,31 พฤษภาคม และ วันที่ 5,12,21 มิถุนายน 2552 ปฏิบัติงานเวรเชา-บาย-ดึก 4.4 จัดทีมปฏิบัติการรณรงค อึด ฮึด สูไขหวัดใหญ 2009 ณ หางสรรพสินคาในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางดานวกิฤตสุขภาพจิตรับผิดชอบ 6 คร้ังในวันที ่27 มิถุนายน วนัที ่4,11,18,25 กรกฎาคม และวนัที่ 12 สิงหาคม 2552 โดย ประเมินประชาชนเกี่ยวกับระดบัความกังวลใจ และการรับรูสถานการณความรุนแรง จํานวน 200 - 210 ราย

5. โครงการพิเศษ: การติดตามสถานการณและแนวโนมของภาวะสุขภาพจิตของประชาชน 5.1 โครงการเฝาระวังภาวะสุขภาพจิตของประชาชนในชวงเวลาตาง ๆ สถาบันกัลยาณราชนครินทรรับผิดชอบสํารวจติดตามอุณหภูมิใจของคนไทย จังหวัดราชบุรี จํานวน 210 ราย สํารวจรายงานผลสง สํานักสุขภาพจิตสังคม รายไตรมาส คือ เดือนตุลาคม มกราคม เมษายน และกรกฎาคม ของทุกป

6. โครงการพัฒนาระบบการบริการชวยเหลือประชาชนในภาวะวิกฤตสุขภาพจิตและเตรียมความพรอมบุคลากร ตาม พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551: พื้นท่ีกรุงเทพมหานคร (สปสช.)

สืบเนื่องจากสถานการณวิกฤตตาง ๆ ที่ไดเกิดขึ้นในสังคมเมืองไทย โดยเฉพาะเขคพื้นที่กรุงเทพมหานคร ไมวาจะเปนดานวิกฤตเศรษฐกิจ วิกฤตการณทางการเมือง เชน เหตุการณ 7 ตุลาคม 2551 เหตุการณ 13 เมษายน 2552 รวมถึงภัยพิบัติจากการเกิดโรคระบาดของไขหวัดใหญ 2009 สงผลใหประชาชนมีปญหาดานสุขภาพจิต มีความเครียด วิตกกังวล บางรายไมสามารถปรับตัวได ทําใหมีปญหาสุขภาพจิตในระดับเล็กนอย ไปจนถึงระดับรุนแรง เชน เปนโรคซึมเศรา มีพฤติกรรมพยายามฆาตัวตาย กาวราวรุนแรง หรือปวยเปนโรคทางจิตเวช

Page 42: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

42

จากปญหาดังกลาว กลุมพัฒนาความเปนเลิศดานวิกฤตสุขภาพจิต สถาบันกัลยาณราชนครินทร ซ่ึงไดรับมอบหมายจากกรมสุขภาพจิต ใหรับผิดชอบดูแล ชวยเหลือประชาชนที่ประสบภาวะวิกฤตตาง ๆ ใหสามารถชวยเหลือตนเอง ปรับตัวตอสถานการณตาง ๆ ได จึงเห็นความสําคัญของการเตรียมความพรอมทั้งดานบุคลากรในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดานเทคโนโลยี คูมือ รวมทั้งดานบริการชวยเหลือประชาชนที่มีปญหาสุขภาพจิตใหไดรับการชวยเหลืออยางทันทวงที จึงไดดําเนินการจัดทําโครงการพัฒนาระบบการบริการชวยเหลือประชาชนในภาวะวิกฤตสุขภาพจิตและเตรียมความพรอมบุคลากร ตาม พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551: พื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยไดรับงบประมาณสนับสนุนจากสํานักงานหลักประกันสุขภาพจิตแหงชาติ เขต 13 พื้นที่กรุงเทพมหานคร (สปสช.)

วัตถุประสงค เพื่อเตรียมความพรอมบุคลากรที่เปนภาคเครือขายที่เกี่ยวของ ในการชวยเหลือประชาชนที่ประสบภาวะ

วิกฤตสุขภาพจิตและสรางเครือขายใหเกิดขึ้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ผลการดําเนินงานที่ผานมา ประกอบดวย 3 กิจกรรมใหญๆ คือ 6.1. กิจกรรมสายดวนสุขภาพจิต

6.1.1 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรผูใหบริการสายดวนสุขภาพจิตจํานวน 2 รุน รวมผูรับการอบรม 80 คน 6.1.2 การพัฒนาศักยภาพเครือขายผูใหบริการสายดวนสุขภาพจิต (Call Center) จํานวน 2 รุน รวมผูเขารับการอบรม 130 คน 6.1.3 การใหบริการสายดวนสุขภาพจิต1323 และสนับสนุนคาตอบแทนการใหบริการปรึกษาสายดวนสุขภาพจิต

6.2. กิจกรรมการประชาสัมพันธการใหบริการปรึกษาปรึกษาสายดวนสุขภาพจิต 6.2.1 การผลิตแผนพับประชาสัมพันธการใหบริการสายดวนสุขภาพจิต1323 เครือขายสายดวนสุขภาพจิต การดูแลตนเองเมื่อเกิดภาวะเครียด โรคซึมเศรา และการชวยเหลือผูที่พยายามฆาตัวตาย 6.2.2 การผลิตโปสเตอรประชาสัมพันธสายดวยสุขภาพจิต 1323 จํานวน 10,000 เลม

6.2.3 การจัดทําสปอรตโฆษณาการใหบริการปรึกษาสายดวนสุขภาพจิต 1323 เผยแพรทาง สถานีวิทย ุจส.100

6.3. กิจกรรมพัฒนาระบบการชวยเหลือประชาชนในภาวะวิกฤต 6.3.1 การประชุมชี้แจงผูรับผิดชอบการบริการและผูที่ปฏิบัติงานวิกฤตสุขภาพจิต เพื่อทราบ

ถึงการดําเนินงานโครงการพัฒนาระบบการชวยเหลือประชาชนในภาวะวิกฤต 6.3.2 การอบรมเรื่องการชวยเหลือดานสุขภาพจิตในภาวะวิกฤตสําหรับบุคลากรสาธารณสุข

ภาครัฐ และเอกชนรวม 5 รุน ๆ ละ 65 คน รวม 325 คน 6. 3.3 การอบรมเรื่องการชวยเหลือดานสุขภาพจิตในภาวะวิกฤตสําหรับอาจารยระดับ

อุดมศึกษา จํานวน 2 รุน รวม 120 คน

Page 43: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

43

6.3.4 การอบรมเรื่องการเจรจาตอรองเพื่อแกไขสถานการณวิกฤตสําหรับขาราชการตํารวจ สังกัดกองบัญชาการตํารวจนครบาลจํานวน 3 รุน รวม 180 คน

6.3.5 การสัมมนาประเมินผลการดําเนินงานของเครือขายบริการวิกฤตสุขภาพจิต 7. การพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตสื่อดานวิกฤตสุขภาพจิต

7.1. คูมือศูนยวิกฤตสุขภาพจิต จัดพิมพคร้ังที่ 3 จํานวน 1,000 เลม 7.2 รางมาตรฐานบริการวิกฤตสุขภาพจิต จํานวน 50 เลม 7.3. แนวปฏิบัติการชวยเหลือในสถานการณวิกฤตสุขภาพจิตสําหรับสถาบันกัลยาณราชนครินทร จํานวน 35 เลม 7.4. คูมือสําหรับผูปฏิบัติการชวยเหลือประชาชนในภาวะวิกฤต จํานวน 2,000 เลม 7.5 คูมือวิทยากรหลักสูตรการชวยเหลือผูประสบภาวะวิกฤต จํานวน 100 เลม

7.6 แผนพับประชาสัมพันธดานวิกฤตสุขภาพจิตจํานวน 3 เร่ือง ๆ ละ 20,000 แผน ไดแก เร่ืองวิกฤตสุขภาพจิต การปฏิบัติตัวเมื่อถูกจับเปนตัวประกัน และการปฐมพยาบาลดานจิตใจ

7.7 คูมือสําหรับผูปฏิบัติชวยเหลือประชาชนในภาวะวิกฤตจํานวน 2,000 เลม

Page 44: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

44

ภาพกิจกรรม : การดําเนินโครงการพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปงบประมาณ 2552

โครงการอบรมปฏิบัติการเรื่องการบําบัดความคิดพฤติกรรมเด็กที่ประสบเหตกุารณรุนแรง (CBT)

โครงการอบรมปฏิบัติการเรื่อง “การปฐมพยาบาล ผูมีปญหาสุขภาพจิต” (MHFA)

โครงการประชุมปฏิบัติการจัดทําแนวปฏบิัติการชวยเหลือในสถานการณวกิฤตสุขภาพจิต สําหรับ

สถาบันกัลยาณราชนครินทร

โครงการพัฒนาเกณฑการใหบริการวกิฤตสุขภาพจิตสําหรับเครือขายสังกัดกรมสขุภาพจิต

Page 45: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

45

ภาพกิจกรรม : การดําเนินโครงการพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปงบประมาณ 2552 (ตอ)

การเยีย่มบานเพื่อประเมินและชวยเหลือดาน

จิตใจแกผูไดรบัผลกระทบจากเหตุการณ วันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๑

โครงการจัดทาํแนวทางชวยเหลือบุคคลที่

พยายามทาํรายตนเองที่ปรกึษาทางโทรศพัท

ของสถาบันกัลยาณราชนครินทร

การรณรงค อดึ ฮึด สู ไขหวดัใหญ 2009

ณ หางสรรพสินคา การบริการปรกึษาปญหาวิกฤตสุขภาพจติ

ทางโทรศัพท 1323

Page 46: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

46

- การพัฒนาศักยภาพบุคลากรผูใหบริการสายดวนสุขภาพจิตจาํนวน 2 รุน รวมผูรบัการอบรม 80 คน

- การพัฒนาศักยภาพเครอืขายผูใหบริการสายดวนสุขภาพจติ (Call Center) จํานวน 2 รุน รวมผูเขารับการ อบรม 130 คน

ภาพกิจกรรม : การพัฒนาระบบบริการชวยเหลือประชาชนในภาวะวิกฤตสุขภาพจิตในเขตกรุงเทพมหานคร ปงบประมาณ 2552

ประชุมชี้แจงผูรับผิดชอบการบริการและผูที่ปฏิบัติงานวกิฤตสุขภาพจติ เร่ืองการดําเนนิงานโครงการพัฒนาระบบการชวยเหลือประชาชนในภาวะวกิฤต

อบรมเรื่องการเจรจาตอรองเพื่อแกไขสถานการณวิกฤต

สําหรับขาราชการตํารวจสังกัด กองบัญชาการตํารวจนครบาลจํานวน 3 รุน รวม 180 คน

Page 47: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

47

• การพัฒนางานดานนิติจิตเวช

1. โครงการพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางดานนิติจิตเวช 1.1 จัดทํามาตรฐานบริการนิติจิตเวชที่เปนเลิศ โดยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 10 กรกฎาคม

พ.ศ.2552 จํานวน 30 คน ประกอบดวยแพทย พยาบาล นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห นักกิจกรรมบําบัด ผลลัพธ ไดมาตรฐานบริการนิติจิตเวชที่เปนเลิศ

1.2 จัดทําหลักสูตรเฉพาะวิชาชีพของทีมสหวิชาชีพดานนิติจิตเวช โดยการจัดอบรม 2 คร้ัง ๆ ที่ 1 วันที่ 30 มิถุนายน 2552 คร้ังที่ 2 วันที่ 24 กันยายน 2552 จํานวน 20 คนประกอบดวย แพทย พยาบาล นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห นักกิจกรรมบําบัด ผลลัพธ อยูในขั้นของการประเมินความตองการของผูใชบริการ

1.3 จัดทําคูมือการใชแบบประเมินความเสี่ยงตอการเกิดพฤติกรรมรุนแรงในผูปวยจิตเวช (HCR-20) จัดอบรม 2 รุน รุนที่ 1 วันที่ 1-2 มิถุนายน 2552 จํานวน 40 คน รุนที่ 2 วันที่ 8-9 มิถุนายน 2552 จํานวน 40 คน ประกอบดวยแพทย พยาบาล นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห นักกิจกรรม บําบัดผลลัพธ ไดคูมือการใชแบบประเมินความเสี่ยงตอการเกิดพฤติกรรมรุนแรงในผูปวยจิตเวช 1.4 พัฒนาคูมือกลุมเตรียมความพรอมในการตอสูคดีสําหรับผูปวยนิติจิตเวช โดยการนํากระบวนการจัดความรูมาใชในการดําเนินงาน ผลลัพธ ไดคูมือกลุมเตรียมความพรอมในการตอสูคดีสําหรับผูปวยนิติจิตเวชและอยูในขั้นตอสนของการนําไปทดลองใช 2. โครงการพัฒนากฎหมายสุขภาพจิตระยะตอเนื่อง กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางดานนิติ จิตเวช สถาบันกัลยาณราชนครินทรไดมีการดําเนินการผลักดันใหเกิดการบังคับใชกฎหมายสุขภาพจิตไดอยางจริงจัง โดยไดดําเนินกิจกรรมที่จะสนับสนุนใหตัวบทกฎหมายเปนตัวบทกฎหมายที่สามารถนําไปบังคับใชไดจริงในทางปฏิบัติงาน และเกิดประสิทธิผลตามเจตนารมณของกฎหมายที่ไดระบุไว ซ่ึงประกอบดวย กิจกรรมที่สําคัญ ๆ ดังนี้

2.1. การจัดประชุมเพื่อช้ีแจง การนําพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ลงสูการปฏิบัติจัดทั้งหมด 9 คร้ัง กลุมเปาหมายประกอบดวยบุคลากรสาธารณสุข จํานวน 583 คน

2.2. การผลิตสื่อ/เทคโนโลยี 2.2.1 จัดทําโปสเตอรขั้นตอนการนําบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต มาบําบัดรักษาตาม พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 จํานวน 6,000 แผน

2.2.2 จัดทําคูมือการดําเนินการบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.255 ลงสูการบังคับใช 2.2.3 พัฒนา Web site พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551

www.thaimentalhealthlaw.com 2.2.4 ผลิตพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 จํานวน 20,000 ชุด

Page 48: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

48

2.3. การประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ 2.3.1 แตงตั้งคณะอนุกรรมการศึกษาและผลักดันความเสมอภาคในการรักษาพยาบาล

ของผูมีความผิดปกติทางจิต 2.3.2 จัดประชุมคณะอนุกรรมการศึกษาและผลักดันความเสมอภาคในการรักษาพยาบาล

ของผูมีความผิดปกติทางจิต คร้ังที่1/2552 เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2552 ณ สถาบันกัลยาณราชนครินทร 2.3.3 จัดประชุมปรึกษาหารือเพื่อผลักดันการบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิต

พ.ศ.2551 วันจันทรที่ 3 สิงหาคม 2552 ณ หองประชุม 2 กรมสุขภาพจิต 2.3.4 แตงตั้งคณะทํางานขับเคลื่อนการบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิตพ.ศ.2551

กรมสุขภาพจิต 2.4.การประสานงาน

2.4.1 ทําหนังสือเวียนไปยังโรงพยาบาลตางๆ ทั่วประเทศเพื่อสอบถามความพรอมในการ เขารวมเปนสถานบําบัดรักษาทางสุขภาพจิตตามพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551

2.4.2 ดําเนินการแตงตั้งสถานบําบัดรักษาทางสุขภาพจิตเพิ่มเติมลงนามโดยรัฐมนตรีวาการ กระทรวงสาธารณสุข

2.4.3 ดําเนินการเสนออธิบดีกรมสุขภาพจิตลงนามแตงตั้งคณะกรรมการประจําสถานบําบัด รักษาทางสุขภาพจิต ในสถานบําบัดรักษาที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

2.4.4 ดําเนินการสงหนังสือเวียนยังหนวยงานตางๆทั่วประเทศในการยื่นคําขอมีบัตร ประจําตัวตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องแบบบัตรประจําตัวพนักงานเจาหนาที่ พ.ศ.2551

2.5. อ่ืนๆ 2.5.1 ดําเนินจัดทําประกาศและระเบียบเพื่อการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551

จํานวน 3 ฉบับ ที่เหลือและประกาศในราชกิจจานุเบกษา 2.5.2 การบรรจุพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 เขาสูหลักสูตรการศึกษา การอบรมและ

การประชุมตางๆ ของหนวยในสังกัดกรมสุขภาพจิต 2.5.3 ดําเนินการใหแตละหนวยงานกําหนดผูรับผิดชอบการดําเนินการบังคับใช

พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 โดยการสงรายชื่อกลับมายังสถาบันกัลยาณราชนครินทร 2.5.4 จัดทําแบบฟอรมแบบบันทึกการติดตามการบําบัดรักษาผูปวยตามพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 2.5.5 จัดทําแบบฟอรมรายงานผลการบําบัดรักษาการจําหนายผูปวยและการติดตามผลการ

บําบัดรักษา ประจําปงบประมาณ สําหรับสถานบําบัดรักษาทางสุขภาพจิตทุกแหง 2.5.6 แปลระเบียบและประกาศเพื่อการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ที่สําคัญ

เปนฉบับภาษาอังกฤษจํานวน 5 เร่ืองและสงใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาความ ถูกตอง 2.5.7 ขอความอนุเคราะหทนายความเพื่อเขารวมเปนคณะกรรมการสถานบําบัดรักษา

ทาง สุขภาพจิตตามพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551

Page 49: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

49

ภาพกิจกรรม : การดําเนินโครงการการพัฒนางานดานนิติจิตเวช ปงบประมาณ 2552

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจติ พ.ศ.2552 ครั้งที ่3 วันที่ 3 - 4 กันยายน 2552

ณ โรงแรมมารีไทม ปารค แอนด สปา รสีอรท จังหวัดกระบี่

โครงการประชุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางดานนติิจิตเวช สําหรับทีมสหวิชาชีพ สถาบันฯ

ณ หองประชุมนายแพทยสุรินทร ปนรตัน สถาบันกัลยาณราชนครินทร

Page 50: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

50

• การพัฒนาคุณภาพสถานบริการ สถาบันฯไดรับการรับรองคุณภาพครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2550 จากการเยี่ยมประเมินในรอบนี้

สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ. หรือ พรพ.เดิม) ไดใหขอเสนอแนะเพื่อเปนโอกาสใน

การพัฒนาตอเร่ืองการทบทวนประสิทธิภาพของตัวช้ีวัดที่ Impact ตอระบบ การบริหารจัดการดานอาการ

ไมพึงประสงคจากยา และการบูรณาการนําแนวคิด/เครื่องมือตางๆมาใชในการพัฒนางาน ซ่ึงในรอบปที่ผานมาสถาบันฯไดมีการพัฒนาคุณภาพของทีม/ระบบงานที่สําคัญ อยางตอเนื่องดังนี้

1. ทบทวนแผนยุทธศาสตร ตัวช้ีวัดสถาบันฯใหมีความสอดคลองเชื่อมโยงกับนโยบายและแผน ยุทธศาสตรกรมสุขภาพจิต และพัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ โดยจัดใหมีการทําขอตกลงตัวช้ีวัดคํารับรองผลการปฏิบัติราชการระหวางผูอํานวยการ กับหัวหนาหนวยงาน ระหวางหัวหนาหนวยงานกับระดับบุคลากร และพัฒนาโปรแกรมระบบการบริหารผลการปฏิบัติการ (DPIS) มาชวยในการรวบรวมขอมูลและเพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาบุคลากร

2. พัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารความเสี่ยงในสถาบันฯ ไดแก 2.1 การทบทวนปรับปรุงเกณฑการจําแนกระดับความรุนแรงของอุบัติการณความเสี่ยงใน

แตละระบบงานที่สําคัญ เปนระดับ A-I เพื่อใหเปนไปในแนวทางเดียวกันกับระดับองคกร 2.2 การกําหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยงลงครอบคลุมทุกหนวยงาน/ทีม โดยจัดใหมีระบบการ

คนหาความเสี่ยงในเชิงรุกตามภารกิจหลักที่รับผิดชอบ การประเมิน/วิเคราะห การวางแผนจัดการแกไข/ปองกันความเสี่ยง และติดตามประเมินผล

2.3 การนําเครื่องมือ HA Trigger Tool ของหนวยงานจิตเวช ในสังกัดกรมสุขภาพจิต มาใชในการทบทวนศึกษาเหตุการณไมพึงประสงคจากกระบวนการดูแลบําบัดรักษาโดยทีมสหวิชาชีพ และนําขอมุลไปใชในการวางแผนบริหารความเสี่ยงทางคลินิก

2.4 การพัฒนาโปรแกรมระบบบริหารความเสี่ยง (RMIS) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรายงาน การรวบรวมขอมูล และการติดตามประเมินผลอยางตอเนื่อง โดยยังอยูระหวางขั้นตอนการพัฒนา และเริ่มทดลองใชในศูนยพัฒนาคุณภาพ และวางแผนที่จะขยายผลลงสูทีม และหนวยงานในปงบประมาณตอไป

3. สงเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพบริการใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน HA ฉบับใหม เกณฑตติยภูมิ และเกณฑ Excellence

3.1.การจัดกิจกรรมอบรม/ประชุมเชิงปฏิบัติเร่ืองแนวทางการประเมินตนเองในระดับทีมและหนวยงานตามเกณฑมาตรฐาน HA ฉบับใหม การใชเครื่องมือ Trigger Tool การพัฒนาคุณภาพระบบงานที่สําคัญ และการปรับปรุงคูมือ/เอกสารคุณภาพของสถาบันฯ

3.2 การรับเยี่ยมประเมินหรือใหคําปรึกษาตามเกณฑมาตรฐานตติยภูม จากหนวยงานในสังกัด กรมสุขภาพจิต

Page 51: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

51

3.3 การสงผลงานคุณภาพเขารวมนําเสนอในเวทีการประชุมวิชาการของหนวยงานภายนอก 3.3.1 การประชุมงานมหกรรมคุณภาพประจําป 2552 ของสมาคมสงเสริมคุณภาพแหง

ประเทศไทย มีผลงานที่ผานการคัดเลือกเขารวมนําเสนอจํานวน 1 เร่ือง คือ การพัฒนารถเข็นนั่งจํากัดพฤติกรรมผูปวยจิตเวช

3.3.2 การประชุม HA National Forum คร้ังที่10 มีผลงานที่ไดรับคัดเลือกใหนําเสนอดวย บอรดนิทรรศการจํานวน 5 เร่ือง คือ 1) การพัฒนาระบบชวยชีวิตผานวิกฤตดวยโทรศัพท 2) การพัฒนาระบบบริการนิติจิตเวชหลังจําหนายสูเรือนจํา 3) การบําบัดผูปวยสุราที่มีอาการทางจิตดวยอริยสัจ 4 4) การพิทักษสิทธิของผูตองขังที่ปวยดวยโรคจิตเวชเชิงรุก: การเชื่อมรอยตะเข็บระหวางผูปวย ผูดูแล ผูบําบัดรักษา และศาล 5) พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551: ผลผลิตของการทํางานแบบไรรอยตะเข็บ เพื่อการคุมครองสิทธิของผูมีความผิดปกติทางจิตและสังคม

Page 52: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

52

ภาพกิจกรรม : การดําเนินโครงการพัฒนาคุณภาพ ปงบประมาณ 2552

การสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรูเร่ืองการพัฒนาคุณภาพทีม/ระบบงานที่สําคัญตามแนวทางมาตรฐานฉบับใหม ณ โรงแรมอาราญานาภูพิมานรีสอรท อ.ปากชอง

จ.นครราชสีมา

การประชุมรับเยี่ยมประเมินและใหคําปรึกษาตามเกณฑมาตรฐานสถานบริการตติยภูม ิจากหนวยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต

การนําเสนอผลงานฝายบอรดนิทรรศการในการประชุมวิชาการ HA NATIONAL FORUM คร้ังที่ 10

ประชุมสาธิตการทดลองใชโปรแกรม RMIS ในการรายงานอุบัติการณความเสี่ยง

Page 53: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

53

• การพัฒนาดานงานจิตเวชชุมชน สถาบันฯ ไดมีการดําเนินโครงการ/กิจกรรมที่ขยายผลลงสูเครือขาย/ชุมชน ใน และรวมกับสปสช.

ในการดําเนินกิจกรรมเพื่อการดูแลสงเสริมสุขภาพจิตประชาชน โดยมีกิจกรรมที่สําคัญ ดังนี้ 1. โครงการเตรียมความพรอมญาติในการดูแลผูปวยท่ีบาน จัดกิจกรรมทุกบายวันอังคาร

สัปดาหที่ 1 และ 3 ของเดือน รวม 24 คร้ัง มีญาติเขารวมกิจกรรม 639 คน วัตถุประสงค

- เพื่อใหญาติมีความรู ความเขาใจและมีทักษะในการดูแลผูปวยเมื่อกลับบาน - เพื่อใหผูปวยอยูรวมกับญาติอยางมีความสุข รวมมือกับญาติในการดูแลตนเอง

2. โครงการพัฒนารวมกับสมาคมเพื่อผูบกพรองทางจิต 2.1 โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนําเครือขายญาติผูปวยจิตเวช จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดสมุทรสาคร

วัตถุประสงค - เพื่อสงเสริมการจัดตั้งชมรมเพื่อผูบกพรองทางจิตและนําไปสูการจัดตั้งสภาคนพิการทุกประเภท ประจําจังหวัด - เพื่อสงเสริมใหผูปวย / ญาติผูปวยและชุมชน ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณซ่ึงกันและกัน รูสภาพปญหาและระบบบริการการรักษาผูปวยจิตเวชในปจจุบัน - เพื่อสงเสริมใหผูปวย / ญาติผูปวยและชุมชน มีความรูและความเขาใจในการเขาถึงสิทธิประโยชน ตาง ๆ จากภาครัฐ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูบกพรองทางจิต 2.2 โครงการคายครอบครัวเพื่อสรางเสริมทักษะและสนับสนุนการดํารงชีวิตของผูปวยทางจติใจในครอบครัว 4 จังหวัด จังหวัดประจวบคีรีขันธ ราชบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม

วัตถุประสงค - เพื่อสนับสนุนใหญาติมีทักษะในการดํารงชีวิตรวมกันกับผูปวยทางจิตในครอบครัวอยางมีคุณภาพที่ดี

3. โครงการหนวยสุขภาพจิตอาสา กัลยาณราชนครินทร เพื่อถวายเปนพระราชกุศลแดสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณณิวัฒนา กรมหลวงสงขลาราชนครินทร 3.1 ออกหนวยเดือน ตุลาคม 51–มีนาคม 2552 ณ พุทธมณฑล สํานักงานเขตทวีวัฒนา กรมสุขภาพจิต โรงเรียนสตรีวิทยา 3 มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ตลาดนัดธนบุรี (สนามหลวง 2) โรงเรียนวัดศรีสําราญ โรงเรียนกาญจนาภิเษกราชวิทยาลัย นครปฐม โรงเรียนรัตนโกสิทรสมโภชบวรนิเวศศาลายา เทศบาลกระทุมลม โรงทวีวัฒนา(ทีปงกรวิทยาพัฒน)รวมผูเขารับบริการ 16,588 คน ทําแบบประเมิน 8,834 คน พบผูมีความผิดปกติ 1,166 คน ตองรับการบําบัดดวยยา 54 คน

Page 54: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

54

วัตถุประสงค

- เพื่อใหประชาชนในชุมชนไดมีโอกาสเขาถึงบริการสุขภาพจิต แบบองครวม และ ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี - เพื่อถวายเปนพระราชกุศล แดสมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร 3.2 ออกหนวยเยี่ยมบาน “รักษใจหวงใยถึงบาน” เดือน กุมภาพันธ – กรกฎาคม 2552 รวม 160 ราย ใหความชวยเหลือผูปวยและครอบครัวที่มีภาวะซึมเศราและจิตเวช ชวยใหประชาชนเขาถึงระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช

วัตถุประสงค - เพื่อเยี่ยมบานผูปวยที่ไมสามารถมารับบริการดานสุขภาพจิตและจิตเวชตามหนวยบริการได

4. โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช จังหวัดราชบุรี โรงพยาบาลเขารวมโครงการ ทั้งสิ้น 10 โรงพยาบาล ไดแก โรงพยาบาลราชบุรี โรงพยาบาลบานโปง โรงพยาบาลโพธาราม โรงพยาบาลดําเนินสะดวก โรงเพยาบาลเจ็ดเสมียน โรงพยาบาลจอมบึง โรงพยาบาลสวนผึ้ง โรงพยาบาลบางแพ โรงพยาบาลปากทอ โรงพยาบาลวัดเพลง

วัตถุประสงค - เพื่อพัฒนามาตรฐานงานสุขภาพจิตและจิตเวช สําหรับโรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และศูนยสุขภาพชุมชน จ.ราชบุรี - เพื่อนํามาตรฐานงานสุขภาพจิตและจิตเวชสูการปฏิบัติในเครือขายพื้นที่รับผิดชอบ

5. โครงการอบรมการดําเนินงานเชิงระบบในการดูแลเฝาระวังโรคซึมเศราระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการที่ 4 และ 5 ในจังหวัด สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ ราชบุรี กาญจนบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี มีผูเขารับการอบรม 1,695 คน ประกอบดวย แพทย 42 คน พยาบาล 727 คน อสม. 926 คน

วัตถุประสงค - เพื่อศึกษาประสิทธิผลของระบบดูแลเฝาระวังโรคซึมเศราในการลดความชุกของโรคเมื่อนําไป ปฏิบัติใน จังหวัดสมุทรสงคราม - เพื่อพัฒนาผูปฏิบัติในการดําเนินงานการดูแลเฝาระวังโรคซึมเศรา ใหมีความ สามารถเปนพี่เล้ียง ติดตาม แนะนําชวยเหลือ และเปนที่ปรึกษาแกผูปฏิบัติงานในพื้นที่ตอไป

สรุป ผลอัตราการเขาถึงบริการ ซึมเศราเพิ่มขึ้น คิดเปนรอยละ 48.09

Page 55: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

55

ภาพกิจกรรม : โครงการพัฒนาความกาวหนางานจิตเวชชุมชน ปงบประมาณ 2552

โครงการใหความรูญาติผูปวยจิตเวชทุกวันอังคารสัปดาหที่ 1 และ 3 ของเดอืน

โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนําเครือขายญาติผูปวยจติเวช จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดสมุทรสาคร

โครงการคายครอบครัวเพื่อสรางเสริมทักษะและสนับสนุนการดาํรงชีวิตของผูปวยทางจิตใจ ในครอบครัว 4 จังหวัด จังหวดัประจวบคีรีขันธ ราชบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม

Page 56: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

56

ภาพกิจกรรม : โครงการพัฒนาความกาวหนางานจิตเวชชุมชน ปงบประมาณ 2552 ตอ

โครงการหนวยสุขภาพจติอาสา กัลยาณราชนครินทร เพื่อถวายเปนพระราชกุศล แดสมเด็จพระเจา พีน่างเธอ เจาฟากัลยาณณวิัฒนา กรมหลวงสงขลาราชนครินทร

โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช จังหวดัราชบุรี

โครงการอบรมการดําเนนิงานเชิงระบบในการดูแลเฝาระวังโรคซึมเศราระดับจังหวดั ในเขตตรวจราชการที่ 4 และ 5

Page 57: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

57

• การพัฒนาวิชาการและจัดการความรู กลุมพัฒนาวิชาการและจัดการความความรูดําเนินงานตามหนาที่ความรับผิดชอบและมีการดําเนินงานที่สําคัญ ดังนี้ การสนับสนุนและผลักดันใหหนวยงานมีการพัฒนางานวิชาการโดยการใหความรูในโครงการอบรมปฏิบัติการบูรณาการขับเคลื่อน R2R พัฒนาคนและงาน คร้ังที่ 1: CQI KM R2R วันที่ 26 –27 กุมภาพันธ 2552 ผูเขารับการอบรม จํานวน 63 คน เปนบุคลากรสหวิชาชีพที่เปนแกนนําการพัฒนาคุณภาพของหนวยงานตาง ๆ ใหความรูเร่ืองการจัดการความรู การพัฒนาเทคโนโลยี และมาตรฐานการพัฒนาเทคโนโลยีของกรมสุขภาพจิต ซ่ึงชวยใหบุคลากรเกิดความเขาใจในการบูรณาการเครื่องมือการพัฒนาคุณภาพงานประจํา หลังจากการใหความรูการบูรณาการเครื่องมือตางๆ กลุมพัฒนาวิชาการและจัดการความรูปรับกระบวนการเรียนรูของบุคลากรโดยการสนับสนุน และเปนพี่เล้ียงการพัฒนาวิชาการใหการปรึกษาเปนรายกลุมและรายบุคคล ใหความรูเร่ืองการรอยเรียงผลงานวิชาการ สนับสนุนการสงผลงานออกไปนําเสนอในระดับกรมและระดับกระทรวง ซ่ึงมีผลงานที่ไดรับคัดเลือกใหนําเสนอในระดับกรมและกระทรวงดังตอไปนี้

1. รายงานวจิัยเร่ือง ความเห็นของจิตแพทยตอการดําเนินคดีอาญา

(Influence of forensic psychiatric reports to criminal procedure)

2. รายงานวิจัยเร่ือง การพัฒนามาตรฐานการพยาบาลนิติจิตเวช

(The Development of Forensic Psychiatric Nursing Standards in Psychiatric Hospital )

3. รายงานวิจัยเร่ือง การประเมินความเสี่ยงตอการเกิดพฤติกรรมรุนแรงในผูปวยนิติจิตเวช

ความเชื่อมั่น ความเที่ยงตรงเชิงทํานาย และพัฒนาคูมือวิธีการใช

(Violence Risk Assessment Scheme in Forensic Psychiatric Patients: Reliability, Predictive

Validity, and Developed Usage Manual)

ผลการดําเนินการที่สําคัญคือเรื่องการประเมินคุณภาพงานวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีที่ดาํเนนิ การ

ในป 2551จํานวน 7 เร่ือง โดยประเมินตามมาตรฐานกรมสุขภาพจิตพบวาผลงานการวิจัยและเทคโนโลยีที่ผาน

มาตรฐาน 4 ขั้นตอน (ขั้นตอนที่ 1 มีการวิเคราะหความตองการหรือความจําเปนในการพัฒนา ขั้นตอนที่ 2 มี

การกําหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนาตนแบบนวัตกรรม ฯขั้นตอนที่ 3 มีการออก แบบและจัดทําตนแบบ

นวัตกรรม ฯ ขั้นตอนที่ 4 มีการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการของตนแบบ) จํานวน 4 เร่ือง

Page 58: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

58

ดานการจัดการความรู ปงบประมาณพ.ศ.2552 ผูอํานวยการสถาบันกัลยาณราชนครินทรมีนโยบายใหมีการจัดการความรูสําคัญในกระบวนการหลักของกลุม/ฝาย/ศูนย เพื่อสนับสนุนไปสูการเปนองคกรแหงการเรียนรูโดยจัดทําเปนตัวช้ีวัดสําคัญ (KPI)ในคํารับรองการปฏิบัติราชการของหัวหนาหนวย ในขณะที่กลุมพัฒนาวิชาการและจัดการความรูสนับสนุนและเปน Facilitator ใหหนวยงานตาง ๆ เปนรายหนวยงาน ทั้งแบบกลุมและบุคคล ใหมีความรูความเขาใจในการทําแผนการจัดการความรูตามแบบวัดของกระบวนการเรียนรู (change management process :CPM) การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู เชนการเขียนเรื่องเลา การสนทนากลุม ผลลัพธคือทุกกลุม / ฝาย /ศูนย มีการจัดการความรูตามแผน สวนการจัดการความรูระดับสถาบันกลุมพัฒนาความเปนเลิศดานนิติจิตเวชดําเนินการจัดการความรูเร่ืองการพัฒนากลุมเตรียมความพรอมในการตอสูคดีของผูปวยนิติจิตเวช โดยกลุมพัฒนาวิชาการเปนพี่เล้ียงในการจัดการความรู สนับสนุนการสงผลงานการจัดการความรูและเรื่องเลานําเสนอในระดับกรม สําหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรูในระดับสถาบัน กลุมพัฒนาวิชาการและจัดการความรูรวมกับศูนยพัฒนาคุณภาพดําเนินการจัดเวทีใหหนวยงานตางๆนําเสนอผลงานการจัดการความรูจํานวน 8 เร่ือง และการพัฒนาตอเนื่อง จํานวน 12 เร่ือง

ดานการพัฒนาคลังความรู การดําเนินการพัฒนาคลังความรูดําเนินการโดยคณะกรรมการพัฒนาคลังความรูประกอบดวย

คณะกรรมการจากกลุมพัฒนาความเปนเลิศดานนิติจิตเวช ดานวิกฤตสุขภาพจิต และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงอยูในขั้นตอนการออกแบบคลังความรูและทํางานคูขนานไปกับรวบรวมขอมูลวิชาการและเทคโนโลยี

Page 59: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

59

ภาพกิจกรรม : การพัฒนาวิชาการและจัดการความรู และวิจยั ปงบประมาณ 2552

:                                  

ตัวแทนสถาบันกัลยาณราชนครินทร รับประกาศรวมงานตลาดนัด

คณะกรรมการทํากรอบการทํา KM

กลุมเตรียมความพรอมในการตอสูคดีของผูปวยนิติจิตเวช

CoP การพัฒนาแนวทางการปฏิบัติการ

CoP แนวทางการปฏิบัติการดูแลผูปวยรับประทานยาเสี่ยงความรู

รวมนําเสนอผลงาน KM ในงานตลาดนัดความรู กรมสุขภาพจิตครั้งท่ี 4

บุคลากรสถาบนักัลยาณราชนครินทร รับรางวัลเรื่องเลา รองอันดับ 2

Page 60: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

60

http://www.galyainstitute.com

Webpage KM Intranet สถาบันกัลยาณราชนครินทร

Page 61: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

61

• การพัฒนางานบริการฟนฟูสมรรถภาพ กลุมงานฟนฟูสมรรถภาพไดดําเนินการพัฒนาตนแบบทีมบริการสุขภาพจิตสถาบันกัลยาณราชนครินทรตามแนวคิด Recovery Model ซ่ึงเปนแนวคิดที่ไดรับการยอมรับอยางมากในวงการสุขภาพจิต โดยตั้งอยูบนพื้นฐานแนวคิดที่วาการตัดสินใจในการใหหรือรับบริการ ไมไดอยูที่ใครคนใดคนหนึ่ง แตอยูที่การตัดสินใจรวมกันของทุกฝาย ทั้งผูใหบริการ ผูรับบริการ รวมทั้งหนวยงานสวนสนับสนุนที่มีผลเกี่ยวของตอผลการใหบริการ ซ่ึงสอดคลองกับรูปแบบการดูแลผูปวยจิตเวชของสถาบันกัลยาณราชนครินทร ดังนั้นจึงไดนํากรอบแนวคิด Recovery Model มาใชในกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู ถอดองคความรู รวบรวมไวเปนหมวดหมู และสรางเปนตนแบบทีมบริการสุขภาพจิตสถาบันกัลยาณราชนครินทรตามแนวคิด Recovery Model สําหรับใหผูปฏิบัติงานดานการดูแลผูปวยของสถาบันกัลยาณราชนครินทรนําไปใชเปนในการปฏิบัติงาน ซ่ึงถือเปนการพัฒนาคุณภาพงานบริการฟนฟูสมรรถภาพใหมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น

เนื่องจากกระบวนการจัดการความรูถือเปนสวนสําคัญในการไดรูปแบบบริการตางๆ ที่ชัดเจน ดังนั้นกลุมงานฟนฟูสมรรถภาพจึงไดมีการบูรณาการกระบวนการจัดการความรูมาใชในงานประจํา โดยกําหนดใหการประเมินผลทุกโครงการหรือกิจกรรมสําหรับผูปวยตองมีผลงานการจัดการความรูเปนรูปเลมที่ชัดเจน เพื่อใหสามารถนําไปเปนแนวทางปฏิบัติตอไป หรือเผยแพรแกหนวยงานอื่นๆ ที่มีลักษณะการดําเนินงานที่ใกลเคียงกันสามารถนําไปใชได ซ่ึงไดดําเนินการแลวเสร็จจํานวน 2 โครงการ คือ

1) โครงการกิจกรรมลอยกระทงสําหรับผูปวยป 2551 2) โครงการสานสายใยรัก ป 4 (วันแม) ทั้งนี้ในสวนที่เหลืออีกหลายโครงการยังอยูในระหวาง

กระบวนการถอดองคความรูเพื่อรวบรวมสรุปเปนรูปเลม นอกจากนี้กลุมงานฟนฟูสมรรถภาพยังไดรวบรวมกิจกรรมการจัดประกวดผลงานผลิตภัณฑที่ผลิต

โดยผูที่อยูกับปญหาสุขภาพจิต เพื่อใชในการรณรงคโครงการพัฒนาเทคโนโลยีส่ือสารประชาสัมพันธ เพื่อคืนชีวิตใหมและสรางกําลังใจใหผูมีปญหาสุขภาพจิต ประจําป 2551 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนการสรางสรรคผลงานผลิตภัณฑรวมถึงสิ่งประดิษฐ ที่แสดงถึงศักยภาพทางดานความคิดสรางสรรคและงานฝมือของผูที่อยูกับปญหาสุขภาพจิต โดยกลุมงานฟนฟูสมรรถภาพไดสงผลงานผลิตภัณฑของผูปวยเขาประกวด 3 ผลงาน และไดรับรางวัล 2 ผลงาน คือผลงานถาดเอนกประสงค ไดรับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 เงินรางวัล 12,000 บาท และผลงานบานทรงไทย ไดรับรางวัลชมเชย เงินรางวัล 1,000 บาท ซ่ึงเปนการสรางกําลังใจและความภาคภูมิใหกับผูปวยและเปนกําลังใจสําหรับเจาหนาที่ในการปฏิบัติงานดานการฟนฟูสมรรถภาพตอไป

Page 62: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

62

โครงการสานสายใยรัก (วนัแม) สําหรับผูปวย

โครงการประเพณีวนัสงกรานตสําหรับผูปวย

โครงการประเพณีลอยกระทงสําหรับผูปวย

ทานผูอํานวยการสถาบันกัลยาณราชนครินทร รวมแสดงควมยินดแีละถายภาพรวมกับ ผูรับรางวัลชนะเลิศผลิตภัณฑฝมือผูปวย

อธิบดีกรมสุขภาพจิต มอบรางวัลชนะเลิศ ผลิตภัณฑฝมอืผูปวย

ภาพกิจกรรม : การพัฒนางานบริการฟนฟสูมรรถภาพ ประจํา ปงบประมาณ 2552

• • • • • • • • • • •

Page 63: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

63

4.3 งานวิจัยท่ีเสร็จสมบรูณ

ลําดับ กิจกรรม

เจาของผลงาน

1 2 1 2

3 4

ผลงานวิจัย ความเหน็ของจิตแพทยตอการดําเนินคดีอาญา

การประเมินความเสี่ยงตอการเกิดพฤติกรรมรุนแรงในผูปวยนิต ิ จิตเวช : ความเชื่อมั่นความเที่ยงตรงเชิงทํานาย และพัฒนาคูมือ วิธีการใช Violence Risk Assessment Scheme in Forensic Psychiatric Patients : Reliability, Predictive Validity, and the Developed Usage Manual การพัฒนางานประจําใหเปนวิจัย R2R ตนแบบทีมบรกิารสุขภาพจิตสถาบันกัลยาณราชนครินทรตามแนวคดิ Recovery Model ขาวฆาตกรรมในสื่อออนไลน นวัตกรรมรถเข็นนั่งสบายไรกังวล Innovation Wheelchairs sit comfort and not anxious การศึกษาความสนใจในการทํากิจกรรมของผูปวยใน สถาบันกัลยาณราชนครินทร

วนัทดา ถมคาพาณิชย และคณะ ณัฐวฒุิ อรินทร อินทิรา อะตะมะ และคณะ ลัดดา จีรกุล สุพัตรา สกุลพันธุ

กรรณิกา พรมเถื่อน

หมายเหตุ : รายละเอียดบทคัดยองานวิจยัอยูที่ภาคผนวก

Page 64: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

64

4.4 งานผลิตและเผยแพรวิชาการ

ลําดับ

งานวิชาการที่ผลิตและเผยแพร หนวยนับ จํานวน เจาของผลงาน

กิจกรรมพัฒนาและจัดพิมพสื่อเทคโนโลยี หนังสือ/คูมือ 1 ผลิตพ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551 เลม 20,000 กลุมพัฒนาความเปนเลิศ

เฉพาะทางดานนิติจิตเวช 2 จัดทําวารสารสถาบันกัลยาณราชนครินทร เลม 400 กลุมพัฒนาความเปนเลิศ

เฉพาะทางดานนิติจิตเวช 3 จัดทําวารสารเผยแพรมาตรฐานการพยาบาลนิติจิตเวช

เลม 100 กลุมการพยาบาล

4 ผลิตคูมือการใหบริการปรึกษาสายดวน

สุขภาพจิต เลม 500 กลุมพัฒนาความเปนเลิศ

เฉพาะดานวิกฤตสุขภาพจิต 5 ผลิตคูมือสําหรับผูปฏิบัติชวยเหลือประชาชนใน

ภาวะวกิฤต เลม 2,000 กลุมพัฒนาความเปนเลิศ

เฉพาะดานวิกฤตสุขภาพจติ

4 จัดซื้อตําราทางวิชาการ

- ตออายุสมาชิกนิตยสาร - ตออายุวารสารภาษาไทย - ตออายุวารสารภาษาอังกฤษ

ฉบับ ฉบับ ฉบับ

2 9 5

ฝายพัฒนาทรพัยากรบุคคล

ผลิตโปสเตอร 1 ขั้นตอนการนาํบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตสง

บําบัดรักษาตาม พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551 แผน 3,000 กลุมพัฒนาความเปนเลิศ

เฉพาะทางดานนิติจิตเวช 2 ผลิตโปสเตอรประชาสัมพันธสายดวน

สุขภาพจิต 1323 แผน 10,000 กลุมพัฒนาความเปนเลิศ

เฉพาะดานวิกฤตสุขภาพจิต

Page 65: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

65

ลําดับ

งานวิชาการที่ผลิตและเผยแพร หนวยนับ จํานวน เจาของผลงาน

ผลิตแผนพับ

1 ผลิตแผนพับประชาสัมพันธโครงการสายดวนสุขภาพจิต

เร่ือง/แผน 5/20,000 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะดานวกิฤตสุขภาพจิต

2 ผลิตแผนพับประชาสัมพันธดานวกิฤต

สุขภาพจิต เร่ือง/แผน 3/30,000 กลุมพัฒนาความเปนเลิศ

เฉพาะดานวกิฤตสุขภาพจิต

รายการวิทยุชมุชน 1 รายการวิทยุชุมชนมูลนิธิสถาบันกัลยาณราช

นครินทร FM 98.75 MHz คร้ัง

240 ฝายประชาสัมพันธ รวมกบับุคลากร สหวิชาชีพของสถาบันกัลยาณราชนครินทร

Page 66: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

66

สวนที่ 5 สรุปผลการดําเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร

โครงการ/กิจกรรมตามแผนยุทธศาสตร ตัวช้ีวัดผลการดําเนนิการ บทคัดยองานวิจัย ประมวลภาพโครงการ/กิจกรรม

Page 67: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

67

5.1 โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบติัการ ปงบประมาณ 2552

ยุทธศาสตรท่ี 1: พัฒนาบริการสุขภาพจิตและนิติจิตเวชใหมีคุณภาพมาตรฐานอยางตอเนื่อง

ลําดับ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ผลการดําเนินการ

(เชิงคณุภาพ) งบประมาณ หนวยท่ีรับผิดชอบ

1 การใหบริการคําปรึกษาในและนอกสถานบริการ 1323

ทุกรายที่ขอรับบริการ

มีผูใชบริการปรึกษาจํานวน13,283 ราย

- กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางวิกฤตสุขภาพจิต

2 การใหบริการคําปรึกษานอกสถานบริการ MCC และการบริการออกหนวยเคลื่อนที ่(Mobile Team MCC)

27 คร้ัง ใหบริการเพื่อดูแลผูไดรับผลกระทบทางดานจิตใจในเขตพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 27 คร้ัง

90,000 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางวิกฤตสุขภาพจิต

3 โครงการอบรม Psychotic Trigger Tool กับการนําไปใชประโยชนในการพัฒนา

3.1 กิจกรรม อบรมเรื่อง "Trigger Tool" กับการนําไปใชประโยชนในการพัฒนา

คร้ัง/คน 1/60

ผูเขาอบรมพึงพอใจมากที่สุด 40% พึงพอใจมาก 50%

14,000 ศูนยพัฒนาคุณภาพ

3.2 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทําแนวทางการปองกันเหตกุารณไมพึงประสงคเพื่อความปลอดภัยในการดูแลผูปวย

คร้ัง/คน 1/30

ไดแผนการจัดทําแนวทางการปองกนัเหตกุารณไมพึงประสงคที่พบบอย ไดแก แนวทางการดูแลผูปวยจิตเวชทีม่ีภาวะโรครวมทางกาย ฯ

11,000 ศูนยพัฒนาคุณภาพ

4 โครงการสัมมนาเตรียมความพรอมรับการเยี่ยมสํารวจเพือ่การรับรองมาตรฐานคุณภาพระบบ HA : การพัฒนาทีมและระบบงานตามแนวทางมาตรฐานฉบับใหม แบงเปน 2 กิจกรรม

Page 68: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

68

ยุทธศาสตรท่ี 1: พัฒนาบริการสุขภาพจิตและนิติจิตเวชใหมีคุณภาพมาตรฐานอยางตอเนื่อง (ตอ)

ลําดับ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ผลการดําเนินการ

(เชิงคณุภาพ) งบประมาณ หนวยท่ีรับผิดชอบ

4.1 การประชุมทบทวนการดําเนินงานพัฒนาคุณภาพของทีม/ระบบงานที่สําคัญตามแนวทางมาตรฐานฉบับใหม

คร้ัง/คน 1/50

ทีมมีความรูความเขาใจถึงแนวทางในการเตรียมความพรอมรับการเยี่ยมสํารวจ และพึงพอใจมาก-มากที่สุด รอยละ 80 (21 มกราคม 2552) จํานวน 50 คน

7,500 ศูนยพัฒนาคุณภาพ

4.2 ศึกษาดูงานการพัฒนาคุณภาพทีมและระบบงาน ณ โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร และการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรูเร่ืองการพฒันาคุณภาพของทมีและระบบ รพ.ตามแนวทางมาตรฐานฉบับใหม

คร้ัง/คน 1/50

(22-23 ม.ค.2552) จํานวน 50 คน

109,092 ศูนยพัฒนาคุณภาพ

5 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ "การใชมาตรฐานในแนวคิดใหมกับการพัฒนาคุณภาพงานและองคกร"

ผูเขารวมประชุมมีความรูความเขาใจเรื่องการใชมาตรฐานคุณภาพ HA ฉบับใหม

5.1 การประชุมการเชื่อมโยงประสิทธิผลการปฏิบัติงานดวยระบบบริหารความเสี่ยง

50 คน (16 มีนาคม 2552) 50 คน/คร้ัง

9,500 ศูนยพัฒนาคุณภาพ

5.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การใชมาตรฐานใหมกับการประเมินตนเองเพื่อการพัฒนาคุณภาพองคกร

คน/คร้ัง 70/1

ผูเขารวมประชมุมีระดับความพึงพอใจมากที่สุด 17.2% พึงพอใจมาก 65.5% (1-3 เมษายน 2552) 200 คน/คร้ัง

35,500 ศูนยพัฒนาคุณภาพ

Page 69: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

69

ยุทธศาสตรท่ี 1: พัฒนาบรกิารสุขภาพจติและนิติจิตเวชใหมีคุณภาพมาตรฐานอยางตอเนื่อง (ตอ)

ลําดับ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ผลการดําเนินการ(เชิง

คุณภาพ) งบประมาณ หนวยท่ีรับผิดชอบ

5.3 ประชุม เร่ือง เตรียมรับการประเมินและใหคําปรึกษาตามแนวทางมาตรฐานสถานบริการทางจิตเวชระดบัตติยภูม ิจากหนวยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต

คน/คร้ัง 50/1

ทีมผูประเมินมีความเหน็วาสถาบันฯ มี Best practice 1. มาตรฐานการดูแลผูปวยนิติจิตเวชครบวงจร 2. กระบวนการดูแลรักษาผูปวยตาม พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551 (12-มิ.ย.2552) 200 คน/ คร้ัง

29,000 ศูนยพัฒนาคุณภาพ

5.4 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ "การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทําคูมือ/เอกสารคุณภาพขององคกร โครงการที่กรมไมไดจดัสรรงบประมาณให

90 คน มีการทบทวนปรับปรุงเอกสารคุณภาพระเบียบ ปฏิบัติในสถาบันฯ (22-24 ก.ค 2552)

จํานวน 80 คน

40,500 ศูนยพัฒนาคุณภาพ

6 กิจกรรมชมรมผูสูงอายุ 30 คน ผูสูงอายุไดทํากิจกรรมรวมกัน และมคีวามรูในการวางแผนใชชีวติใหมีความสุข

40,000 ชมรมผูสูงอายุ

7 โครงการพัฒนาทักษะการดแูลผูปวยจิตเวชระยะวิกฤตฉุกเฉนิสําหรับผูชวยเหลือคนไข

คร้ัง/คน 1/44

ผูเขารวมประชุมไดแลก เปลี่ยนเรียนรูและฝกทักษะในการดแูลผูปวยจติเวช (19-21 พฤศจิกายน 2551)

154,700 กลุมการพยาบาล

8 โครงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรทางการพยาบาลในการดูแลผูปวยจิตเวชระยะวิกฤตฉุกเฉิน

คน/รุน 84/2

พยาบาลวิชาชพี 100% ไดรับการพัฒนาสมรรถนะในการดแูลผูปวยวิกฤตฉุกเฉิน 11 มิถุนายน 52 และ 18 มิถุนายน 2552

10,500 กลุมการพยาบาล

Page 70: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

70

ยุทธศาสตรท่ี 1: พัฒนาบริการสุขภาพจิตและนิติจิตเวชใหมีคุณภาพมาตรฐานอยางตอเนื่อง (ตอ)

ลําดับ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ผลการดําเนินการ

(เชิงคณุภาพ) งบประมาณ หนวยท่ีรับผิดชอบ

9 โครงการวันพยาบาลแหงชาติและวนัทันตสาธารณสุขแหงชาติ

คร้ัง/คน 1/50

- ผูเขารวมโครงการ 97.1% มีความพึงพอใจไดรับความรู - ผูเขารับการอบรมมีความรูและมีทักษะในการเปนผูนิเทศ 20-21 ตุลาคม 51 จํานวน 113 คน

3,000 กลุมการพยาบาล

10 โครงการพัฒนาทักษะทางสังคมผูปวยโรงพยาบาลกลางวัน

รุน/คน 4/100

ผูปวยไดเรียนรูทักษะทางสังคมจากการไปทัศนศึกษานอกสถานที่

7,230 โรงพยาบาลกลางวัน

11 โครงการปฏิบัติธรรมนอกสถานที่ ณ สถานที่ปฏิบัติจริง

รุน/ราย 2/30

ผูปวยไดฝกปฏิบัติการเจริญสติ 23-25 กุมภาพนัธ 2552

5,450 โรงพยาบาลกลางวัน

12 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการแนวทางการพฒันาการบําบดัผูปวยรูปแบบโรงพยาบาลกลางวัน

54 ราย 12 มีนาคม 2552 15,000 โรงพยาบาลกลางวัน

13 โครงการกิจกรรมประเพณีลอยกระทงสําหรับผูปวย ป 2551

คร้ัง/คน 1/50

ผูปวยและเจาหนาที่ของสถาบันฯ รวมกิจกรรมตามประเพณีของไทย 13 พฤศจิกายน 2551

10,000 กลุมงานอาชีวะบําบัด

14 โครงการกิจกรรมกีฬาสีและงานปใหม สําหรับผูปวย ป 2552

คร้ัง/คน 1/250

ผูปวยของสถาบันฯ ไดรวมกิจกรรมสนุกสนานรื่นเริงแสดงความสามารถ 25 ธันวาคม 2551

42,424 กลุมงานอาชีวะบําบัด

Page 71: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

71

ยุทธศาสตรท่ี 1: พัฒนาบริการสุขภาพจิตและนิติจิตเวชใหมีคุณภาพมาตรฐานอยางตอเนื่อง (ตอ)

ลําดับ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ผลการดําเนินการ(เชิง

คุณภาพ) งบประมาณ

หนวยท่ีรับผิดชอบ

15 โครงการกิจกรรมประเพณีสงกรานต สําหรับ ผูปวย ป 2552

200 คน ผูปวยของสถาบันฯ และญาติไดเขารวม กิจกรรมตามประเพณีของไทย สรางสัมพันธภาพทีด่ีระหวางผูปวยและญาติ 9 เมษายน 2552

13,020 กลุมงานอาชีวะบําบัด

16 โครงการบําบัดฟนฟูผูปวยจติเวชดวยไมดอกไมประดับ

30 ราย ผูปวยรูจักพันธุไมและพืชสมุนไพรเรียนรูการดูแลบํารุงรักษาพันธุไมและรูจักการนําสมุนไพร กุมภาพนัธ - สิงหาคม 2552

30,000 กลุมงานฟนฟูสมรรถภาพ

17 โครงการพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับผูปวยจติเวชในสถาบันกัลยาณราชนครนิทร

30 ราย ผูปวยเกดิความคิดจินตนาการฝกการประสานสายตากับมือรูจักแสวงหาวัสดุมาสรางงานศิลปะ กุมภาพนัธ - สิงหาคม 2552

10,000 กลุมงานฟนฟูสมรรถภาพ

18 โครงการกิจกรรมวันแมสําหรับผูปวยป 2552

100 คน ผูปวยที่เขารวมกิจกรรมวนัแมไดแสดงออกถึงความรักความกตัญูทีม่ีตอมารดาเพิ่มความ รูความเขาใจของญาติที่มีตอผูปวยคนเขารวมกิจกรรม 97 คน วันที่ 11 สิงหาคม 2552

10,000 กลุมงานฟนฟูสมรรถภาพ

19 สัมมนาแนวทางการสงเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตผูสูงอายุ

200 คน ผูเขารวมสัมมนา 190 คน วันที่ 17-18 กนัยายน 2552

205,600 ฝายทรัพยากรบุคคล

20 โครงการรับตรวจเยีย่มการพัฒนาระบบบริหาร

50 คน วันที่ 30 กรกฎาคม 2552 7,500 ฝายทรัพยากรบุคคล

Page 72: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

72

ยุทธศาสตรท่ี 1 พัฒนาบริการสุขภาพจิตและนิติจิตเวชใหมีคุณภาพมาตรฐานอยางตอเนื่อง (ตอ)

ลําดับ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ผลการดําเนินการ(เชิง

คุณภาพ) งบประมาณ

หนวยท่ีรับผิดชอบ

21 สัมมนาประจําปชุมชนและญาติผูปวยเพื่อนชวยเพื่อน สถาบันกัลยาณราชนครินทร

100 คน ผูปวย ญาติและคณะกรรม การชมรมไดแลกเปลี่ยนความคิดเหน็รวมกัน จํานวนผูเขารวมกิจกรรม 102 คน

30,000 งานจิตเวชชุมชน

22 เตรียมความพรอมญาติในการดูแลผูปวยที่บาน

คร้ัง/ราย 24/600

ผูปวยและญาติไดพบกับทีมสหวิชาชีพไดรับ ทราบขอมูลสําคัญในการดูแลผูปวยที่บาน จาํนวน 6 คร้ัง/177 ราย

50,000 งานจิตเวชชุมชน

23 เตรียมความพรอมญาติในการดูแลผูปวยที่บาน โดยชมรมเพื่อนชวยเพื่อน

คร้ัง/ราย 6/150

ผูปวย ญาติ ทีม ไดพูดคุยถึงปญหาในการดูแลผูปวย และประเมินภาวะซึมเศราของญาติ จํานวน 6 คร้ัง/152 ราย

12,450 งานบริการจิตเวชชุมชน

24 เตรียมความพรอมญาติในการดูแลผูปวยที่บาน โดยชมรมเพื่อนชวยเพื่อน

คร้ัง/ราย 6/150

ผูปวย ญาติ ทีม ไดรวมแลกเปลี่ยนถึงปญหาในการดูแลผูปวย และประเมินภาวะซึมเศราของญาติ จํานวน 6 คร้ัง/152 ราย (ก.ค.-ก.ย. 52)

12,450 งานบริการจิตเวชชุมชน

25 โครงการสัมมนาวิชาการ เร่ือง การจัดการความเสี่ยงโรคแทรกซอนทางกายในผูปวยจิตเวช

300 คน ผูเขารวมสัมมนาไดรับความรูในการดูแลผู ปวยที่มีโรครวมทางกาย Hypertension ได และมีระดับความพึงพอใจมากรอยละ 81.35

50,100 กลุมงานพัฒนาวิชาการและจัดการความรู

26 ออกอากาศทางสถานีวิทยุชุมขน FM 98.75 MHz บทความสุขภาพจิต

ตลอดป ประชาชนในชุมชนไดมีความรูความเขาใจเกีย่วการดูแลสุขภาพจติของตนเองและบุคคลในครอบครัว

ฝายประชาสัมพันธ

Page 73: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

73

ยุทธศาสตรท่ี 2: พัฒนาเครือขายบรกิารนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิต

ลําดับ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ผลการดําเนินการ(เชิง

คุณภาพ) งบประมาณ

หนวยท่ีรับผิดชอบ

1 โครงการพัฒนาเกณฑการใหบริการวิกฤตสุขภาพจิตสําหรับเครือขายสังกัดกรมสุขภาพจิต

40 คน ไดแลกเปลีย่นเรียนรูประสบการณในการดําเนินงานวกิฤตฯ และ- จัดทําเกณฑการใหบริการเครือขายในแนวทางเดียวกัน

200,000 กลุมพัฒนาความเปนเลิศ เฉพาะทางวิกฤตสุขภาพจิต

2 ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทําโปรแกรมการใหคําปรึกษา กรณีพยายามฆาตวัตาย

รุน/คน 1/60

ไดจัดทําแนวทางการชวยเหลือบุคคลที่พยายามทํารายตนเองที่ปรึกษาผานโทรศัพทของสถาบันกัลยาณราชนครินทร

63,700 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางวิกฤตสุขภาพจิต

3 โครงการประชุมปฏิบัติการจัดทําแนวปฏบิัติชวยเหลือประชาชนในภาวะวกิฤตของสถาบันฯ

30 คน ไดจัดทําแนวปฏิบัติการชวยเหลือในสถาน- การณวิกฤตสุขภาพจิตสําหรับสถาบันกัลยาณราชนครินทร จํานวนผูเขาประชุม 40 คน วันที่ 13-14 สิงหาคม 2552

146,000 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางวิกฤตสุขภาพจิต

4 จัดทําวารสารสถาบันกัลยาณราชนครินทร

400 เลม บุคลากรมสีมรรถนะดานการเขียนผลงานวิชาการและไดเผยแพรผลงานวิจยัเทคโนโลยีของสถาบันฯ สูสังคม ธ.ค. 2551 - ก.ย. 2552

29,960 กลุมพัฒนาความเปนเลิศ เฉพาะทางนิติจิตเวช

5 โครงการสรางเสริมสุขภาพใจเครือขายจิตเวชตามหลักคุณธรรมและจริยธรรม

คร้ัง/คน 1/350

ผูเขารวมไดรับความรูเร่ืองการสงเสริมสุขภาพ จิต และมีโอกาสแลกเปลีย่นความคิดเห็น วันที ่18-19 ตุลาคม 2551

351,800 ฝายบริหารทั่วไป

Page 74: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

74

ยุทธศาสตรท่ี 3: พัฒนาองคความรูเทคโนโลยี ดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิต

ลําดับ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ผลการดําเนินการ(เชิง

คุณภาพ) งบประมาณ

หนวยท่ีรับผิดชอบ

1 โครงการอบรมปฏิบัติการปฐมพยาบาลผูมีปญหาสุขภาพจติ

50 คน ผูเขาอบรมมีความรูและทักษะในการประเมินความเสี่ยงและการปฐมพยาบาลผูมีปญหาสุขภาพจิต วนัที่ 18-21 มกราคม 2552

500,000 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางวิกฤตสุขภาพจิต

2 โครงการประชุมอนุกรรมการศึกษาผลักดันความเสมอภาคในการรักษาพยาบาลของผูมีความผิดปกตทิางจิต

30 คน รวมกันศกึษาผลักดันความเสมอภาคในการรักษาพยาบาลผูมีความผิดปกติทางจติ วันที่ 2 มิถุนายน 2552

12,085 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางนิติจิตเวช

3 อบรมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การใชคูมือแบบประเมินความเสี่ยงตอการเกิดพฤตกิรรมรุนแรงในผูปวยจิตเวช (HCR-20)

คน/รุน 80/2

ผูเขาอบรมไดรับความรูเขาใจในการใชคูมือเพื่อการประเมินผูปวยจิตเวช วันที่ 1-2 มิถุนายน 2552

12,480 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางนิติจิตเวช

4 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การจัดทาํหลักสูตรเฉพาะทางวิชาชีพของทีมสหวิชาชพีดานนิตจิิตเวช

คร้ัง/คน 2/71

ผูเขาอบรมมีความรู ความเขาใจถึงแนวทางในการจัดทําหลักสูตรเฉพาะทางวิชาชีพ วันที่ 30 มิถุนายน 2552วันที่ 24 กันยายน 2552

12,423 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางนิติจิตเวช

5 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การจัดทาํมาตรฐานบริการนิติจิตเวชที่เปนเลิศ

30 คน ไดรวมทบทวนและจดัทํา รางมาตรฐานบริการนิติจิตเวชที่เปนเลิศฉบับปรับปรุงวันที่ 10 กรกฎาคม 2552

6,250 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางนิติจิตเวช

6 โครงการเผยแพรมาตรฐานการพยาบาลนิติจติเวช

100 เลม เผยแพรมาตรฐานการพยาบาลนิติจติเวช มิถุนายน 2552

16,900 กลุมการพยาบาล

Page 75: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

75

ยุทธศาสตรท่ี 3: พัฒนาองคความรูเทคโนโลยี ดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิต (ตอ)

ลําดับ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ผลการดําเนินการ(เชิง

คุณภาพ) งบประมาณ

หนวยท่ีรับผิดชอบ

7 โครงการอบรมพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต

30 คน ผูเขารับการอบรมผานการประเมินตามเกณฑ เกรดเฉลี่ย = 2.96 มีความรูและทักษะในการปฏิบัติ

52,245 กลุมการพยาบาล

8 โครงการเสริมสรางความรูเร่ือง พ.ร.บ.ขอมูลขาวสาร: สิทธิที่ประชาชนควรรู

70 คน ผูเขารับการอบรมมีความรูเร่ือง พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารเพิ่มขึ้น วันที่ 27 กรกฎาคม 2552

3,500 ฝายบริหารทั่วไป

9 โครงการผสมผสานการแพทยแผนไทยเพื่อผลิตผูชวยแพทยแผนไทยสูระบบสาธารณสุขของรัฐหลักสูตร 372 ช่ัวโมง

14 คน นักบําบัดสามารถใหการวินิจฉยัและบําบัดโรคตามมาตรฐานการนวดแพทยแผนไทย

319,800 ฝายบริหารทั่วไป / คณะกรรมการแพทย

10 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การแพทยแผนไทย : เวรกรรมไทยเพื่อผูสูงอายุ

60 คน ผูเขารวมประชุมสามารถจัดทําแนวทางการใหบริการดแูลสุขภาพ วันที่ 4 กุมภาพันธ 2552

13,800 คลินิกแพทยแผนไทยฝายบริหารทั่วไป

11 โครงการศึกษาดูงานการผลิตพืชสมุนไพรเกษตร อินทรียครบวงจรตามภมูิปญญาชาวบาน

24 คน ผูเขารวมโครงการมีความรูเขาใจเกี่ยวกับการใชสมุทรไพรเพื่อการรักษาและสามารถดําเนินการจัดทําศูนย วันที่ 28 กุมภาพันธ 2552

17,200 คลินิกแพทยแผนไทย ฝายบริหารทั่วไป

Page 76: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

76

ยุทธศาสตรท่ี 4: พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกรใหมีประสิทธิภาพ

ลําดับ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ผลการดําเนินการ(เชิง

คุณภาพ) งบประมาณ

หนวยท่ีรับผิดชอบ

1 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับการบังคับใชกฎหมาย

8 คร้ัง

1.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551(คร้ังที่ 1)

คร้ังที่ 1 - ผูเขารวมประชุมมีความพึงพอใจ รอยละ 84.5 วันที่ 3 ตุลาคม 2551

17,500 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางนิติจิตเวช

1.2 ประชุมเชงิปฏิบัติการเรื่องการบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 (คร้ังที่ 2)

คร้ังที่ 2 - ผูเขารวมประชุมมีความพึงพอใจรอยละ 61.4 จํานวน 66 คน \วันที่ 6-7 มกราคม 2552

118,350 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางนิติจิตเวช

1.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องบังคับใชพระ ราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 (คร้ังที่ 3)

คร้ังที่ 3 - ผูเขารวมประชุมมีความพึงพอใจรอยละ 61 จํานวน 61 คน วันที่ 19-20 มกราคม 2552

174,999 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางนิติจิตเวช

1.4 ประชุมเชงิปฏิบัติการเรื่องการบังคับใช พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551(คร้ังที่ 4)

คร้ังที่ 4 - ผูเขารวมประชุมมีความพึงพอใจรอยละ 57 จํานวน 60 คน วันที ่3-4 กุมภาพนัธ 2552

197,129 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางนิติจิตเวช

1.5 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 (คร้ังที่ 5)

คร้ังที่ 5 - ผูเขารวมประชุมมีความพึงพอใจรอยละ 61จํานวน 55 คนวันที่ 10-11 กุมภาพนัธ2552

108,800 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางนิติจิตเวช

1.6 ประชุมเชงิปฏิบัติการเรือ่งการบงัคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจติ พ.ศ.2551(คร้ังที่ 6)

คร้ังที่ 6 - ผูเขารวมประชุมมีความพึงพอใจ รอยละ 61 จํานวน 54 คน วันที่ 24-25 กุมภาพันธ 2552

69,100 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางนิติจิตเวช

1.7 ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 (คร้ังที่ 7)

คร้ังที่ 7 - ผูเขารวมประชุมมีความพึงพอใจ รอยละ 87.51 จํานวน 77 คน วันที่ 9 มีนาคม 2552

13,000 กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางนิติจิตเวช

Page 77: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

77

ยุทธศาสตรท่ี 4: พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกรใหมีประสิทธิภาพ

ลําดับ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ผลการดําเนินการ(เชิง

คุณภาพ) งบประมาณ

หนวยท่ีรับผิดชอบ

2 โครงการบรรยายธรรม 10 คน - ผูเขารวมฟงการบรรยายไดรับความรูการฝกกายและจิตใหคดิด ีพูดดี และทําดีวนัที2่7 ตุลาคม 2551 จํานวน 7 คน

กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางนิติจิตเวช

3 โครงการคิดดีทําดี 15 คน - ผูเขารวมโครงการไดรับการฝกกาย - ใจใหรูเทาทนัความคิดใหคิดดี-ทําดี จํานวน 15 คน วันที่ 15-17 ธันวาคม 2551

ชมรมจริยธรรม

4 โครงการอบรมพัฒนาจิตใจใสบริสุทธิ์"บริหารใจดวยสต"ิ

30 คน - ผูเขารวมโครงการไดรับการฝกจิตใจใหมีสติ วันที่ 20-21 มีนาคม 2552

16,200 ชมรมจริยธรรม

5 โครงการปรับกระบวนทัศนบุคลากรพยาบาลเพื่อการบริการที่เปนเลิศ (รุนที่ 1)

รุน/คน 2/40

ผูเขาอบรมมีความรูและเขาใจระบบราชการยุคใหม วันที่ 26-28 พฤศจิกายน 2551

149,103 กลุมการพยาบาล

6 โครงการปรับกระบวนทัศนบุคลากรพยาบาลเพื่อการบริการที่เปนเลิศ (รุนที ่2)

รุน/คน 2/40

- ผูเขาอบรมมีความรูและเขาใจระบบราชการยุคใหม

149,000 กลุมการพยาบาล

Page 78: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

78

5.2 ผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร ประจําปงบประมาณ 2553

ตัวช้ีวดั หนวยนับ

ผูรับผิดชอบ

Baseline เปาหมาย ผลการ

ดําเนินงาน ป 2552 2550 2551

ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาบริการสุขภาพจิตและนิติจิตเวชใหมีคุณภาพมาตรฐานอยางตอเนื่อง 1.1 ระดับความสําเร็จของสถาบันในการพัฒนาตามขั้นตอนการรับรองคุณภาพมาตรฐาน HA

ระดับ ศูนย HA 5 5 5 ขั้นที่ 5

1.2 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑมาตรฐานสถานบริการจิตเวชระดับตติยภูม ิ

ระดับ - - 5 ขั้นที่ 5

1.3 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาตามเกณฑมาตรฐานบริการจิตเวชเฉพาะทาง(ดานนติิจิตเวช)

ระดับ กลุมฯนิติจิตเวช

- 1 2 ขั้นที่ 2

1.4 รอยละของผูปวยโรคซึมเศราเขาถึงบริการเพิ่มขึ้น

รอยละ กลุมจิตเวชชุมชน

- - 5 48.23

1.5 รอยละของระดับความพงึพอใจของผูรับบริการ (เฉลี่ยรวมผูปวยนอกและผูปวยใน)

รอยละ กลุมการพยาบาล

85 (98.10)

90 (80.69)

85 นอก 89.59 , ใน 86.71

(รวม 88.02) 1.6 อัตราการตายของผูปวยในโรงพยาบาล อัตรา กลุมบริการ

ทางการแพทย

0 (0.003)

0 (0.003)

0 0.03

1.7 ระดับความสําเร็จของรอยละเฉลี่ยถวงน้ําหนกัในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการใหบริการ

ระดับ กลุมการพยาบาล

- - 5 5

1.8 รอยละของผูปวยจิตเวชที่ไดรับการวินิจฉยัแลวตองเขารับเปนผูปวยในไดรับการรักษาครบถวน

รอยละ กลุมบริการทาง

การแพทย

100 (100)

100 (100)

100 100

1.9 รอยละของผูปวยสารเสพติดไดรับการจําหนายแบบครบตามเกณฑ

รอยละ กลุมการพยาบาล

- (82.49)

≥65 (65.22)

93.5 96.12

Page 79: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

79

ตัวช้ีวดั หนวยนับ

ผูรับผิดชอบ

Baseline เปาหมาย ผลการ

ดําเนินงาน ป 2552 2550 2551

ยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาเครือขายบริการนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิตใหมีคุณภาพ 2.1 รอยละของผูปวยในจิตเวชไมกลับมารักษาซ้ําภายใน 90 วัน

รอยละ กลุมบริการทาง

การแพทย

- - 84 97.27

2.2 ระดับความสําเร็จในการพัฒนา/ประสานงานกับองคกรนอกระบบบริการสาธารณสุข

ระดับ กลุมจิตเวชชุมชน

- - 5 ขั้นที่ 5

2.3 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาเกณฑการใหบริการวิกฤตสุขภาพจิตสําหรับเครือขายสถานบริการสาธารณสุข

ระดับ กลุมวิกฤตสุขภาพจิต

- - 5 ขั้นที่ 3

2.4 ระดับความสําเร็จในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจติเวชในสถานบริการสาธารณสุขในจังหวดัเปาหมายตามแนวทางการพฒันาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช

ระดับ กลุมจิตเวชชุมชน

- - 5 ขั้นที่ 5

2.5 ระดับความสําเร็จของการพัฒนารูปแบบ/ ชองทางการถายทอดความรูเร่ืองพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551

ระดับ กลุมฯนิติจิตเวช

- - 5 ขั้นที่ 5

ยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาองคความรู เทคโนโลยีดานนิติจิตเวชและวิกฤตสุขภาพจิต 3.1 รอยละขององคความรูและเทคโนโลยีที่สําเร็จตามเปาหมาย

รอยละ กลุมพัฒนาวิชาการ

- - 90 55.55

3.2 ระดับความสําเร็จของการจัดทําหลักสูตร TOT เร่ืองการดูแลชวยเหลือประชาชนในภาวะวกิฤต

ระดับ กลุมฯวิกฤตสุขภาพจิต

- - 5 ขั้นที่ 3

3.3 ระดับความสําเร็จของการจัดทําและบริหารคลังความรูทางวิชาการดานนิติจิตเวชและวกิฤตสุขภาพจิต

ระดับ วิกฤตสุขภาพจิต นิติจิตเวิช

- - 5 ขั้นที่ 3

3.4 รอยละขององคความรูและเทคโนโลยีที่ผานเกณฑ

รอยละ กลุมพัฒนาวิชาการ

- - 30 42.85

Page 80: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

80

ตัวช้ีวัด หนวยนับ

ผูรับผิดชอบ Baseline

เปาหมาย ผลการ

ดําเนินงาน ป 2552 2550 2551

ยุทธศาสตรที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกรใหมีประสิทธิภาพ 4.1 ระดับความสําเร็จในการบริหารจัดการนโยบายและยุทธศาสตรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามเกณฑ

ระดับ ศูนยนโยบายฯ

5 (4.50) 5 (5.00) 5 ขั้นที่ 5

4.2 ระดับความสําเร็จในการดําเนินงานตามมาตรการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ

ระดับ กลุมอํานวยการ

5 5 5 ขั้นที ่5

4.3 ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและรวมตรวจสอบการปฏิบัติราชการ

ระดับ กลุมอํานวยการ

- - 5 ขั้นที ่5

4.4 อัตราสวนสินทรัพยสภาพคลอง - Querrent Ratio - Quick Ratio

อัตรา

กลุมอํานวยการ

4.74 3.96

4.22 3.73

3 3

6.56 7.33

4.5 รอยละของรายไดที่เพิ่มขึ้น รอยละ กลุมอํานวยการ

48.4 29.82 12 4.38

4.6 อัตราการเบิกจายงบประมาณในภาพรวมของหนวยงาน

กลุมอํานวยการ

- - 100 100

4.7 ระดับความสําเร็จของคุณภาพการบริหารจัดการขอมูลสารสนเทศของหนวยงาน

ระดับ ฝายแผนงานฯ

5 5 5 ขั้นที ่5

4.8 ระดับความสําเร็จของการบังคับใช พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551

ระดับ กลุมฯนิติจิตเวช

- 4 5 ขั้นที ่5

4.9 ระดับความสําเร็จในการจัดการความรู ระดับ กลุมพัฒนาวิชาการ

5 5 5 ขั้นที ่5

4.10 คาเฉลี่ยระดับความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจในการทํางานของบุคลากร

คาเฉลี่ย กลุมอํานวยการ

- 4.67 5.57 4.74

4.11 ระดับความสําเร็จในการบริหาร HR Scorecard

ระดับ กลุมอํานวยการ

- - 5 ขั้นที ่5

4.12 ระดับความสําเร็จในการดําเนินงานตามมาตรการประหยัดพลังงาน

ระดับ กลุมอํานวยการ

- - 5 ขั้นที ่5

4.13 ระดับความสําเร็จในการบริหารความเสี่ยง ระดับ ศูนย HA 5 4.75 5 ขั้นที่ 5

Page 81: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

81

สวนที่ 6 ภาคผนวก

บทคัดยองานวิจยั ประมวลภาพกจิกรรม

Page 82: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

82

บทคัดยอ

ความเห็นของจิตแพทยตอการดําเนินคดีอาญา วนัทดา ถมคาพาณิชย, พ.บ. ดวงตา ไกรภสัสรพงษ, พ.บ.

บทคัดยอ

วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลของการวินิจฉัยทางนิตจิิตเวชดานความรูผิดชอบ ความจําเปนตองบําบัดรักษา และภาวะอันตรายตอการดําเนนิคดีอาญา วัสดุและวิธีการ กลุมตวัอยางเปนผูปวยนิตจิติเวชของสถาบันกลัยาณราชนครินทรซ่ึงเปนผูตองหาหรือจําเลยในคดีอาญาระหวางปงบประมาณ 2543-2550 จํานวน 301 คน โดยรวบรวมขอมลูจากเวชระเบยีนและผลการดําเนนิคดใีนกระบวนการยุติธรรม วิเคราะหขอมูลดวยสถิติเชิงพรรณนา

ผล ผูกระทําผิดในคดีอาญาที่ถูกสงมาเพื่อการวินจิฉัยทางนิติจิตเวชสวนใหญเปนเพศชาย มีอายุระหวาง 21-40 ป เปนโสด เรียนจบชัน้ประถมศึกษา ไมมีอาชีพ และสวนใหญศาลเปนผูนําสง กระทําความผิดในคดฆีามากที่สุด สวนใหญไดรับการวินจิฉยัวาเปนโรคจติ มีอาการหลงผิดและประสาทหลอนขณะประกอบคดี จิตแพทยระบุวาไมรูผิดชอบ 125 ราย (รอยละ41.5) ระบุความจําเปนตองยําบัดรักษา 143 ราย (รอยละ 47.5) และระบุภาวะอนัตราย 42 ราย (รอยละ 14.0) ในจํานวนนีส้ิ้นสุดคดีในชัน้พนักงานสอบสวน 5 ราย (รอยละ 1.7) และสิ้นสุดในชั้นพนักงานอัยการ 22 ราย (รอยละ 7.3) ในชัน้ศาลประเด็นเรื่องความรูผิดชอบตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 65 ศาลเห็นดวยกับความเหน็ของจิตแพทยรอยละ 49.3 สวนประเด็นเรื่องการบังคับรักษาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 48 และ 56 ศาลไมมีคําสั่งรักษาตามความเหน็ของแพทยรวมกันถึงรอยละ 64.1

สรุป การวนิิจฉัยทางนิติจิตเวชดานความรูผิดชอบ ความจําเปนตองบาํบัดรักษา และภาวะอนัตรายของจิตแพทยยังมีผลนอยตอการดําเนินคดีอาญาในกระบวนการยุติธรรมซึ่งทําใหเกดิการตระหนกัในการพัฒนางานดานนิติจิตเวชตอไป

คําสําคัญ : การดําเนินคดีอาญา ความเห็นของจิตแพทย

Page 83: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

83

การประเมินความเสี่ยงตอการเกิดพฤติกรรมรุนแรงในผูปวยนิติจิตเวช

: ความเชือ่มั่นความเที่ยงตรงเชิงทํานาย และพัฒนาคูมือวิธีการใช Violence Risk Assessment Scheme in Forensic Psychiatric Patients : Reliability, Predictive Validity, and the Developed Usage Manual

นายณัฐวุฒิ อรินทร และคณะ บทคัดยอ

การประเมินความเสี่ยงตอการเกิดพฤติกรรมรุนแรงในผูปวยนิติจิตเวชโดยใชประสบการณทางคลินิกหรือความรูสึก (clinical judgment) ของนักวิชาชีพสุขภาพจิตนั้นมีโอกาสผิดพลาดสูงและขาดความนาเชื่อถือ แตการประเมินอยางมีโครงสราง (structure) จะเปนหลักฐานในการยืนยันที่ดีโดยเฉพาะในกรณีที่เปนคําสั่งจากศาล เชน วิธีการเพื่อความปลอดภัยประมวลกฎหมายอาญามาตรา 48 ซ่ึงปจจุบันศาลตองการความโปรงใสและตรวจสอบขอมูลได อีกทั้งยังเปนการรองรับการดําเนินงานภายใต พ.ร.บ. สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ดังนั้นผูวิจัยจึงไดพัฒนาแบบประเมินความเสี่ยงตอการเกิดพฤติกรรมรุนแรงฉบับภาษาไทย ที่มีแนวคิดจาก HCR-20 : Assessing Risk for Violence ของ Webster และคณะ (1997) ซ่ึงมีโครงสรางการประเมินปจจัยความเสี่ยงครอบคลุม 3 ดาน คือ ประวัติที่เกี่ยวของกับความรุนแรงในอดีต อาการทางคลินิกในปจจุบัน และการบริหารความเสี่ยงในอนาคต มีวัตถุประสงคเพื่อหาความเชื่อมั่น ความเที่ยงตรงเชิงทํานาย โดยศึกษากับผูปวยในสถาบันกัลยาณราชนครินทร 100 คน ในป 2550 วิเคราะหขอมูลดวยสถิติ Cohen Kappa, Independent t–test, Cronbach Alpha, ROC curve analysis จากนั้นไดพัฒนาคูมือวิธีการใชโดยอางอิงจากคูมือตนฉบับเปนหลัก ตรวจสอบความถูกตองเชิงเนื้อหาและปรับปรุงใหงายตอการนําไปใชจริงเหมาะสมกับสังคม ไทยโดยจิตแพทยและนักจิตวิทยาคลินิกจํานวน 4 ทาน จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแกนักวิชาชีพสุขภาพจิตของสถาบันกัลยาณราชนครินทร 2 รุนๆ ละ 2 วัน รวม 90คนในป2552

เนื้อหาประกอบดวยแนวคิดทฤษฎี วิธีการประเมินและวิธีการใหคะแนน ประเมินผลการอบรมจากแบบประเมินความพึงพอใจ ผลการฝกปฏิบัติ (กรณีศึกษา จําลองสถานการณ ) และจากขอเสนอแนะ

สรุปผลการวิจัย วิเคราะห index of inter-rater reliability ไดคา Kappa เทากับ .72 ซ่ึงอยูในระดับยอมรับไดพบวาทุกขอมีคาอํานาจจําแนกรายขอดี (Item Discrimination, P< .05) คาสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นเชิงสอดคลองภายในทั้งฉบับอยูในเกณฑดี(α = .86)ความเที่ยงตรงเชิงทํานายที่พิจารณาจากคา AUC เทากับ .95 ซ่ึงมีความถูกตองสูง (high accuracy) โดยมีคาความไว (Sensitivity) และคาความจําเพาะ(Specificity) อยูที่ .96 และ .77 ตามลําดับ ไดจุดตัดที่เหมาะสมที่ 21 คะแนน จากการอบรมเชิงปฏิบัติการผูเขาอบรมมีความพึงพอใจในระดับมากจนถึงมากที่สุดรอยละ96.4และไดรับความรูที่มีประโยชนอยูในระดับ

Page 84: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

84

มากถึงมากที่สุดรอยละ100 ผูเขาฝกอบรมรูวิธีการประเมินการใหคะแนน สามารถใหคะแนนไมแตกตางกับผูเชี่ยวชาญ (inter-rater agreement) มีทักษะและสามารถพิจารณาระดับความเสี่ยงไดอยางมีความเปนวิชาชีพ (professional) ผูเขาอบรมใหความเห็นวาไดความรู มีประโยชนทั้งตอการบําบัดรักษาเฝาระวัง และสามารถประยุกตใชเพื่อประเมินผูปวยจิตเวชกอนจําหนายได แตบางประเด็นตองปรับปรุงใหชัดเจน

ขอเสนอแนะ แนวคิดการประเมินนี้เกิดขึ้นดวยการวิเคราะหจากความคาดหวังของกระบวนการยุติธรรมที่ตองการหลักฐานเชิงประจักษเพื่อประกอบการพิจารณาผูปวยนิติจิตเวชตามวิธีการเพื่อความปลอดภัยประมวลกฎหมายอาญามาตร 48 ขณะเดียวกันนักวิชาชีพตองการพัฒนาและเพิ่มทักษะเฉพาะทางดานจิตเวชและนิติจิตเวช (professional mental health แนวคิดการประเมินนี้มีใชกันอยางแพรหลายในตางประเทศ และผลการศึกษาของไทยพบวาแบบประเมินมีประสิทธิภาพที่ดีหลังการอบรมคูมือวิธีการใชไดปรับปรุงเพื่อใหสมบูรณมากยิ่งขึ้นซึ่งสถาบันกัลยาณราชนครินทรในฐานะผูรับ ผิดชอบความเปนเลิศเฉพาะทางดานนิติจิตเวชจะจัดฝกอบรมเพื่อเผยแพรแกบุคลากรในโรงพยาบาลจิตเวชอื่นๆ ของกรมสุขภาพจิตตอไป

คําสําคัญ : แบบประเมินความเสี่ยง พฤติกรรมรุนแรง นิติจิตเวช HCR-20

Page 85: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

85

การพัฒนางานประจําใหเปนงานวิจัย R to R ตนแบบทีมบริการสุขภาพจติสถาบันกัลยาณราชนครินทรตามแนวคดิ Recovery Model

อินทิรา อะตะมะ และคณะ บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้เปนการศกึษาการนําตนแบบทีมบริการสุขภาพจิต สถาบันกัลยาณราชนครินทรที่สรางขึ้นจากแนวคิดRecovery Model ในโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการจัดการความรูดานการฟนฟูสมรรถภาพผูปวยจิตเวชแบบองครวม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการนําตนแบบทีมบริการสุขภาพจิตสถาบันกัลปยาณราชนครินทรตามแนวคดิ Recovery Model ที่ไดจากการประชุมเชิงปฏิบัตกิารเรื่องการจดัการความรูผูปวยจิตเวชแบบองครวมไปใชในการปฏิบัติงาน กลุมเปาหมายคือบุคลากรทีมสหวิชาชีพปฏิบัติ งานดานการดูแลผูปวยของสถาบันกัลยาณราชนครินทรและบุคลากรสวนสนับสนุนบริการที่เกี่ยวของ ซ่ึงไดเขารวม และไมไดเขารวมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการจัดการความรูดานการฟนฟูสมรรถภาพผูปวยจิตเวชแบบองครวม จํานวน 60 คน วิธีการคือใหกลุมเปาหมายตอบแบบสอบถามความคิดเหน็เกีย่วกบัตนแบบทีมบริการสุขภาพจติสถาบันกัลยาณราชนครินทรตามแนวคิดRecovery Model ที่สรางขึ้นจากแนวคิด Recovery Model ในโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ ภายหลังการประชุม 6 เดือน ผลการศึกษา ตนแบบทีมบริการสุขภาพจิตสถาบันกัลยาณราชนครินทร พบวา ในสวนระดับของผูรับบริการ จํานวน 19 ขอ การใหคะแนนระดับความสําคัญเรียงลําดับความถี่คะแนนจากมากไปนอยไดแก ความสําคัญระดับมาก จํานวน11ขอ ความสําคัญระดับมากที่สุด จํานวน 7 ขอ และความสําคัญระดับนอยที่สุด จํานวน 1 ขอ สวนความถี่ในการปฏิบัติเรียงลําดับความถี่คะแนนจากมากไปนอยไดแก บอย จํานวน 9 ขอ บอยมากและปานกลาง จํานวน 4 ขอ เทากัน และไมเคย จํานวน 2 ขอ ในสวนระดับของผูใหบริการ จํานวน 18 ขอ การใหคะแนนระดับความสําคัญเรียงลําดับความถี่คะแนนจากมากไปนอยไดแก ความสําคัญระดับมาก จํานวน 13 ขอ ความสําคัญระดับมากที่สุด จํานวน 5 ขอ และความสําคัญระดับปานกลาง จํานวน 2 ขอ สวนความถี่ในการปฏิบัติเรียงลําดับความถี่คะแนนจากมากไปนอยไดแก ปานกลาง จํานวน 9 ขอ บอย จํานวน 5 ขอ และบอยมาก จํานวน2 ขอ และในสวนระดับของผูบริหาร จํานวน 6 ขอ การใหคะแนนระดับความสําคัญเรียงลําดับความถี่คะแนนจากมากไปนอยไดแก ความสําคัญระดับมาก จํานวน 5 ขอ และความสําคัญระดับปานกลาง จํานวน 1 ขอ สวนความถี่ในการปฏิบัติอยูในระดับปานกลางทุกขอ สรุป ไดวาตนแบบทีมบริการสุขภาพจิต สถาบันกัลยาณราชนครินทรตามแนวคิด Recovery Model ที่จัดทําขึ้นนี้นาจะสามารถใชเปนแนวทางในการปฏิบัติของบุคลากรในแตละสวนงานได เนื่องจากโดยภาพรวมแลวผูตอบแบบสอบถามสวนใหญใหความสําคัญกับบทบาทและความตองการของแตละหัวขออยูในระดับมากไปจนถึงมากที่สุดยกเวนระดับผูบริหารซึ่งสวนใหญใหความสําคัญอยูในปานกลางไปจนถึงระดับมาก ซ่ึงควรมีการปรับปรุงหัวขอที่สอดคลองกับบทบาทและความตองการมากขึ้น และในสวนของความถี่ในการปฏิบัตินั้นในทุกระดับสวนใหญยังปฏิบัติไดในระดับปานกลาง ซ่ึงควรไดรับการสนับสนุนใหนําไปสูการปฏิบัติที่มากขึ้น เพื่อใหเกิดผลลัพธที่ดีตอการใหบริการฟนฟูสมรรถภาพผูปวยจิตเวช สถาบันกัลยาณราชนครินทรตอไป

Page 86: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

86

การพัฒนางานประจําใหเปนงานวิจัย R to R ขาวฆาตกรรมในสื่อออนไลน

ลัดดา จีรกุล บทคัดยอ

ชวงระยะเวลาที่ผานมาจะพบปรากฏการณการนําเสนอขาวเกี่ยวกับความรุนแรงในครอบครัวและสังคมทางสื่อมวลชนมากขึ้น กอใหเกิดกระแสวิพากษวิจารณตางๆ ตามมามากมาย ท้ังจากมุมมองของภาครัฐ นักวิชาการหรือแมแตสื่อเอง ตลอดจนไดมีการกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและการคุมครองทางสังคมในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่๙ เกี่ยวกับการปฏิรูปสื่อท้ังนี้เพื่อสนับสนุนการพัฒนาคนและสังคมไปในทิศทางที่เหมาะสม ในการศึกษาวิจัยเรื่องนี้จึงสนใจศึกษารูปแบบการนําเสนอขาวฆาตกรรมในสื่อออนไลนวามีรูปแบบอยางไรที่สงผลกระทบตอการเรียนรูและการกระตุนความรูสึกกลัว-วิตกกังวล การวิจัยเรื่องนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจขอมูลยอนหลังโดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการนําเสนอขาวฆาตกรรมในสื่อออนไลนท่ีมีผลกระทบตอการเรียนรูและการกระตุนความกลัว-วิตกกังวล โดยศึกษาวิเคราะหแบงเปนสองสวนหลัก ไดแก

1. สวนท่ีเกี่ยวกับเหตุการณหรือการกอเหตุ โดยเก็บขอมูลขาวฆาตกรรมที่นําเสนอเนื้อหาที่ระบุข้ันตอน-วิธีการ-สาเหตุของการกอเหตุ , ขาวท่ีระบุเพียงเนื้อหาเกี่ยวกับสาเหตุหรือปญหาในการกอเหตุและขาวท่ีระบุข้ันตอน-วิธีการของการกอเหตุแตไมระบุสาเหตุท่ีชัดเจน

2. สวนที่เกี่ยวกับเหยื่อท่ีถูกฆาตกรรม โดยเก็บขอมูลขาวฆาตกรรมที่นําเสนอเนื้อหาที่มีการบรรยายสภาพศพและระบุสาเหตุของการเสียชีวิต , ขาวท่ีบรรยายสภาพศพแตไมไดระบุสาเหตุของการเสียชีวิตและขาวท่ีไมไดบรรยายสภาพศพ โดยทําการเก็บรวบรวมขอมูลขาวฆาตกรรมจากสื่อขาวสดออนไลนตั้งแตเดือนมกราคม 2550 - ธันวาคม 2550 จํานวนทั้งสิ้น 415 ขาว ใชแบบบันทึกที่ผูวิจัยสรางขึ้นเอง ผลการศึกษาพบวา จากจํานวนขาวฆาตกรรมที่รวบรวมไดท้ังหมด 415 ขาว มีการนําเสนอเนื้อหาขาวท่ีระบุเกี่ยวกับขั้นตอน-วิธีการและสาเหตุของการกอเหตุจํานวนทั้งสิ้น 380 ขาว , ขาวท่ีมีการนําเสนอเพียงปญหาหรือสาเหตุท่ีนําไปสูการฆาตกรรมมีจํานวนทั้งสิ้น 25 ขาวและขาวท่ีระบุเกี่ยวกับขั้นตอน-วิธีการของการกอเหตุแตไมระบุสาเหตุท่ีแนชัดมีจํานวนทั้งสิ้น 10 ขาว สวนเนื้อหาเกี่ยวกับเหยื่อท่ีถูกฆาตกรรมนั้นพบวามีการบรรยายสภาพศพถูกฆาตกรรมและระบุสาเหตุของการเสียชีวิตจํานวนทั้งสิ้น 424 ขาว , ขาวท่ีมีการบรรยายสภาพศพแตไมระบุสาเหตุของการเสียชีวิตมีจํานวนทั้งสิ้น 84 ขาวและขาวท่ีไมระบุหรือบรรยายสภาพเหยื่อท่ีถูกฆาตกรรมมีจํานวนทั้งสิ้น 7 ขาว จะเห็นไดวาขาวฆาตกรรมที่นํามาศึกษานั้นมักจะเนนการนําเสนอเนื้อหาที่เกี่ยวกับรายละเอียดของเหตุการณการฆาตกรรมโดยเปนเนื้อหาที่ระบุถึงข้ันตอน-วิธีการลงมือกอเหตุและสาเหตุท่ีทําใหฆาตกรตัดสินใจกอเหตุและการบรรยายสภาพศพที่ถูกฆาตกรรมมักจะนําเสนอในรายละเอียดของสภาพเหยื่อท่ีถูกฆาตกรรม ซึ่งท้ังสองสวนนี้ลวนมีผลกระทบตอการเรียนรูและการกระตุนความกลัว-วิตกกังวลได ผลการศึกษานี้จะใชเปนแนวทางในการพิจารณาเลือกสื่อสําหรับผูอานไดและใชศึกษาสําหรับผูท่ีสนใจศึกษาเรื่องการเรียนรูและการกระตุนความกลัว-วิตกกังวลได ทําใหผูอานสามารถตัดสินใจเลือกสื่อไดงายข้ึน ผูปกครองสามารถแนะนําลูกหลานไดเปนการปองกันพฤติกรรมเลียนแบบความกาวราวรุนแรงหรือความกลัว-วิตกกังวลได รวมทั้งกอใหเกิดการตระหนักถึงปญหานี้รวมกันและผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอไปในอนาคต

Page 87: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

87

การพัฒนางานประจําใหเปนงานวิจัย R to R

นวัตกรรมรถเข็นนัง่สบายไรกังวล Innovation Wheelchairs sit comfort and not anxious

นางสุพัตรา สกุลพันธุ และคณะ

บทคัดยอ

2 ใน 3 ของผูปวยที่มารับบริการจิตเวชฉุกเฉิน มาดวยอาการกาวราว อาละวาด ควบคุมตนเองไมได จําเปนตองไดรับการชวยเหลือดวยการจํากัดพฤติกรรม เพื่อใหผูปวยสงบอยางรวดเร็ว และปลอดภัย เปนการปองกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นตอตัวผูปวย บุคคลอื่นหรือการทําลายทรัพยสิน แนวคิดสําคัญของการจํากัดพฤติกรรมผูปวยจิตเวชฉุกเฉินควรใชอุปกรณผูกมัดที่แข็งแรง มั่นคง สําหรับหนวยบริการจิตเวชฉุกเฉินของหนวยงานอื่นในสังกัดกรมสุขภาพจิตที่มีความพรอมดานสถานที่ ใชการจํากัดพฤติกรรมโดยการผูกยึดผูปวยนั่งกับเกาอี้ไมที่ยึดติดกับพื้นหอง แตสถาบันกัลยาณราชครินทร มีขอจํากัดดานสถานที่ และอัตรากําลังของบุคลากรที่จะใหการชวยเหลือผูปวยจิตเวชฉุกเฉินที่มีพฤติกรรมรุนแรงโดยใชวิธีผูกมัดผูปวยนอนบนเตียง ใหยาฉีดเพื่อสงบอาการ เมื่ออาการสงบจึงเคลื่อนยายเขาหอผูปวยโดยรถเข็นนั่ง ซ่ึงตองใชเวลาและมีหลายขั้นตอน หนวยบริการจิตเวชฉุกเฉินจึงคิดนวัตกรรมการบริการที่จะชวยใหผูปวยสบายใจ ไรกังวล ดวยการปรับใชรถเข็นนั่ง และผาผูกยึดในการจํากัดพฤติกรรม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อลดข้ันตอนและสามารถจํากัดพฤติกรรมผูปวยไดอยางสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย ปองกันการบาดเจ็บหรืออันตรายที่อาจเกิดขึ้นตอตัวผูปวย บุคคลอื่น ทรัพยสิน ลดความเสี่ยงตอการเกิดภาวะแทรกซอนตอผูปวยขณะจํากัดพฤติกรรม ลดความรุนแรงระหวางการเตรียมการบําบัดรักษา และสามารถเคลื่อนยายผูปวยเขาสูแผนกผูปวยในไดอยางตอเนื่องสะดวกรวดเร็วทั้งในและนอกเวลาราชการในขั้นตอนเดียว

วิธีการพัฒนาจากแนวคิดลดขั้นตอน ระยะเวลา สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย โดยการพัฒนาอุปกรณผูกมัด และรถเข็นนั่งเดิม ดังนี้ อุปกรณผูกยึดมือ เทา และรัดเอว เพิ่มการบุฟองน้ําในผาพันรอบขอมือ ขอเทา และเอว บริเวณสายรัดติดตีนตุกแก นําไปยึดติดกับรถเข็นนั่ง หลังการพัฒนานําไปทดลองใชกับกลุมตัวอยางซึ่งเปนผูปวยพฤติกรรมรุนแรงที่มารับ บริการจิตเวชฉุกเฉิน ระยะเวลา 6 เดือน ผลการศึกษา

ดานผูรับบริการ จากการติดตามผลลัพธในผูปวย จํานวน 210 ราย พบวา ไดรับการชวยเหลือภายใน 1นาที และไมเกิดภาวะแทรกซอนจากการผูกมัด

ดานบุคลากรผูใหบริการ พบวาบุคลากรที่เคยใชรถเข็นนั่งจํากัดพฤติกรรม จํานวน 21คน มีความคิดเห็นวา รถเข็นนั่งฯ ทําใหผูปวย ญาติ และทีมชวยเหลือปลอดภัย รถเข็นนั่งมั่นคง แนนหนา สะดวกตอการใช และไมเกิดภาวะแทรกซอนขณะจํากัดพฤติกรรม

Page 88: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

88

การพัฒนางานประจําใหเปนงานวิจัย R to R การศึกษาความสนใจในการทํากิจกรรมของผูปวยในสถาบันกัลยาณราชนครินทร

กรรณิกา พรมเถื่อน

บทคัดยอ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเพื่อศึกษาความสนใจในการทํากิจกรรมของผูปวย และเพื่อจัดบริการกิจกรรมเพื่อการบําบัดใหตรงตามความสนใจของผูปวยใน กลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้เปนผูปวยจิตเวชที่เขารับการรักษาเปนผูปวยในสถาบันกัลยาณราชนครินทรชวงเดือนมกราคม – มีนาคม 2551 อายุระหวาง 15-62 ป จํานวน 205 คน วิเคราะหผลโดยใชสถิติรอยละจัดลําดับความสนใจในกิจกรรม 3 ลําดับแรก จากกิจกรรมทั้งหมด 5 หมวดกิจกรรม ประกอบดวย งานฝมือ กีฬา กิจวัตรประจําวัน การศึกษาและวัฒนธรรม นนทนาการทางสังคม จัดลําดับกิจกรรมที่ไดรับความสนใจจากมากไปนอย เพื่อนําไปสูการจัดกิจกรรมเพื่อใหบริการแกผูปวยไดตรงตามความสนใจ ผลการศึกษาพบวา กิจกรรมที่ไดรับความสนใจสามารถเรียงตามลําดับดังนี้ ลําดับ 1 คือหมวดการศึกษาและวัฒนธรรม รอยละ 35.23 ลําดับ 2 คือ กิจกรรมในหมวดนันทนาการทางสังคม รอยละ 22.16 และลําดับ 3 คือ หมวดกิจวัตรประจําวัน รอยละ 17.61 การเลือกกิจกรรมบําบัดจึงจัดใหเหมาะสมและตรงกับความสนใจของผูปวย กิจกรรมจึงเปนกิจกรรมเกี่ยวเนื่องกับการศึกษา ซ่ึงงานที่สามารถนํามาเปนสื่อในการบําบัดนี้ เปนงานในสํานักงาน เชน งานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร งานเทคโนโลยี งานเอกสารงาย ๆ เปนตน ทั้งนี้กิจกรรมนันทนาการทางสังคมและกิจวัตรประจําวันก็ไมควรละเลย โดยการใหความสําคัญกับกิจกรรมเหลานี้จะกอใหเกิดทักษะในการประกอบกิจกรรมที่มีความสมดุลระหวาง กิจวัตรประจําวัน (ADL) งาน(work) และ การพักผอน (Leisure) สงผลใหผูปวยสามารถดําเนินชีวิตประจําวันไดตามศักยภาพที่มี

ความมั่นใจวาทางตํารวจสามารถดูแลเหตุการณไดพวกเขาผานการอบรมมาแลวและทางศูนยวิกฤตไดใหความรูในการเจราจากับผูปวยจิตเวชกับทางตํารวจแลว สวนที่มองไมเห็นตํารวจอาจเปนไปไดวาตํารวจซุมตัวอยู เพราะผูปวยมีความระแวงกลัวคนจับไปสงโรงพยาบาล ดังนั้นขอใหญาติถอยออกหางจากบานใหมากที่สุดอดทนรอคอยทั้งนี้ทางศูนยวิกฤติสุขภาพจิตจะโทรมาติดตามความคืบหนาเปนระยะๆญาติจึงรับคําจะใหความรวมมือจากนั้นไดรับโทรศัพทจากทีมงานอีกคนหนึ่งสอบถามสถานที่เกิดเหตุเพื่อชวยประสานเครือขายจิตเวชชุมชนใหเขาไปดูแล เวลาประมาณ 14.10 น. ผูใหบริการปรึกษาโทรสอบถามเหตุการณกับคุณศักดิ์ชัยแจงวาตํารวจชุดใหมมาแลวแตผูปวยยังไมคุยกับใครไดยินเสียงผูปวยทุบทําลายขาวของอยูบนบานแลวเงียบไปแตไมมีเสียงเด็กรองซักถามเรื่องเกี่ยวกับการสงตอผูปวยไปรักษาหากสามารถจับตัวไดแลว คุณศักดิ์ชัยบอกวายังไมไดวางแผน แตคาดวาจะนําผูปวยไปรักษาที่โรงพยาบาลศรีธัญญาเนื่องจากมีประวัติอยูแลวจึงไดแนะนําวาหากผูปวยมีอาการคลุมคลั่งมาก อาจนําสงโรงพยาบาลเจาพระยายมราชกอน เพื่อชวยควบคุมอาการทางจิตกอนเดินทางไปโรงพยาบาลศรีธัญญา เวลา 14.15 น. ไดโทรสอบถามสถานการณกับตํารวจ ตํารวจแจงวาขณะนี้ไดกระจายกําลังดูแลอยูรอบ ๆ

Page 89: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

89

บานขณะนี้ผูปวยเงียบไปคิดวาคงหลับเพราะไดยินเสียงเปดพัดลมเมื่อสอบถามเรื่องเสียงทุบทําลายขาวของตํารวจบอกวาเปนเพียงเสียงผูปวยทานขาวแลวโยนจานลงพื้นเทานั้นทั้งนี้ตํารวจไดเตรียมลูกสาวไวรอพูดคุยส่ือสารกับผูปวยแลวโดยตํารวจประเมินสถานการณวาผูปวยไมนาจะทํารายลูกชายแนนอนเพราะเห็นผูปวยกอดลูกชายไวไมหางคงรักลูกมากไดสอบถามเรื่องการเตรียมทีมสาธารณสุขในการดูแลหากเกิดการใชกําลังหรือบาดเจ็บตํารวจบอกวายังไมไดวางแผนเตรียมทีม แตคิดวาถาจับตัวผูปวยไดคงนําสงโรงพยาบาลและคาดวาสถานการณอาจไมถึงขึ้นตองใชกําลังคงไมมีการบาดเจ็บเกิดขึ้นอาวุธปนยาสลบคงไมไดใชคิดวาไมจําเปนขอรอดูสถานการณไปกอน อีก 15 นาทีตอมาทีมงานประสานงานจนสามารถระบุสถานที่เกิดเหตุ สอบถามที่อยูที่เกิดเหตุ รวมทั้งไดประสานหมายเลขโทรศัพทติดตอเจาหนาที่สถานีอนามัยในพื้นที่ดังกลาวแลวจากนั้นจึงไดโทรศัพทประสานงาน และเจาหนาที่สถานีอนามัยไดรับขอมูลวาผูปวยเคยไปขอยาที่สถานีอนามัยบอยๆ รูจักคุนเคยและไววางใจเจาหนาที่ดีแตขณะนี้เจาหนาที่ไมสะดวกเขาไปดูแลเพราะกําลังอยูนอกพื้นที่ แตจะชวยประสานเจาหนาที่อ่ืนใหไปดูแลแทนจึงใหขอมูลสถานการณและขอใหชวยทําความเขาใจกับญาติ ไมใหเขาไปในบริเวณบาน เพราะเกรงวาจะเปนอุปสรรคตอทํางานของเจาหนาที่ตํารวจ เวลา 14.35 น. เจาหนาที่สถานีอนามัยโทรศัพทกลับมาบอกวา “แจงหัวหนาสถานีอนามัยทราบแลวและจะเขาไปชวยดูแลในพื้นที่” เวลา 15.55 น. เจาหนาที่ตํารวจไดโทรศัพทมาบอกวาสามารถจับตัวผูปวยไดแลว ไมมีผูใดไดรับบาดเจ็บ ขณะที่โทรศัพทกําลังนําตัวผูปวยสงรักษาที่โรงพยาบาลศรีธัญญาตามความประสงคของญาติ รวมเวลาในการใหบริการปรึกษาสถานการณวิกฤตครั้งนี้ 2 ช่ัวโมง 52 นาที การเรียนรู

- EK เรื่องการเจรจาตอรองกรณี Case ผูปวยจิตเวช (การประยุกตความรู เร่ือง เทคนิคการเจรจาตอรองกับผูปวยจิตเวช ใหแกบุคลากรเครือขายนอกระบบบริการสาธารณสุข)

- การประสานงานกับเครือขายเพื่อชวยเหลือในการดูแล (ขอบเขตและขั้นตอนการประสานงานกบัเครอืขายในระบบบริการสาธารณสุขใหรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพื่อปฏิบัติการในสถานการณวิกฤต)

- การสอบถามขอมูลเบื้องตนใหครอบคลุม ไมรีบตัดสินใจเมื่อทราบขอมูลเพียงดานเดียว การประเมินสถานการณ (ความคาดหวังของญาติ การขาดความรูของญาติ เปนอุปสรรคตอการทํางานของเจาหนาที่ตํารวจ)

- การสื่อสารใหขอมูลที่จําเปนแกผูเกี่ยวของ เพื่อใหทุกฝายทํางานรวมกันได (ญาติ และตํารวจ เจาหนาที่สถานีอนามัย)

- เทคนิคการสื่อสารทางโทรศัพท เพื่อใหญาติเชื่อมั่นการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจในการแกไขสถานการณวิกฤตแกประชาชน

- การชวยเหลือประชาชนที่อยูในสถานการณวิกฤตจับตัวประกัน ขอมูลจากญาติ เปนพื้นฐานสําคัญในการประสานและวางแผนชวยเหลือใหมีประสิทธิภาพ

- การชวยเหลือประชาชนที่อยูในสถานการณวกิฤตไดสําเร็จลุลวงดวยดี เปนผลลัพธของการเสริมสรางสมรรถนะของเครือขายบริการสาธารณสุข

การทํางานเปนทีมของทีมวิกฤตสุขภาพจิต

Page 90: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

90

ประมวลภาพกิจกรรม ประจําป 2552

โครงการประชุมเชิงปฏิบตักิาร เร่ืองการพัฒนาระบบการบริการชวยเหลือประชาชนในภาวะวิกฤตสุขภาพจิต สําหรับผูบริหารทุกภาคสวน : พื้นท่ีกรุงเทพมหานคร

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการฟนฟูศักยภาพผูใหบริการสายดวนสุขภาพจิตแกประชาชนในเขตกรุงเทพฯ

อบรมเรื่องการชวยเหลือดานสุขภาพจิตสาํหรับบุคลากรสาธารณสุขเขตพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร

โครงการออกหนวยเคล่ือนท่ีเพื่อเยียวยาจิตใจผูไดรับผลกระทบจากสถานการณชุมนมุทางการเมือง(7 ต.ค.2551)

จัดกิจกรรมวันพยาบาลและวันทันตสาธารณสุขแหงชาต ิ

โครงการประชุมปรับปรุงแผนที่ยุทธศาสตรของสถาบนักัลยาณราชนครินทร

โครงการสงเสริมการออกกําลังกาย เดิน – ว่ิง เพื่อสุขภาพ

พิธีถวายดอกไมจันทนสักการะสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณวัิฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิทร

ประชุมประจําป 2552 เพื่อจัดทําแผนการดาํเนินงาน ชมรมผูสูงอาย ุ

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เร่ืองการบําบัดความคดิพฤติกรรมเด็กท่ีประสบเหตุการณรุนแรง (Cognitive Behavior Therapy)

โครงการสัมมนาเตรียมความพรอมรับการเยี่ยมสํารวจฯ

โครงการพฒันาทักษะทางสังคม โรงพยาบาลกลางวัน

โครงการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต

ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจติ 2551

ตอนรับนักศึกษาคณะแพทยศาสตร ม.รังสิต ศึกษาดงูานดานกระบวนการนิติจิตเวช

ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การใชมาตรฐานฉบับใหมกับการประเมินตนเองเพื่อการพัฒนาคุณภาพงานและองคกร

ศูนยพัฒนาคณุภาพใหการตอนรับคณะกรรมการตัดสนิผลงานคณุภาพของสมาคมสงเสริมคุณภาพแหงประเทศไทย

คณะขาราชการและเจาหนาท่ี สถาบันกัลยาณราชนครินทรรวมงานตลาดนดัความรูสูสุขภาพจติ

ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ดําเนินการผลักดันการบังคบัใชพระราชบญัญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551

Page 91: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

91

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

สถาบันกัลยาณราชนครินทร รวมกับ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ สาขาเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จัดโครงการประชุมเรื่องการพัฒนาระบบการบริการชวยเหลือประชาชนในภาวะวิกฤตสุขภาพจิตสําหรับผูบริหารทุกภาคสวน : พื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อใหผูบริหารทุกภาคสวนที่เกี่ยวของกันทราบการดําเนินการโครงการพัฒนาระบบการชว ยเหลือประชาชนฯรวมทั้งรวมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแนวทางการดําเนินการ โดยมีคุณวัลลี ธรรมโกสิทธิ์ ที่ปรึกษาสถาบัน กัลยาณ ราชนครินทร เปนวิทยากร เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2551 ณ โรงแรมริชมอนด จ.นนทบุรี

Page 92: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

92

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

สถาบันกัลยาณราชนครินทร รวมกับ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ สาขาเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จัดโครงการอบรมเชงิปฏิบัติการเรื่องการฟนฟูศักยภาพผูใหบริการสายดวนสุขภาพจิตแกประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ระหวางวันที่ 8 - 10 ตุลาคม 2552 ณ โรงแรมเอสดี อเวนิว โดยมีวิทยากรจากสถาบัน กัลยาณ ราชนครินทร และสํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี

Page 93: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

93

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

สถาบัน กัลยาณ ราชนครินทร รวมกับ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ไดจัดโครงการอบรม เรื่องการชวยเหลือดานสุขภาพจิตสําหรับบุคลากรสาธารณสุข เขตพื้นที่กรุงเทพฯ ครั้งที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสาธารณสุขและผูที่เกี่ยวของใหมีความ รูความสามารถ ในการใหความชวยเหลือ อยางทันทวงทีเมื่อเกิดเหตุการณวิกฤต ใหครอบคลุมทั้งเขตเมืองกรุงเทพมหานคร ในการนี้ไดรับเกียรติ จากนายแพทยชาตรี บานช่ืน อธบิดีกรมสุขภาพจิต เปนประธานในพิธเีปด ระหวางวันที่ 13 - 17 ตุลาคม 2551 ณ โรงแรมเอสดี อเวนิว กรุงเทพมหานคร

Page 94: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

94

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

ทีมใหการชวยเหลือผูอยูในภาวะวิกฤติทางจิตเวชเคลื่อนที่ (Mobile Team) สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดออกหนวยเคลื่อนที่เพื่อเยียวยาจิตใจผูไดรับผลกระทบจากสถานการณชุมนุมทางการเมือง (วันที่ 7 ตุลาคม 2551 ) ณ สถานีตํารวจภูธรกําแพงแสน และสถานีตํารวจบางเลน จ.นครปฐม เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2551

Page 95: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

95

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

กลุมการพยาบาล รวมกับ กลุมงานทันตก รรม สถาบัน กัลยาณ ราชนครินทร จัดกิจกรรมวันพยาบาลและวัน ทันตสาธารณสุขแหงชาติ ซึ่งจัดทําขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเปนการเดินตามรอยพระบาทในการสรางสรรคสุขภาพดีถวนหนาแกประชาชน โดยมีกิจกรรมบริการ ตรวจสุขภาพกาย วัดความดันโลหิต ประเมินดัชนีมวลกาย ตรวจสุขภาพจิตเบื้องตน ตอบปญหาชงิรางวัล และใหบริการตรวจสุขภาพฟน ถอนฟน อุดฟนฟรี ระหวางวันที่ 20-21 ตุลาคม 2552 ณ สถาบันกัลยาณราชนครินทร

Page 96: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

96

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

ขาราชการและเจาหนาที่ สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดประชมุการปรับปรุงแผนที่ยุทธศาสตร ของสถาบันฯ เพื่อตอบสนองพันธกิจ และวิสัยทัศนของสถาบันฯ รวมทั้งแผนยุทธศาสตรและนโยบายของกรมสุขภาพจิต ที่จะนําไปสูเปาประสงคหลักคือ ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดีเพื่อความสุขที่ยั่งยืนของสังคมไทย เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2552 ณ หองประชมุนายแพทย สุรินทร ปนรัตน สถาบันกกัลยาณราชนครินทร

Page 97: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

97

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดจัดโครงการเดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพ ประจําป 2551 เพื่อใหบุคลากรในสถาบันฯรวมทดสอบสมรรถภาพทางกายและเปนการสนับสนุนใหบุคล ากรในสถาบันฯมีสุขภาพที่แข็งแรง พรอมที่จะใหบริการแกผูมาใชบริการ โดยมีนาย ณัฏฐกร ประสาทศรี รองผูอํานวยการฝายบริหาร สถาบันกัลยาณราชนครินทร เปนประธานในพิธเีปด ระหวางวันที่ 27 พฤศจิกายน 2552 ณ สถาบันกัลยาณราชนครินทร

Page 98: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

98

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

คณะขาราชการและเจาหนาที่ สถาบันกัลยาณ ราชนครินทร ไดรวมในพิธีถวายดอกไมจันทนสักการะสมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟา กัลยาณนิวัฒนา กรมหลวงนราธวิาสราชนครินทร เม่ือวันที่ 14 พฤศจิกายน 2551 ณ ตึกอํานวยการ สถาบันกัลยาณราชนครินทร

Page 99: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

99

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

กลุมพัฒนาวิชาการ ฝายวิชาการวิกฤติสุขภาพจิต จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การบําบัดความคิดพฤติกรรมเด็กที่ประสบเหตุการณรุนแรง (Cognitive Behavior Therapy) เพื่อใหบุคลากร กรมสุขภาพจิตและผูดูแลเด็กทั้งในและนอกพื้นที่ชายแดนใต มีความรูและทักษะในการบําบัดความคิดพฤติกรรมเด็ก โดย นายแพทยชาตรี บานช่ืน อธบิดีกรมสุขภาพจิต ใหเกียรติเปนประธานในพิธเีปด ระหวางวันที่ 22 ธนัวาคม 2551 ณ โรงแรมริชมอนด จ.นนทบุรี

Page 100: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

100

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

ศูนยพัฒนาคุณภาพบริการ สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดจัดโครงการสัมมนาเตรียมความพรอมรับการเยี่ยมสํารวจฯ : การพัฒนาคุณภาพทีมและระบบงานตามแนวทางมาตรฐานฉบับใหม เพื่อใหบุคลากรของสถาบันฯไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรูเรื่องแนวทา งการพัฒนาคุณภาพระบบงานที่สําคัญ และมีความรูความเขาใจถึงแนวทางในการออกแบบระบบงานที่เหมาะสมและเกิดประสิทธภิาพมากยิ่งขึ้น โดยมีการศึกษาดูงานดานกระบวนการพัฒนาคุณภาพทีมและระบบงาน ณ โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร และวัดหวยพรหม จ.นครราชสีมา เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2552

Page 101: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

101

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

งานโรงพยาบาลกลางวัน สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดจัดโครงการพัฒนาทักษะทางสังคมโรงพยาบาลกลางวัน การฝกปฏิบัติตามหลักสติปฏฐานครั้งที่ 2 เพ่ือใหผูปวยไดฝกทักษะความรูตาง ๆ ตามหลักธรรมคําสอนของพุทธศาสนาและสามารถดึงศักยภาพที่เริ่มเสื่อมถอยทางดานจิตใจกลับคืนมา ตลอดจนฟนฟูความคิด อารมณ พฤติกรรมและคุณธรรม ใหผูปวยเปนคนดีมีความสุขอยูกับครอบครัวและสังคมโดยไมเปนภาระตอผูอื่น ระหวางวันที่ 23 - 25 กุมภาพันธ 2552 ณ มูลนิธิหลวงพอเทียน จิตตสุโท พุทธมณฑลสาย 4

Page 102: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

102

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

สถาบันกัลยาณ ราชนครินทร รวมกับคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ไดจัดโครงการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต รุนที่ 2 สําหรับพยาบาลวิชาชพี ทั้งในและนอกกรมสุขภาพจิต ระยะเวลาฝกอบรม 4 เดือน (ระหวางวันที่ 7 กุมภาพันธ - 29 พฤษภาคม 2552) เพื่อเปนการพัฒนาเครือขายการรักษาพยาบาลผูปวยจิตเวชในเขตจังหวัดที่รับผิดชอบ ไดแก นครปฐม ราชบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และ ประจวบคีรีขันธ โดยไดรับเกียรติจาก นายแพทยเกียรติภูม ิวงศรจิต รองอธบิดีกรมสุขภาพจิต เปนประธานในพิธเีปด เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2552 ณ หองประชมุนายแพทย สุรินทร ปนรัตน สถาบันกัลยาณราชนครินทร

Page 103: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

103

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

กลุมพัฒนาวิชาการ ฝายวิชาการนิติจิตเวช สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดจัดโครงการประชมุเชงิปฏิบัติการ เรื่อง การบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิต 2551 เพื่อใหผูมีสวนเกี่ยวของกับการบังคับใชกฎหมาย ไดรับทราบรายละเอียดระเบียบและประกาศตางๆ ที่บัญญัติในพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 และเปนการสรางความเขาใจ และความรวมมือในการดําเนินการที่ถูกตอง ซ่ึงจะทําใหการบังคับใชกฎหมายเปนไปอยางมีประสิทธภิาพซ่ึงจะเปนประโยชนทั้งตอผูปฏิบัติงาน รวมทั้งผูที่มีปญหาทางจิต โดยจัดขึ้นระหวางวันที่ 9 - 10 มีนาคม 2552 ณ หองประชมุนายแพทยสุรินทร ปนรัตน สถาบันกัลยาณราชนครินทร

Page 104: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

104

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

กลุมงานการแพทย สถาบัน กัลยาณ ราชนครินทร ไดใหการตอนรับนักศึกษา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต ทีมาศึกษาดูงานดานกระบวนการนิติจิตเวช โดยมีแพทยหญิงวนัทดา ถมคาพาณิชย บรรยายใหความรู เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2552 ณ หองประชมุนายแพทยสุจริต สุวรรณชพี

Page 105: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

105

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

ศูนยพัฒนาคุณภาพ สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การใชมาตรฐานฉบับใหมกับการประเมินตนเอง เพื่อการพัฒนาคุณภาพงานและองคกร โดยมีนายแพทย ศิริ ศักด์ิ ธติิดิลกรัตน ผูอํานวยการสถาบัน กัลยาณ ราชนครินทร ใหเกียรติเปนประธานในการเปดการประชุมและรวมช้ีแจลการใชมาตรฐานฉบับใหมกับการประเมินตนเองในครั้งนี้ ระหวางวันที่ 1 - 3 เมษายน 2552 ณ หองประชุมนายแพทยสรุินทร ปนรัตน สถาบันกัลยาณราชนครินทร

Page 106: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

106

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

ศูนยพัฒนาคุณภาพ รวมกับงานพยาบาลผูปวยนอก สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดใหการตอนรับคณะกรรมการตัดสินผลงานคุณภาพ ของสมาคมสงเสริมคุณภาพแหงประเทศไทย ที่มาทําการตัดสินผลงาน QC ของงานพยาบาลผูปวยนอก เรื่องรถเข็นจํากัดพฤติกรรมสําหรับผูปวย เม่ือวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 ณ หองประชุมนายแพทยสุจริต สุวรรณชีพ สถาบันกัลยาณราชนครินทร

Page 107: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

107

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

คณะขาราชการและเจาหนาที่ สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดเขารวมงานตลาดนัดความรูสูสุขภาพจิต ครั้งที่ 4 ป 2552 ระหวางวันที่ 2-3 กรกฎาคม 2552 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร ในการนี้สถาบัน กัลยาณราชนครินทรไดรับรางวัล Story Telling อันดับ 2 จากการสงเรื่องเลาของนางสาว อินทิรา อะตะมะ นักกิจกรรมบําบัดชํานาญการ เรื่อง นาทีวิกฤต ชวีิตลูกในมือพอ

Page 108: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

108

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม/อบรม/สัมมนา

ปงบประมาณ 2552

กลุมพัฒนาความเปนเลิศเฉพาะทางดานนิติจิตเวช สถาบันกัลยาณราชนครินทร ไดจัดการประชมุเชงิปฏิบัติการ เรื่องดําเนินการผลักดันการบังคับใชพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 เพื่อเปนการชีแ้จงสาระสําคัญ ระเบียบ ประกาศตาง ๆ และขั้นตอนในการดําเนินงาน ในการนําพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ลงสูการบังคับใช แกผูที่รับผิดชอบในการดําเนนิงานตามพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข โดยนายแพทยเกียรติภูมิ วงศรจิต รองอธบิดีกรมสุขภาพจิต เปนประธานในพิธเีปด เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2552 ณ โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอรพอรต

Page 109: รายงานประจำปี 2552

เลิศล้ําวิชาการ บริการเปนเยี่ยม เปยมดวยคุณธรรม

รายงานประจําป 2552

109

คณะผูจัดทํารายงานประจําป 2552

นายศิริศักดิ์ ธิติดิลกรัตน ผูอํานวยการสถาบันกัลยาณราชนครินทร ท่ีปรึกษา นางดวงตา ไกรภัสสรพงษ รองผูอํานวยการฝายการแพทย ท่ีปรึกษา นายณัฏฐกร ประสาทศรี รองผูอํานวยการฝายบริหาร ท่ีปรึกษา นางบุญเหลือ โททะมัน ผูชวยผูอํานวยการฝายบริการ ท่ีปรึกษา นางวยุณี ชางมิ่ง หัวหนากลุมยุทธศาสตรและสารสนเทศ ประธานคณะทํางาน นางสาวรัชนีกร เอี่ยมผอง หัวหนากลุมพัฒนาความเปนเลิศ ฯ ดานวิกฤตสุขภาพจิต คณะทํางาน นางสาววนัทดา ถมคาพาณิชย หัวหนากลุมพฒันาความเปนเลิศ ฯดานนิติจิตเวช คณะทํางาน นางสาววิไล เสรีพิทักษ หัวหนากลุมพฒันาวิชาการและจัดการความรู คณะทํางาน นางบุญเหลือ ชาญณรงค หัวหนากลุมสงเสริมสุขภาพจติและจิตเวชชุมชน คณะทํางาน นางสาวเบญจวรรณ สามสาลี หัวหนากลุมการพยาบาล คณะทํางาน นางสาวราณี ฉายินทุ ศูนยเตรียมความพรอมเพื่อรับมือกับภัยพิบัติดานสุขภาพจิต คณะทํางาน นางสาววงษเดอืน สายสุวรรณ หัวหนาฝายพัฒนาทรัพยากรบุคคล คณะทํางาน นางปฐมาภรณ อิงคสิทธิ์ หัวหนาฝายประชาสัมพันธ คณะทํางาน นางกรชไม วสุธาวุฒิจารณ หัวหนาฝายพัสดุ คณะทํางาน นางสาคร ศรีสุริยวงษ หัวหนาฝายการเงินและบัญชี คณะทาํงาน นางสาวอินทิรา อะตะมะ หัวหนากลุมงานฟนฟูสมรรถภาพ คณะทํางาน นางนภาพร ทองมูล หัวหนางานเวชระเบียน คณะทํางาน นายอาคม จํามั่น หัวหนางานเทคโนโลยีและสารสนเทศ คณะทํางาน นางสาวสําราญ บุญรักษา พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ คณะทํางาน นางกัลนิกา ศรีวงควรรณ พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ คณะทํางาน นางเพ็ญพุฒ คงพาณิชยตระกูล พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ คณะทํางาน นางยุพิน ตุมโหมด พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ คณะทํางาน นางสาวเพ็ญพรรณ ชิตวร พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ คณะทํางาน นางสาวภาวิณี บุตรแสน พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ คณะทํางาน นางลัดดา จีระกุล นักสังคมสงเคราะหชํานาญการ คณะทํางาน นางสาวสุรีย รอดทอง เภสัชกรชํานาญการ คณะทํางาน นางสาวศุภกร โคตา เจาหนาท่ีบริหารงานทั่วไป คณะทํางาน นางสาวกรรณกิาร เชื้อพงษ นักวิชาการคอมพิวเตอร คณะทํางาน นางสุธิดา รอดศาสตร หัวหนางานแผนงาน เลขานุการและคณะทํางาน นางกัลยา สงเสริม เจาพนักงานธุรการ ผูชวยเลขานุการและคณะทํางาน นางกัญญพัฒน โอสถพรหมมา นักประชาสัมพันธ ผูชวยเลขานุการและคณะทํางาน